SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ)
          (Genetically Modified Organism-GMO)

แพทย์หญิงสายพิณ โชติวิเชียร

กลุมพัฒนาเทคโนโลยีโภชนาการ
    ่
        การดัดแปลงพันธุกรรม (genetic modification) ไม่วาจะ ่
เป็นการดัดแปลงพันธุกรรมพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ จะทำาให้ได้พืช สัตว์
จุลินทรีย์ หรือสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (genetically modified
organism) หรือเรียกย่อเป็น GMO หรือจีเอ็มโอ ความเป็นมาของคำา
ว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
(จีเอ็มโอ) อาจย้อนไปถึงในช่วงต้นของทศวรรษ 1800s ได้มีการนำา
เทคโนโลยีชวภาพที่เรียกว่า r-DNA เทคโนโลยีหรือพันธุวิศวกรรม
                ี
(genetic engineering) มาใช้ในการพัฒนาสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นพืช
สัตว์ หรือจุลินทรีย์ เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆกัน ทังในการปรับปรุงพันธุ์
                                                 ้
พืช พันธุ์สัตว์ จุลินทรีย์ การผลิตยารักษาโรคและเภสัชภัณฑ์ ฯลฯ ใน
ช่วงนั้นสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ทนำามาใช้จะเป็นจุลินทรีย(microorganism)
                              ี่                    ์
ดังนั้นจุลินทรีย์ทได้มีการถูกดัดแปลงโดยวิธีการทางพันธุวิศวกรรม มี
                    ี่
การเรียกว่าเป็น genetically engineered microorganism หรือ GEM
ซึ่งอาจเรียกในภาษาไทยเป็น “จุลินทรียที่ถูกดัดแปลงทางพันธุกรรม”
                                          ์
แต่การดัดแปลงทางพันธุกรรม (genetic modification) ได้ครอบคลุม
ไปถึงพืช สัตว์ ด้วย ดังนั้นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมอาจเป็น “พืช
ดัดแปลงพันธุกรรม” (genetically modified plant หรือ transgenic
plant) หรือ “สัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม” (genetic modified animal
หรือ transgenic animal) หรือถ้าเป็นสิ่งมีชีวิต (organism) ทังพืช
                                                              ้
และสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรมเหล่านี้สามารถเรียกรวมๆกันเป็น “สิ่งมี
ชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม” (genetically modified organism) หรือ
GMO(1)
        จีเอ็มโอ หรือ GMOs – Genetically Modified Organisms คือ
สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปรพันธุกรรมเป็นผลผลิตจากการใช้
เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม หรือ เทคนิคการตัดต่อยีน ในพืช สัตว์ หรือ
จุลินทรีย์ เพื่อให้มีคุณสมบัติหรือคุณลักษณะเฉพาะเจาะจงตามที่
ต้องการ เช่น ต้านทานแมลงศัตรูพืช คงทนต่อสภาพแวดล้อมหรือเพิ่ม
สารโภชนาการบางชนิด เช่น วิตามิน จีเอ็มโอ ไม่ใช่สารปนเปื้อนและ
ไม่ใช่สารเคมี แต่จีเอ็มโอคือสิ่งมีชีวิตที่เป็นผลพวงของเทคโนโลยี
ชีวภาพสมัยใหม่ ซึ่งเกิดจากความตั้งใจของนักวิทยาศาสตร์ที่จะ
ปรับปรุงพันธุ์ให้มีคุณสมบัติที่ดีตามที่ต้องการ เช่น การดัดแปร
พันธุกรรมของมะเขือเทศให้มีลักษณะที่สุกงอมช้ากว่าปกติ การดัด
แปรพันธุกรรมของถัวเหลืองให้มีไขมันชนิดไม่อิ่มตัวสูง เป็นต้น(2)
                       ่
       สารพันธุกรรมหรือที่เรียกว่า DNA เป็นสารเคมีทประกอบกันขึ้น
                                                      ี่
เป็นหน่วยพันธุกรรมหรือ ยีน (GENE) และสิ่งมีชีวิตดังกล่าวอาจจะเป็น
สัตว์ พืช หรือจุลินทรีย์
จุลินทรีย์ GMO นั้นใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและยา และมีจุลินทรีย์
GMO ที่มีคุณสมบัติพิเศษในการกำาจัดคราบนำ้ามันได้ดี
พืช GMO เช่น ฝ้าย ข้าวโพด มันฝรั่ง มะละกอ เรานิยมทำา GMO ใน
พืชเพราะว่าทำาได้ง่ายกว่าสัตว์ และสามารถศึกษาพืช GMO ได้หลายๆ
ชั่วอายุของพืช (Generation) เพราะว่าพืชมีอายุสั้นกว่าสัตว์ ซึ่งอายุ
ของสัตว์แต่ละ Generation นั้นกินเวลานานหลายปี
สัตว์ GMO เช่น ปลาแซลมอน ซึ่ง Modified หมายความว่า ปลานี้ได้
รับการปรุงแต่ง หรือดัดแปลงโดยมนุษย์ไปเรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะช่วยแก้
ปัญหาการขาดแคลนอาหาร เพราะมนุษย์ล้นโลกได้เป็นอย่างดี จึงเป็น
วิธีพัฒนาการทางด้านอาหารสำาหรับบริโภคของมนุษย์
วิธีการทำา GMO(3)
       ปัจจุบันนักเทคโนโลยีชีวภาพได้ทำาการศึกษาวิจัยด้าน GENE
หรือ GENOME ทำาให้สามารถวิเคราะห์โครงสร้างในสิ่งที่มีชีวิตและยีน
เพื่อปรับปรุงคุณลักษณะให้ดีกว่าเดิม คือ การทำา GMO นั่นเอง
GENETIC ENGINEERING หรือพันธุวิศวกรรมนั้น เป็นวิธีการที่เรียกว่า
Biotechnology หรือเทคโนโลยีทางชีวภาพ เป็นวิธีการที่คัดเลือกสาย
พันธุ์โดยทำาลงไปทียีนที่ต้องการโดยตรง แทนวิธีการผสมพันธุ์แบบ
                     ่
เก่า แล้วคัดเลือกลูกสายพันธุ์ผสมที่มีลักษณะตามความต้องการ ถึง
แม้วาจะใช้เวลานานก็ตาม
     ่
วิธีการทำา GMO มี 2 ขั้นตอนดังนี้
1. เจาะจงโดยการค้นหายีนตัวใหม่หรือจะใช้ยีนที่เป็น TRAITS (มี
คุณลักษณะแฝง) ก็ได้ ตามที่เราต้องการ ยีนตัวนี้อาจจะมาจากพืช
สัตว์ หรือจุลินทรีย์ก็ได้
2. นำาเอายีนจากข้อที่ 1. ถ่ายทอดเข้าไปอยู่ในโครโมโซมของเซลล์
ใหม่ ซึ่งทำาได้หลายวิธี
วิธีหลักที่ใช้กันในปัจจุบน มี 2 วิธีคือ
                            ั
2.1 ใช้จลินทรีย์ เรียกว่า Agro-Bacterium เป็นพาหะช่วยพายีน
            ุ
เข้าไป ซึ่งคล้ายกับการใช้รถลำาเลียงสัมภาระเข้าไปไว้ในทีที่ต้องการ
                                                           ่
2.2 ใช้ปนยีน (GENE GUN) ยิงยีนที่เกาะอยู่บนผิวอนุภาคของทอง
              ื
ให้เข้าไปในโครโมโซมเซลล์พืช กระสุนที่ยงเข้าไปเป็นทองและนำา
                                             ิ
DNA ติดกับผิวของกระสุนที่เป็นอนุภาคของทอง และยิงเข้าไปใน
โครโมโซมด้วยแรงเฉื่อย จะทำาให้ DNA หลุดจากผิวของอนุภาคของ
ทอง เข้าไปอยูในโครโมโซม ส่วนทองก็จะอยู่ภายในเนื้อเยื่อโดยไม่มี
                  ่
ปฏิกิริยาใดๆ
       เมื่อเข้าไปที่ใหม่ จะโดยวิธี 2.1 หรือ 2.2 ก็ตาม ยีนจะแทรกตัว
รวมอยู่กับโครโมโซมของพืช จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของโครโมโซมพืช
การถ่ายทอดยีนเข้าสู่พืชนั้นมิได้เป็นการถ่ายทอดเฉพาะยีนที่ต้องการ
เท่านั้น แต่เป็นการถ่ายทอดชุดของยีนเรียกว่า GENE CASSETTE
โดยนักวิทยาศาสตร์ทนำาเอายีนที่ต้องการนั้น ไปผ่านขบวนการเสริม
                         ี่
แต่ง เพื่อเพิ่มตัวช่วย ได้แก่ ตัวควบคุมการทำางานของยีนให้เริ่มต้นและ
ยุติ และตัวบ่งชี้ปรากฏการณ์ของยีน ซึ่งตัวช่วยทั้งสองเป็นสาร
พันธุกรรมหรือยีนเช่นกัน ทังหมดจะถูกนำามาเชื่อมต่อเข้าด้วยกันเป็น
                              ้
ชุดของยีนก่อนจะนำาชุดของยีนนั้น ไปฝากไว้กับเชื้ออะโกรแบคทีเรียม
หรือนำาไปเคลือบลงบนผิวอนุภาคของทองอีกทีหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์
จำาเป็นต้องพ่วงตัวช่วยเหล่านั้นกับยีนที่ต้องการเพื่อใส่ยีนเข้าไปใน
เซลล์พืช ให้สามารถทำางานได้ หรือสามารถควบคุมให้มีการสร้าง
โปรตีนได้ เมื่อมีตัวควบคุมการทำางานของยีนให้เริ่มต้นหรือให้ยุติ ก็
เปรียบเหมือนกับสวิตช์ที่เปิดปิดได้นั่นเอง นอกจากนี้ยังต้องมีวิธีการ
ติดตามหรือสะกดรอยชุดยีนที่ใส่เข้าไป โดยตรวจหาสัญญาณตัวบ่งชี้
การปรากฏของยีน ซึงตัวบ่งชี้นี้ช่วยให้สามารถคัดแยกเซลล์พืชหรือ
                       ่
ต้นพืชที่ได้รับการใส่ชุดยีนได้
หลักสำาคัญของการถ่ายยีน คือ
- ยีนที่จะถ่ายเข้าไปนั้นจะต้องมีความบริสทธิ์ไม่มีสารใดปนเปื้อน
                                           ุ
เพราะสิ่งสกปรกจะลดประสิทธิภาพของการถ่ายยีน
- วิธีที่ใช้ถายยีน ไม่ว่าจะเป็นการใช้กระแสไฟฟ้า หรือสารเคมีทไม่เป็น
                ่                                               ี่
อันตราย หรือการยิงกระสุนทองคำาเคลือบชิ้นยีน โดยใช้แรงดันลมจาก
ก๊าซเฉื่อย หรือการใช้แบคทีเรียชื่อ “อะโกรแบคทีเรีย” หรือ ซึ่ง 2 วิธี
หลังนี้ใช้สำาหรับการถ่ายยีนเข้าพืชเท่านั้น วิธีต่างๆ เหล่านี้นอกจากจะ
ต้องมีประสิทธิภาพดีในการนำาพาชิ้นยีนเข้าสู่เซลล์แล้ว ยังต้องไม่ทำา
อันตรายต่อเซลล์ เพราะมิฉะนันแล้วเซลล์ที่ได้รับการถ่ายยีนจะไม่
                                ้
สามารถเจริญขึ้นเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่สมบูรณ์ได้
      ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าในขั้นตอนของการดัดแปรพันธุกรรมนัน ย่อม
                                                                ้
มีสารเคมีหรือสารชีวภาพบางตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่สารเหล่านั้นจะถูก
กำาจัดออกไปในขั้นตอนการทำาความสะอาดชิ้นยีนก่อนการถ่ายยีน ส่วน
สารเคมีที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายยีนนั้น เป็นสารเคมีที่ไม่เป็นอันตรายต่อ
เซลล์และสิ่งมีชีวิต
เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมพืชทำาได้โดยสรุป ดังรูป
ข้อดีของพืช GMO
1. สามารถต้านทานโรคพืชชนิดรุนแรงได้
2. สามารถต้านทานต่อยาปราบวัชพืช
3. สามารถต้านทานอุณหภูมิตำ่า ๆ ได้
4. สามารถขยายอายุการเก็บได้
5. ทนต่อสภาพการขนส่งได้ดีขึ้น
6. มีผลต่อการแปรรูป
7. มีคุณค่าทางโภชนาการสูงขึ้น
        ในศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นยุคที่เทคโนโลยีชีวภาพเฟื่องฟู มีการนำา
เทคโนโลยีชวภาพมาใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
                ี
อุตสาหกรรมการเกษตร เช่นการใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม ซึ่งเป็น
เทคโนโลยีชวภาพชั้นสูงในการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่มี
                  ี
คุณสมบัติตามที่ต้องการ เช่น สามารถสร้างสารพิษที่เป็นอันตราย
เฉพาะเจาะจงกับแมลงศัตรู สามารถทนต่อยากำาจัดวัชพืช สามารถ
ต้านทานโรคที่เกิดจากไวรัส และมีสารโภชนการหรือวิตามินบางชนิด
เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในธัญพืชที่เป็นอาหารหลัก ในปี
พ.ศ.2535 ได้มีการนำาสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (GMOs) มาใช้เป็น
อาหาร ได้แก่มะเขือเทศดัดแปลงพันธุกรรมให้มีคุณสมบัติสุกช้า
(delayed ripening) และเอนไซม์เร็นเน็ท (rennet) ทีใช้ใน่
อุตสาหกรรมการผลิตเนยแข็ง ทังนี้เอนไซม์ดังกล่าวถูกผลิตขึ้นโดย
                                  ้
จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมจากการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสิ่งมีชีวิต
ดัดแปลงพันธุกรรมทั้งสองชนิดนั้น ทำาให้เกิดกระแสการต่อต้านขึ้นทั้ง
ในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมีมากขึ้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะ
เป็นเรื่องของความปลอดภัยอาหาร เช่น การปนเปื้อนของโรควัวบ้า
(mad cow disease) และการปนเปื้อนของสารไดออกซิน (dioxin)
ในอาหาร จากเหตุการณ์ดังกล่าวจึงทำาให้ผู้ผลิตอาหารส่วนใหญ่และ
กิจการซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ต้องการให้มีการรับรองว่าผลิตภัณฑ์
อาหาร รวมถึงส่วนผสมต่างๆที่ใช้ในกระบวนการผลิตปลอดจาก
จีเอ็มโอ (GMOs free) (10)
        พื้นที่ปลูกพืชดัดแปรพันธุกรรมทั่วโลกในปี พ.ศ. 2545 มี
ประมาณ 367 ล้านไร่ ร้อยละ 68 ปลูกในสหรัฐอเมริกา ร้อยละ 23
ปลูกในอาร์เจนติน่า ร้อยละ 6 ปลูกในแคนาดา และ ร้อยละ 4 ปลูกใน
จีน (4)
อาหารทีมีอาจมีส่วนประกอบเป็นจีเอ็มโอที่มีอยูในปัจจุบัน และพบได้
          ่                                    ่
ในหลายประเทศทั่วโลก เช่น สหรัฐอเมริกา ประเทศในกลุ่มสหภาพ
ยุโรป หรือ อียู ญี่ปน แคนาดา และอื่นๆ ได้แก่ อาหารประเภทถั่ว
                    ุ่
เหลือง ข้าวโพด มันฝรั่ง มะเขือเทศ มะละกอ และผักบางชนิด เป็นต้น
แต่อาหารเหล่านีได้ผ่านขั้นตอนการประเมินความปลอดภัยอย่างเข้ม
                 ้
งวดมาแล้ว จึงสามารถผลิตเพื่อจำาหน่ายในเชิงพาณิชย์ได้ ในกรณี
นำ้านมจากแม่โคที่ได้รับฮอร์โมนที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมนั้น
ขณะนี้ยงไม่มีรายงานว่าพบสารนี้ตกค้างในนำ้านม อย่างไรก็ตาม
        ั
ฮอร์โมนที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมนี้ ไม่ใช่จีเอ็มโอ
การพัฒนาพืชอาหารดัดแปลงพันธุกรรมในประเทศไทย
      มีการพัฒนาพืชอาหารท้องถิ่นหลายชนิดด้วยเทคโนโลยีพันธุ
วิศวกรรมโดยนักวิจัยจากหน่วยงานต่างๆเช่น ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ
เทคโนโลยีชวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
             ี
กรมวิชาการเกษตร เป็นต้น ตัวอย่างพืชอาหารที่มีการพัฒนาคือ
มะละกอต้านทานโรคใบด่างจุดวงแหวนที่เกิดจากไวรัส มะเขือเทศ
ฝ้ายบีที และอื่นๆ ซึ่งพืชดัดแปลงพันธุกรรมเหล่านี้จะต้องผ่านขั้นตอน
การประเมินความปลอดภัยที่เข้มงวด ทังทางด้านสิ่งแวดล้อมและสุข
                                       ้
อนามัยมนุษย์ ก่อนที่จะถูกนำามาบริโภคเป็นอาหาร ในปัจจุบันมีเพียง
ถัวเหลืองและข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมเท่านั้น ที่ได้รบการอนุญาต
  ่                                                      ั
ให้นำามาใช้ในกระบวนการผลิตอาหารได้

เทคโนโลยีชีวภาพพืชที่ประสบความสำาเร็จสู่ระดับการค้า
(วิเชียร , 2542 , 2543)
การควบคุมวัชพืช
      การปลูกพืชโดยทัว ๆ ไปในโลกมนุษย์ ล้วนพบปัญหาการเกิด
                          ่
ของวัชพืชในพืชที่เราต้องการปลูกเช่นเดียวกัน การปราบวัชพืชกระทำา
ได้ 2 วิธี คือการใช้เครื่องมือและการใช้สารเคมี แต่การใช้สารเคมีจะ
ได้รบความนิยมมากกว่า เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพและราคาทว่า
    ั
สารเคมีที่ใช้ปราบวัชพืชไม่สามารถแยกวัชพืชออกจากพืชที่เราปลูกจะ
ทำาลายหมดทุกอย่าง ด้วยเหตุนี้นักเทคโนโลยีชีวภาพพืชจึงได้ค้นคว้า
และวิจัยยาปราบวัชพืชโดยอาศัยเทคนิคทางวิศวกรรมพันธุศาสตร์
ผลิตสารปราบวัชพืชได้สำาเร็จ 2 ชนิด คือ ไกลโฟเสท (glyphosate)
และ กลูโฟซิเนท (glufosinate) มีชื่อทางการคำาว่า ราวอัพ
(Roundupâ ) และบาสต้า (Bastaâ ) ตามลำาดับ นอกจากนี้ยังมีสาร
ปราบวัชพืชอื่น ๆ ที่พืชสามารถทนต่อ bromoxynil, sulfonylureas
และ imidazolinones.
การควบคุมแมลง
       นอกจากวัชพืชจะเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการปลูกพืชแล้ว ยังมีแมลง
เป็นปัจจัยทีสำาคัญรองลงมา การใช้ยาฆ่าแมลงแม้ว่าจะได้ผลแต่ก่อให้
             ่
เกิดผลเสียที่ติดตามมาทั้งต่อผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม และยาฆ่าแมลงทั่ว
ๆ ไปไม่สามารถให้ผลต่อแมลงชนิดใดชนิดหนึ่งที่เราต้องการ อาจ
ทำาให้คุณภาพของพืชที่เราปลูกลดลงด้วยเนื่องจากยาฆ่าแมลงมีผลก
ระทบต่อจุลินทรีย์ อันได้แก่ แบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัส
จุลินทรีย์ บางชนิดสามารถผลิตสารพิษ เช่น อัฟลาท๊อกซิน
(aflatoxin) และฟูมิโนซิน (fuminosin)
ซึ่งมีอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ พืชที่สามารถต้านทานต่อแมลงได้ใน
รุนแรกใช้ยีนส์ บีท(Bt) จากแบคทีเรียที่มีชื่อว่า บาซิลลัส ธูเรนเจียน
  ่                ี
ซิส (Bacillus thurengiensis) (ดูรายละเอียดจาก
Kishore, 1997 หน้า 792-794)
การควบคุมไวรัส
       ไวรัสเป็นสาเหตุสำาคัญที่ทำาให้พืชสูญเสียอย่างมากในการเกษตร
ทัวโลก เช่น ข้าว มะเขือเทศ อ้อย ฝ้าย เป็นต้น พันธุศาสตร์สามารถ
    ่
ใช้ควบคุมไวรัสได้ดีที่สุด
ไวรัสที่พบในพืชมีทั้ง อาร์เอ็นเอ และดีเอ็นเอ ไวรัส การควบคุมไวรัส
พืชสามารถทำาได้ 2 หลักการดังนี้ :
1. ไวรัสเคลือบโปรตีน (viral coat protein) เรียกย่อเป็น ซีพี (CP)
2. อาร์เอ็นเอ - ดีเพนเดนท์ อาร์เอ็นเอ โพลีเมอเรส (RNA-depende
RNA polymerase)
ในหลักการของซีพีเริ่มใช้กับยาสูบซึ่งมีไวรัส โทแบคโคโมซาอิค ไวรัส
(Tobacco Mosaic Virus : TMV) และได้ขยายไปใช้กับมันฝรั่ง เรียก
ว่า โพเทโท้ ไวรัส เอกซ์ และวาย (Potato Virus X and Y : PVX และ
PVY), แตงกวา เรียกว่า คิวคัมเบอร์โมซาอิค ไวรัส (Cucumber
Mosaic Virus : CMV), มะละกอ
เรียกว่า พาพาย่า ริงสปอต์ ไวรัส (Papaya Ring Spot Virus :
PRSV), แตงฝรั่ง เรียกว่า ซัคซินี่เยลโลว์ โมซาอิค ไวรัส (Zuccchini
Yellow Mosaic Virus : ZYMV), แตงโม เรียกว่า วอเตอร์เมล่อน โม
ซาอิคไวรัส สอง (Watermelon Mosaic Virus II : WMV II) ดูราย
ละเอียดใน Fitchen และ Beachy, (1993)
ส่วนหลักการที่สอง ใช้ในมันฝรั่งที่เกิดจากไวรัสที่สวนของใบเรียกว่า
                                                    ่
โพเทโท้ ลีฟโรล ไวรัส (Potato Leaf Roll Virus : PLRV)
(Kaniewski และคณะ 1994) นอกจากนี้มีผทดลองอื่น ๆ เช่น
                                            ู้
Baulcombe, 1994, Wilson 1993 และ Braun และ Hemenway,
1992)}
คุณภาพที่ดีขึ้น
       นอกจากการควบคุมวัชพืช แมลง และไวรัสได้แล้วนัก
เทคโนโลยีชวภาพพืช ยังได้ทำาการปรับปรุงให้พืชมีคุณค่าทางอาหาร
               ี
ดีขึ้น สามารถเก็บได้นานขึ้น และให้พืชสามารถผลิตสารทางชีวภาพ
อื่น ๆ ทีสำาคัญได้อีกด้วย เช่น การผลิตมะเขือเทศที่มีอายุการเก็บได้
         ่
นานขึ้น โดยทำาให้นำ้าย่อยหรือเอนไซม์ที่เรียกว่าโพลีกาแลคตูโรเนส
(polygalcturonase) หยุดการทำางาน โดยเทคนิคที่เรียกว่า แอนตี้
เซนต์ (antisense) จากความสำาเร็จดังกล่าวทำาให้เราทราบว่าถ้าหาก
ต้องการให้พืชเก็บเก็บได้ ในสภาพสดนานขึ้นแล้วล่ะก็ สามารถกระทำา
ได้โดยการชะลอฮอร์โมนที่เรียกว่า เอทธิลีนให้มีน้อยลงหรือไม่มีเลย
เพราะฮอร์โมนชนิดนี้เป็นตัวการทำาให้พืชเกิดการสุกและนิ่มเร็ว
(Kende, 1994) เทคนิคดังกล่าวสามารถนำามาใช้กับผลไม้และผักที่
มีอายุการเก็บได้สั้น ๆ จะได้มีอายุการเก็บได้นานขึ้น เช่น กล้วย
มะม่วง
เห็ด พริก ฯลฯ นอกจากนี้พืชบางชนิดสามารถนำามาผลิตสารประกอบที่
มีคุณประโยชน์ จนมีการเรียกชื่อว่า พืชเป็นแหล่งผลิตแทนถังหมัก
หรือที่เรียกว่า Plants as reactor (Goddijn และ Pen, 1995) พืช
นำ้ามันชนิดหนึ่งที่มีมากในแคนาดารู้จักในชื่อของคาโนลา (canola) ได้
มีการใช้เทคนิคพันธุวิศวกรรมและทำาให้คาโนลา สามารถผลิตประเภท
ของกรดไขมันตามที่เราต้องการได้ เช่น คาโนลาทีมีกรดไขมันลอเรท
                                                  ่
(laurate) สเตียเรท (stearate) และโอลีเอท (oleate) สูง (Topfer
และคณะ, 1995) นอกจากกรดไขมันในคาโนลาแล้ว นักเทคโนโลยี
ชีวภาพพืชยังได้ถายทอดยีนส์โพลีเมอร์ของโพลีไฮดรอกซีบิวทีเรท
                    ่
(poly hydroxybutyrate : PHB) จากแบคทีเรียสู่พืชเพื่อผลิต
พลาสติกที่ย่อยสลายได้ (Poirier และคณะ, 1995) เมื่อเร็ว ๆ นี้
Rossnagel และ Chibbar, 1997 ได้ประสบความสำาเร็จ
ในแปลงทดลองการปลูกข้าวบาร์เลย์ที่ผ่านการทำาพันธุวิศวกรรม
ในแคนาดาโดยถ่ายทอดยีนส์สัญลักษณ์ (marker) และรายงาน
(reporter) จากการรวบรวมข้อมูลการยอมรับแปลงทดลองของพืชที่
ผ่านเทคโนโลยีชีวภาพเมื่อปี 1988 และ 1997 มีพืชที่รับรอง 14 และ
814 รายการตามลำาดับ เฉพาะในแคนาดามีการใช้คาโนลา (พืชนำ้ามัน)
ทีผ่านเทคโนโลยีชีวภาพในปี 1996-1997 จำานวนพื้นทีที่ปลูก
    ่                                                 ่
350,000 และ 4,000,000 เอเคอร์ (ตามลำาดับ) และในปี 1998 คาด
ว่าจะเพิ่มเป็น 6,500,000 เอเคอร์ ในสหรัฐอเมริกา มีผลิตผล
การเกษตรที่ผ่านการทำาพันธุวิศวกรรมออกสู่การค้าแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ.
1994-1997 ได้แก่ มะเขือเทศ (ด้านคุณภาพเก็บได้นานขึ้น), คาโนลา
ถัวเหลือง (พืชนำ้ามัน), ฝ้าย ถัวเหลือง ข้าวโพด (ทนต่อยาปราบ
  ่                            ่
วัชพืช), นำ้าเต้า (squash) ทนต่อไวรัส, มันฝรั่ง ข้าวโพด และฝ้าย (
ทนต่อแมลง) ดูรายละเอียดใน Wilkinson, 1997
          อาหารทีมีส่วนประกอบเป็นจีเอ็มโอได้มีการผลิตในเชิงพาณิชย์
                 ่
และมีการบริโภคกันมา 9-10 ปีแล้ว ส่วนในทางการแพทย์นั้น
เทคโนโลยีดัดแปรพันธุกรรมได้เข้ามามีบทบาทนานมากแล้ว ตัวอย่าง
ทีเห็นได้ชัดเจนคือ อินซูลิน ทีใช้รักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน และยังมียา
      ่                          ่
รักษาโรคอีกหลายชนิดที่เป็นผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยีนี้ ซึงจนถึง
                                                          ่
ปัจจุบันก็ยังไม่มีรายงานถึงอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้อินซูลิน ยา
และอาหารทีได้ออกจำาหน่ายไปแล้ว อาหารทีมีส่วนประกอบเป็น
               ่                               ่
จีเอ็มโอจะต้องผ่านกระบวนการประเมินความปลอดภัยโดยใช้ “หลัก
การเทียบเท่า” หรือ Substantial equivalence ตามมาตรฐานสากล
Codex และได้รบอนุญาตจากหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่กำากับดูแล
                   ั
ก่อนนำาออกจำาหน่ายแก่ผู้บริโภค เช่น ในประเทศไทยกำาหนดไว้ว่า
ผลิตภัณฑ์อาหารสำาเร็จรูปทุกประเภทต้องได้รับการอนุญาตจาก
สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อย. ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า
อาหารทีมีส่วนประกอบเป็นจีเอ็มโอซึ่งผ่านกระบวนการประเมินความ
            ่
ปลอดภัยและได้รับรองจาก อย.แล้วนั้น มีคุณประโยชน์หรือโทษไม่
แตกต่างจากอาหารชนิดเดียวกันกับที่ไม่มีสวนประกอบเป็นจีเอ็มโอ
                                             ่
ตามปกติแล้วคุณค่าทางโภชนาการทีได้รับจากการรับประทานอาหาร
                                      ่
ทีมีส่วนประกอบเป็นจีเอ็มโอ และอาหารทั่วไปนั้นมีความเทียบเท่ากัน
        ่
เว้นแต่กรณีที่มีการเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการบางอย่างเข้าไปใน
จีเอ็มโอซึ่งเป็นส่วนประกอบของอาหาร อาหารที่มีส่วนประกอบเป็น
จีเอ็มโอนั้น ก็จะมีคุณค่าทางโภชนาการสูงกว่าอาหารปกติ
      จนถึงขณะนี้ยังไม่มีรายงานเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดขึ้นต่อร่างกาย
ของผู้บริโภคทั้งเด็กและผู้ใหญ่ทได้บริโภคอาหารทีมีส่วนประกอบเป็น
                                ี่               ่
จีเอ็มโอทีมีจำาหน่ายในท้องตลาดและได้ผ่านการทดสอบความ
            ่
ปลอดภัยมาแล้ว ขณะนี้ยังไม่มีการรายงานว่า ผู้บริโภคอาหารที่มีส่วน
ประกอบเป็นจีเอ็มโอเข้าไปแล้ว อาหารนั้นจะส่งผลเสียต่อร่างกายใน
ระยะยาว เนื่องจากการพัฒนาพันธุ์โดยเทคโนโลยีชีวภาพนั้นมีความ
จำาเพาะสูง ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดผลข้างเคียงมีน้อยมาก เมื่อเทียบกับ
วิธีการพัฒนาพันธุ์แบบดั้งเดิม นอกจากนี้แล้วข้อมูลวิทยาศาสตร์ที่ได้
จากการประเมินความปลอดภัยนั้น จะต้องพิสูจน์ได้ว่าสารพันธุกรรม
และผลผลิตที่เกิดขึ้น จะต้องปลอดภัยต่อผู้บริโภคอีกด้วย
      (11)
           ส่วนผลกระทบกับสัตว์ กรมวิชาการเกษตรโดยนายฉกรรจ์
แสงรักษาวงศ์ อธิบดีกรม เปิดเผยว่าจากการเปรียบเทียบหนูทดลองที่
กินมะละกอจีเอ็มโอ และมะละกอทีไม่ใช่จีเอ็มโอ พบว่าทั้งนำ้าหนักตัว
                                     ่
และการขยายพันธุ์เป็นไปได้ตามปกติ แม้ผลการวิจัยดังกล่าวจะออก
มาเช่นนี้ กรมก็ยังไม่ได้แนะนำาพันธุ์ออกไปสู่เกษตรกร เพราะยังอยู่ใน
ระหว่างช่วงของการทดลองวิจย นอกจากมะละกอแล้ว งานวิจย
                              ั                              ั
จีเอ็มโอที่กรมทำาอยู่ในขณะนี้คือ ข้าวหอมมะลิ สับปะรด กล้วยไม้
แตงกวา ทุเรียน ส้มเขียวหวาน ถัวเหลือง ฝ้าย ซึ่งวันนี้มีเพียงมะละกอ
                                   ่
ชนิดเดียวทีลงแปลง นอกนั้นยังอยู่ในห้องแล็บ
              ่
References

1. ดร. บรรพต ณ ป้อมเพชร สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ).
ใน; ทัศนีย์ อนมาน บรรณาธิการ. ชีวปริทรรศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือน
มกราคม-กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545 หน้า 8-9.
2. ผู้จัดการออนไลน์ 26 สิงหาคม 2547 19:50 น.
3.หนังสือ นิตยสารใกล้หมอ ปีที่ 26 ฉบับที่ 11 พฤศจิกายน 2545
http://www.elib-online.com/a_disclaimer.htmlhttp://www.elib-
online.com/a_disclaimer.html
4. Available from URL: http://biosafety.biotec.or.th
5. . วิเชียร ลีลาวัชรมาศ 2542. เทคโนโลยีชีวภาพกับอุตสาหกรรมเกษตร (
ตอนที่ 2) จาร์พา 51 (พฤศจิกายน - ธันวาคม) : หน้า 44-46
6. วิเชียร ลีลาวัชรมาศ 2543. เทคโนโลยีชีวภาพกับอุตสาหกรรมเกษตร (ตอน
ที่ 3) จาร์พา 52 (มกราคม - กุมภาพันธ์) : หน้า 28-29
7. Leelawatcharamas V. 1996. Nickel resistance plasmid in lactic acid
bacteria isolated from Thai ermented fruit and f vegetables. Abst.
Fifth Symposium Lactic Acid Bacteria. Veldhoven, The
Netherlands. Sept. 8-12, 1996. E2
8. Leelawatcharamas V., Chia L.G., Charoenchai P., Kunajakr
N, Liu C. Q and Dunn N.W. 1997.Plasmid-encoded copper
resistance in Lactococcus lactis. Biotechnol. Lett. 19(7) :
639-643.
9. Liu C.-Q., Leelawatcharamas V., Harvey M. and Dunn N.W.
1996. Cloning vectors for lactococci based on a plasmid
encoding resistance to cadmium. Cur. Microbiol. 33 : 35-39.
10. ชื่อเรื่อง อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมใน
ประเทศไทย (Genetically Modified Food in Thailand) สุคุณ คุณ
ะวเสน ผู้ประสานงานกลุมความปลอดภัยทางชีวภาพ
                          ่
ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ (ยุค 20 ปี35) หนังสือ ชีว
ปริทรรศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545
10. สุคุณ คุณะวเสน. อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมใน
ประเทศไทย (Genetically Modified Food in Thailand). ใน; ทัศนีย์
อนมาน บรรณาธิการ. ชีวปริทรรศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-
กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545 หน้า 24- 27.
11. เพ็ญพิชญา เตียว. แม้มะละกอ GMO ชะงัก แต่พืชอีก 8 ชนิดยัง
เดินหน้าวิจยต่อ. หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ วันที่ 20 กันยายน 2547;
             ั

More Related Content

What's hot

ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.peter dontoom
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีnattieboice
 
ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์mam2541
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพKobwit Piriyawat
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพMelody Minhyok
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์Aobinta In
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพweerabong
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานduckbellonly
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
 
ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
Detailart
DetailartDetailart
Detailart
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโน
 
1ข้อมูลทั่วไป
1ข้อมูลทั่วไป1ข้อมูลทั่วไป
1ข้อมูลทั่วไป
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ประโยชน์
ประโยชน์ประโยชน์
ประโยชน์
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
แขไข
แขไขแขไข
แขไข
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 

Viewers also liked

Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไรUrai1961
 
Gmo ในความคิดของฉัน
Gmo ในความคิดของฉันGmo ในความคิดของฉัน
Gmo ในความคิดของฉันt039
 
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไรจีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไรmmaaww
 
Gmo คืออะไร
Gmo คืออะไรGmo คืออะไร
Gmo คืออะไรweerasak1972
 
Genetically Modified Organisms (GMO)
Genetically Modified Organisms (GMO)Genetically Modified Organisms (GMO)
Genetically Modified Organisms (GMO)Tanvi Vasani
 

Viewers also liked (6)

Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไร
 
Gmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับGmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับ
 
Gmo ในความคิดของฉัน
Gmo ในความคิดของฉันGmo ในความคิดของฉัน
Gmo ในความคิดของฉัน
 
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไรจีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
 
Gmo คืออะไร
Gmo คืออะไรGmo คืออะไร
Gmo คืออะไร
 
Genetically Modified Organisms (GMO)
Genetically Modified Organisms (GMO)Genetically Modified Organisms (GMO)
Genetically Modified Organisms (GMO)
 

Similar to จีเอ็มโอ

ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4t037
 
ความรู้ทั่วไป3
ความรู้ทั่วไป3ความรู้ทั่วไป3
ความรู้ทั่วไป3t037
 
ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4t037
 
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไปความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไปt037
 
Gmoในความคิดของฉัน
GmoในความคิดของฉันGmoในความคิดของฉัน
GmoในความคิดของฉันNataya Kanyaboon
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO Namchai Chewawiwat
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

Similar to จีเอ็มโอ (20)

Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4
 
ความรู้ทั่วไป3
ความรู้ทั่วไป3ความรู้ทั่วไป3
ความรู้ทั่วไป3
 
ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4ความรู้ทั่วไป4
ความรู้ทั่วไป4
 
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไปความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไป
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
Gmoในความคิดของฉัน
GmoในความคิดของฉันGmoในความคิดของฉัน
Gmoในความคิดของฉัน
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
Gmos2
Gmos2Gmos2
Gmos2
 
Gmos2
Gmos2Gmos2
Gmos2
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
1
11
1
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 

จีเอ็มโอ

  • 1. สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) (Genetically Modified Organism-GMO) แพทย์หญิงสายพิณ โชติวิเชียร กลุมพัฒนาเทคโนโลยีโภชนาการ ่ การดัดแปลงพันธุกรรม (genetic modification) ไม่วาจะ ่ เป็นการดัดแปลงพันธุกรรมพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ จะทำาให้ได้พืช สัตว์ จุลินทรีย์ หรือสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (genetically modified organism) หรือเรียกย่อเป็น GMO หรือจีเอ็มโอ ความเป็นมาของคำา ว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) อาจย้อนไปถึงในช่วงต้นของทศวรรษ 1800s ได้มีการนำา เทคโนโลยีชวภาพที่เรียกว่า r-DNA เทคโนโลยีหรือพันธุวิศวกรรม ี (genetic engineering) มาใช้ในการพัฒนาสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆกัน ทังในการปรับปรุงพันธุ์ ้ พืช พันธุ์สัตว์ จุลินทรีย์ การผลิตยารักษาโรคและเภสัชภัณฑ์ ฯลฯ ใน ช่วงนั้นสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ทนำามาใช้จะเป็นจุลินทรีย(microorganism) ี่ ์ ดังนั้นจุลินทรีย์ทได้มีการถูกดัดแปลงโดยวิธีการทางพันธุวิศวกรรม มี ี่ การเรียกว่าเป็น genetically engineered microorganism หรือ GEM ซึ่งอาจเรียกในภาษาไทยเป็น “จุลินทรียที่ถูกดัดแปลงทางพันธุกรรม” ์ แต่การดัดแปลงทางพันธุกรรม (genetic modification) ได้ครอบคลุม ไปถึงพืช สัตว์ ด้วย ดังนั้นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมอาจเป็น “พืช ดัดแปลงพันธุกรรม” (genetically modified plant หรือ transgenic plant) หรือ “สัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม” (genetic modified animal หรือ transgenic animal) หรือถ้าเป็นสิ่งมีชีวิต (organism) ทังพืช ้ และสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรมเหล่านี้สามารถเรียกรวมๆกันเป็น “สิ่งมี ชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม” (genetically modified organism) หรือ GMO(1) จีเอ็มโอ หรือ GMOs – Genetically Modified Organisms คือ สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปรพันธุกรรมเป็นผลผลิตจากการใช้ เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม หรือ เทคนิคการตัดต่อยีน ในพืช สัตว์ หรือ จุลินทรีย์ เพื่อให้มีคุณสมบัติหรือคุณลักษณะเฉพาะเจาะจงตามที่ ต้องการ เช่น ต้านทานแมลงศัตรูพืช คงทนต่อสภาพแวดล้อมหรือเพิ่ม
  • 2. สารโภชนาการบางชนิด เช่น วิตามิน จีเอ็มโอ ไม่ใช่สารปนเปื้อนและ ไม่ใช่สารเคมี แต่จีเอ็มโอคือสิ่งมีชีวิตที่เป็นผลพวงของเทคโนโลยี ชีวภาพสมัยใหม่ ซึ่งเกิดจากความตั้งใจของนักวิทยาศาสตร์ที่จะ ปรับปรุงพันธุ์ให้มีคุณสมบัติที่ดีตามที่ต้องการ เช่น การดัดแปร พันธุกรรมของมะเขือเทศให้มีลักษณะที่สุกงอมช้ากว่าปกติ การดัด แปรพันธุกรรมของถัวเหลืองให้มีไขมันชนิดไม่อิ่มตัวสูง เป็นต้น(2) ่ สารพันธุกรรมหรือที่เรียกว่า DNA เป็นสารเคมีทประกอบกันขึ้น ี่ เป็นหน่วยพันธุกรรมหรือ ยีน (GENE) และสิ่งมีชีวิตดังกล่าวอาจจะเป็น สัตว์ พืช หรือจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ GMO นั้นใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและยา และมีจุลินทรีย์ GMO ที่มีคุณสมบัติพิเศษในการกำาจัดคราบนำ้ามันได้ดี พืช GMO เช่น ฝ้าย ข้าวโพด มันฝรั่ง มะละกอ เรานิยมทำา GMO ใน พืชเพราะว่าทำาได้ง่ายกว่าสัตว์ และสามารถศึกษาพืช GMO ได้หลายๆ ชั่วอายุของพืช (Generation) เพราะว่าพืชมีอายุสั้นกว่าสัตว์ ซึ่งอายุ ของสัตว์แต่ละ Generation นั้นกินเวลานานหลายปี สัตว์ GMO เช่น ปลาแซลมอน ซึ่ง Modified หมายความว่า ปลานี้ได้ รับการปรุงแต่ง หรือดัดแปลงโดยมนุษย์ไปเรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะช่วยแก้ ปัญหาการขาดแคลนอาหาร เพราะมนุษย์ล้นโลกได้เป็นอย่างดี จึงเป็น วิธีพัฒนาการทางด้านอาหารสำาหรับบริโภคของมนุษย์ วิธีการทำา GMO(3) ปัจจุบันนักเทคโนโลยีชีวภาพได้ทำาการศึกษาวิจัยด้าน GENE หรือ GENOME ทำาให้สามารถวิเคราะห์โครงสร้างในสิ่งที่มีชีวิตและยีน เพื่อปรับปรุงคุณลักษณะให้ดีกว่าเดิม คือ การทำา GMO นั่นเอง GENETIC ENGINEERING หรือพันธุวิศวกรรมนั้น เป็นวิธีการที่เรียกว่า Biotechnology หรือเทคโนโลยีทางชีวภาพ เป็นวิธีการที่คัดเลือกสาย พันธุ์โดยทำาลงไปทียีนที่ต้องการโดยตรง แทนวิธีการผสมพันธุ์แบบ ่ เก่า แล้วคัดเลือกลูกสายพันธุ์ผสมที่มีลักษณะตามความต้องการ ถึง แม้วาจะใช้เวลานานก็ตาม ่ วิธีการทำา GMO มี 2 ขั้นตอนดังนี้ 1. เจาะจงโดยการค้นหายีนตัวใหม่หรือจะใช้ยีนที่เป็น TRAITS (มี คุณลักษณะแฝง) ก็ได้ ตามที่เราต้องการ ยีนตัวนี้อาจจะมาจากพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ก็ได้
  • 3. 2. นำาเอายีนจากข้อที่ 1. ถ่ายทอดเข้าไปอยู่ในโครโมโซมของเซลล์ ใหม่ ซึ่งทำาได้หลายวิธี วิธีหลักที่ใช้กันในปัจจุบน มี 2 วิธีคือ ั 2.1 ใช้จลินทรีย์ เรียกว่า Agro-Bacterium เป็นพาหะช่วยพายีน ุ เข้าไป ซึ่งคล้ายกับการใช้รถลำาเลียงสัมภาระเข้าไปไว้ในทีที่ต้องการ ่ 2.2 ใช้ปนยีน (GENE GUN) ยิงยีนที่เกาะอยู่บนผิวอนุภาคของทอง ื ให้เข้าไปในโครโมโซมเซลล์พืช กระสุนที่ยงเข้าไปเป็นทองและนำา ิ DNA ติดกับผิวของกระสุนที่เป็นอนุภาคของทอง และยิงเข้าไปใน โครโมโซมด้วยแรงเฉื่อย จะทำาให้ DNA หลุดจากผิวของอนุภาคของ ทอง เข้าไปอยูในโครโมโซม ส่วนทองก็จะอยู่ภายในเนื้อเยื่อโดยไม่มี ่ ปฏิกิริยาใดๆ เมื่อเข้าไปที่ใหม่ จะโดยวิธี 2.1 หรือ 2.2 ก็ตาม ยีนจะแทรกตัว รวมอยู่กับโครโมโซมของพืช จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของโครโมโซมพืช การถ่ายทอดยีนเข้าสู่พืชนั้นมิได้เป็นการถ่ายทอดเฉพาะยีนที่ต้องการ เท่านั้น แต่เป็นการถ่ายทอดชุดของยีนเรียกว่า GENE CASSETTE โดยนักวิทยาศาสตร์ทนำาเอายีนที่ต้องการนั้น ไปผ่านขบวนการเสริม ี่ แต่ง เพื่อเพิ่มตัวช่วย ได้แก่ ตัวควบคุมการทำางานของยีนให้เริ่มต้นและ ยุติ และตัวบ่งชี้ปรากฏการณ์ของยีน ซึ่งตัวช่วยทั้งสองเป็นสาร พันธุกรรมหรือยีนเช่นกัน ทังหมดจะถูกนำามาเชื่อมต่อเข้าด้วยกันเป็น ้ ชุดของยีนก่อนจะนำาชุดของยีนนั้น ไปฝากไว้กับเชื้ออะโกรแบคทีเรียม หรือนำาไปเคลือบลงบนผิวอนุภาคของทองอีกทีหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ จำาเป็นต้องพ่วงตัวช่วยเหล่านั้นกับยีนที่ต้องการเพื่อใส่ยีนเข้าไปใน เซลล์พืช ให้สามารถทำางานได้ หรือสามารถควบคุมให้มีการสร้าง โปรตีนได้ เมื่อมีตัวควบคุมการทำางานของยีนให้เริ่มต้นหรือให้ยุติ ก็ เปรียบเหมือนกับสวิตช์ที่เปิดปิดได้นั่นเอง นอกจากนี้ยังต้องมีวิธีการ ติดตามหรือสะกดรอยชุดยีนที่ใส่เข้าไป โดยตรวจหาสัญญาณตัวบ่งชี้ การปรากฏของยีน ซึงตัวบ่งชี้นี้ช่วยให้สามารถคัดแยกเซลล์พืชหรือ ่ ต้นพืชที่ได้รับการใส่ชุดยีนได้ หลักสำาคัญของการถ่ายยีน คือ - ยีนที่จะถ่ายเข้าไปนั้นจะต้องมีความบริสทธิ์ไม่มีสารใดปนเปื้อน ุ เพราะสิ่งสกปรกจะลดประสิทธิภาพของการถ่ายยีน - วิธีที่ใช้ถายยีน ไม่ว่าจะเป็นการใช้กระแสไฟฟ้า หรือสารเคมีทไม่เป็น ่ ี่ อันตราย หรือการยิงกระสุนทองคำาเคลือบชิ้นยีน โดยใช้แรงดันลมจาก
  • 4. ก๊าซเฉื่อย หรือการใช้แบคทีเรียชื่อ “อะโกรแบคทีเรีย” หรือ ซึ่ง 2 วิธี หลังนี้ใช้สำาหรับการถ่ายยีนเข้าพืชเท่านั้น วิธีต่างๆ เหล่านี้นอกจากจะ ต้องมีประสิทธิภาพดีในการนำาพาชิ้นยีนเข้าสู่เซลล์แล้ว ยังต้องไม่ทำา อันตรายต่อเซลล์ เพราะมิฉะนันแล้วเซลล์ที่ได้รับการถ่ายยีนจะไม่ ้ สามารถเจริญขึ้นเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่สมบูรณ์ได้ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าในขั้นตอนของการดัดแปรพันธุกรรมนัน ย่อม ้ มีสารเคมีหรือสารชีวภาพบางตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่สารเหล่านั้นจะถูก กำาจัดออกไปในขั้นตอนการทำาความสะอาดชิ้นยีนก่อนการถ่ายยีน ส่วน สารเคมีที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายยีนนั้น เป็นสารเคมีที่ไม่เป็นอันตรายต่อ เซลล์และสิ่งมีชีวิต
  • 6. ข้อดีของพืช GMO 1. สามารถต้านทานโรคพืชชนิดรุนแรงได้ 2. สามารถต้านทานต่อยาปราบวัชพืช 3. สามารถต้านทานอุณหภูมิตำ่า ๆ ได้ 4. สามารถขยายอายุการเก็บได้ 5. ทนต่อสภาพการขนส่งได้ดีขึ้น 6. มีผลต่อการแปรรูป 7. มีคุณค่าทางโภชนาการสูงขึ้น ในศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นยุคที่เทคโนโลยีชีวภาพเฟื่องฟู มีการนำา เทคโนโลยีชวภาพมาใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ี อุตสาหกรรมการเกษตร เช่นการใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม ซึ่งเป็น เทคโนโลยีชวภาพชั้นสูงในการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่มี ี คุณสมบัติตามที่ต้องการ เช่น สามารถสร้างสารพิษที่เป็นอันตราย เฉพาะเจาะจงกับแมลงศัตรู สามารถทนต่อยากำาจัดวัชพืช สามารถ ต้านทานโรคที่เกิดจากไวรัส และมีสารโภชนการหรือวิตามินบางชนิด เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในธัญพืชที่เป็นอาหารหลัก ในปี พ.ศ.2535 ได้มีการนำาสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (GMOs) มาใช้เป็น อาหาร ได้แก่มะเขือเทศดัดแปลงพันธุกรรมให้มีคุณสมบัติสุกช้า (delayed ripening) และเอนไซม์เร็นเน็ท (rennet) ทีใช้ใน่ อุตสาหกรรมการผลิตเนยแข็ง ทังนี้เอนไซม์ดังกล่าวถูกผลิตขึ้นโดย ้ จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมจากการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ดัดแปลงพันธุกรรมทั้งสองชนิดนั้น ทำาให้เกิดกระแสการต่อต้านขึ้นทั้ง ในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมีมากขึ้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะ เป็นเรื่องของความปลอดภัยอาหาร เช่น การปนเปื้อนของโรควัวบ้า (mad cow disease) และการปนเปื้อนของสารไดออกซิน (dioxin) ในอาหาร จากเหตุการณ์ดังกล่าวจึงทำาให้ผู้ผลิตอาหารส่วนใหญ่และ กิจการซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ต้องการให้มีการรับรองว่าผลิตภัณฑ์ อาหาร รวมถึงส่วนผสมต่างๆที่ใช้ในกระบวนการผลิตปลอดจาก จีเอ็มโอ (GMOs free) (10) พื้นที่ปลูกพืชดัดแปรพันธุกรรมทั่วโลกในปี พ.ศ. 2545 มี ประมาณ 367 ล้านไร่ ร้อยละ 68 ปลูกในสหรัฐอเมริกา ร้อยละ 23 ปลูกในอาร์เจนติน่า ร้อยละ 6 ปลูกในแคนาดา และ ร้อยละ 4 ปลูกใน จีน (4)
  • 7. อาหารทีมีอาจมีส่วนประกอบเป็นจีเอ็มโอที่มีอยูในปัจจุบัน และพบได้ ่ ่ ในหลายประเทศทั่วโลก เช่น สหรัฐอเมริกา ประเทศในกลุ่มสหภาพ ยุโรป หรือ อียู ญี่ปน แคนาดา และอื่นๆ ได้แก่ อาหารประเภทถั่ว ุ่ เหลือง ข้าวโพด มันฝรั่ง มะเขือเทศ มะละกอ และผักบางชนิด เป็นต้น แต่อาหารเหล่านีได้ผ่านขั้นตอนการประเมินความปลอดภัยอย่างเข้ม ้ งวดมาแล้ว จึงสามารถผลิตเพื่อจำาหน่ายในเชิงพาณิชย์ได้ ในกรณี นำ้านมจากแม่โคที่ได้รับฮอร์โมนที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมนั้น ขณะนี้ยงไม่มีรายงานว่าพบสารนี้ตกค้างในนำ้านม อย่างไรก็ตาม ั ฮอร์โมนที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมนี้ ไม่ใช่จีเอ็มโอ การพัฒนาพืชอาหารดัดแปลงพันธุกรรมในประเทศไทย มีการพัฒนาพืชอาหารท้องถิ่นหลายชนิดด้วยเทคโนโลยีพันธุ วิศวกรรมโดยนักวิจัยจากหน่วยงานต่างๆเช่น ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ี กรมวิชาการเกษตร เป็นต้น ตัวอย่างพืชอาหารที่มีการพัฒนาคือ มะละกอต้านทานโรคใบด่างจุดวงแหวนที่เกิดจากไวรัส มะเขือเทศ ฝ้ายบีที และอื่นๆ ซึ่งพืชดัดแปลงพันธุกรรมเหล่านี้จะต้องผ่านขั้นตอน การประเมินความปลอดภัยที่เข้มงวด ทังทางด้านสิ่งแวดล้อมและสุข ้ อนามัยมนุษย์ ก่อนที่จะถูกนำามาบริโภคเป็นอาหาร ในปัจจุบันมีเพียง ถัวเหลืองและข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมเท่านั้น ที่ได้รบการอนุญาต ่ ั ให้นำามาใช้ในกระบวนการผลิตอาหารได้ เทคโนโลยีชีวภาพพืชที่ประสบความสำาเร็จสู่ระดับการค้า (วิเชียร , 2542 , 2543) การควบคุมวัชพืช การปลูกพืชโดยทัว ๆ ไปในโลกมนุษย์ ล้วนพบปัญหาการเกิด ่ ของวัชพืชในพืชที่เราต้องการปลูกเช่นเดียวกัน การปราบวัชพืชกระทำา ได้ 2 วิธี คือการใช้เครื่องมือและการใช้สารเคมี แต่การใช้สารเคมีจะ ได้รบความนิยมมากกว่า เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพและราคาทว่า ั สารเคมีที่ใช้ปราบวัชพืชไม่สามารถแยกวัชพืชออกจากพืชที่เราปลูกจะ ทำาลายหมดทุกอย่าง ด้วยเหตุนี้นักเทคโนโลยีชีวภาพพืชจึงได้ค้นคว้า และวิจัยยาปราบวัชพืชโดยอาศัยเทคนิคทางวิศวกรรมพันธุศาสตร์ ผลิตสารปราบวัชพืชได้สำาเร็จ 2 ชนิด คือ ไกลโฟเสท (glyphosate) และ กลูโฟซิเนท (glufosinate) มีชื่อทางการคำาว่า ราวอัพ
  • 8. (Roundupâ ) และบาสต้า (Bastaâ ) ตามลำาดับ นอกจากนี้ยังมีสาร ปราบวัชพืชอื่น ๆ ที่พืชสามารถทนต่อ bromoxynil, sulfonylureas และ imidazolinones. การควบคุมแมลง นอกจากวัชพืชจะเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการปลูกพืชแล้ว ยังมีแมลง เป็นปัจจัยทีสำาคัญรองลงมา การใช้ยาฆ่าแมลงแม้ว่าจะได้ผลแต่ก่อให้ ่ เกิดผลเสียที่ติดตามมาทั้งต่อผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม และยาฆ่าแมลงทั่ว ๆ ไปไม่สามารถให้ผลต่อแมลงชนิดใดชนิดหนึ่งที่เราต้องการ อาจ ทำาให้คุณภาพของพืชที่เราปลูกลดลงด้วยเนื่องจากยาฆ่าแมลงมีผลก ระทบต่อจุลินทรีย์ อันได้แก่ แบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัส จุลินทรีย์ บางชนิดสามารถผลิตสารพิษ เช่น อัฟลาท๊อกซิน (aflatoxin) และฟูมิโนซิน (fuminosin) ซึ่งมีอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ พืชที่สามารถต้านทานต่อแมลงได้ใน รุนแรกใช้ยีนส์ บีท(Bt) จากแบคทีเรียที่มีชื่อว่า บาซิลลัส ธูเรนเจียน ่ ี ซิส (Bacillus thurengiensis) (ดูรายละเอียดจาก Kishore, 1997 หน้า 792-794) การควบคุมไวรัส ไวรัสเป็นสาเหตุสำาคัญที่ทำาให้พืชสูญเสียอย่างมากในการเกษตร ทัวโลก เช่น ข้าว มะเขือเทศ อ้อย ฝ้าย เป็นต้น พันธุศาสตร์สามารถ ่ ใช้ควบคุมไวรัสได้ดีที่สุด ไวรัสที่พบในพืชมีทั้ง อาร์เอ็นเอ และดีเอ็นเอ ไวรัส การควบคุมไวรัส พืชสามารถทำาได้ 2 หลักการดังนี้ : 1. ไวรัสเคลือบโปรตีน (viral coat protein) เรียกย่อเป็น ซีพี (CP) 2. อาร์เอ็นเอ - ดีเพนเดนท์ อาร์เอ็นเอ โพลีเมอเรส (RNA-depende RNA polymerase) ในหลักการของซีพีเริ่มใช้กับยาสูบซึ่งมีไวรัส โทแบคโคโมซาอิค ไวรัส (Tobacco Mosaic Virus : TMV) และได้ขยายไปใช้กับมันฝรั่ง เรียก ว่า โพเทโท้ ไวรัส เอกซ์ และวาย (Potato Virus X and Y : PVX และ PVY), แตงกวา เรียกว่า คิวคัมเบอร์โมซาอิค ไวรัส (Cucumber Mosaic Virus : CMV), มะละกอ เรียกว่า พาพาย่า ริงสปอต์ ไวรัส (Papaya Ring Spot Virus : PRSV), แตงฝรั่ง เรียกว่า ซัคซินี่เยลโลว์ โมซาอิค ไวรัส (Zuccchini Yellow Mosaic Virus : ZYMV), แตงโม เรียกว่า วอเตอร์เมล่อน โม
  • 9. ซาอิคไวรัส สอง (Watermelon Mosaic Virus II : WMV II) ดูราย ละเอียดใน Fitchen และ Beachy, (1993) ส่วนหลักการที่สอง ใช้ในมันฝรั่งที่เกิดจากไวรัสที่สวนของใบเรียกว่า ่ โพเทโท้ ลีฟโรล ไวรัส (Potato Leaf Roll Virus : PLRV) (Kaniewski และคณะ 1994) นอกจากนี้มีผทดลองอื่น ๆ เช่น ู้ Baulcombe, 1994, Wilson 1993 และ Braun และ Hemenway, 1992)} คุณภาพที่ดีขึ้น นอกจากการควบคุมวัชพืช แมลง และไวรัสได้แล้วนัก เทคโนโลยีชวภาพพืช ยังได้ทำาการปรับปรุงให้พืชมีคุณค่าทางอาหาร ี ดีขึ้น สามารถเก็บได้นานขึ้น และให้พืชสามารถผลิตสารทางชีวภาพ อื่น ๆ ทีสำาคัญได้อีกด้วย เช่น การผลิตมะเขือเทศที่มีอายุการเก็บได้ ่ นานขึ้น โดยทำาให้นำ้าย่อยหรือเอนไซม์ที่เรียกว่าโพลีกาแลคตูโรเนส (polygalcturonase) หยุดการทำางาน โดยเทคนิคที่เรียกว่า แอนตี้ เซนต์ (antisense) จากความสำาเร็จดังกล่าวทำาให้เราทราบว่าถ้าหาก ต้องการให้พืชเก็บเก็บได้ ในสภาพสดนานขึ้นแล้วล่ะก็ สามารถกระทำา ได้โดยการชะลอฮอร์โมนที่เรียกว่า เอทธิลีนให้มีน้อยลงหรือไม่มีเลย เพราะฮอร์โมนชนิดนี้เป็นตัวการทำาให้พืชเกิดการสุกและนิ่มเร็ว (Kende, 1994) เทคนิคดังกล่าวสามารถนำามาใช้กับผลไม้และผักที่ มีอายุการเก็บได้สั้น ๆ จะได้มีอายุการเก็บได้นานขึ้น เช่น กล้วย มะม่วง เห็ด พริก ฯลฯ นอกจากนี้พืชบางชนิดสามารถนำามาผลิตสารประกอบที่ มีคุณประโยชน์ จนมีการเรียกชื่อว่า พืชเป็นแหล่งผลิตแทนถังหมัก หรือที่เรียกว่า Plants as reactor (Goddijn และ Pen, 1995) พืช นำ้ามันชนิดหนึ่งที่มีมากในแคนาดารู้จักในชื่อของคาโนลา (canola) ได้ มีการใช้เทคนิคพันธุวิศวกรรมและทำาให้คาโนลา สามารถผลิตประเภท ของกรดไขมันตามที่เราต้องการได้ เช่น คาโนลาทีมีกรดไขมันลอเรท ่ (laurate) สเตียเรท (stearate) และโอลีเอท (oleate) สูง (Topfer และคณะ, 1995) นอกจากกรดไขมันในคาโนลาแล้ว นักเทคโนโลยี ชีวภาพพืชยังได้ถายทอดยีนส์โพลีเมอร์ของโพลีไฮดรอกซีบิวทีเรท ่ (poly hydroxybutyrate : PHB) จากแบคทีเรียสู่พืชเพื่อผลิต พลาสติกที่ย่อยสลายได้ (Poirier และคณะ, 1995) เมื่อเร็ว ๆ นี้ Rossnagel และ Chibbar, 1997 ได้ประสบความสำาเร็จ
  • 10. ในแปลงทดลองการปลูกข้าวบาร์เลย์ที่ผ่านการทำาพันธุวิศวกรรม ในแคนาดาโดยถ่ายทอดยีนส์สัญลักษณ์ (marker) และรายงาน (reporter) จากการรวบรวมข้อมูลการยอมรับแปลงทดลองของพืชที่ ผ่านเทคโนโลยีชีวภาพเมื่อปี 1988 และ 1997 มีพืชที่รับรอง 14 และ 814 รายการตามลำาดับ เฉพาะในแคนาดามีการใช้คาโนลา (พืชนำ้ามัน) ทีผ่านเทคโนโลยีชีวภาพในปี 1996-1997 จำานวนพื้นทีที่ปลูก ่ ่ 350,000 และ 4,000,000 เอเคอร์ (ตามลำาดับ) และในปี 1998 คาด ว่าจะเพิ่มเป็น 6,500,000 เอเคอร์ ในสหรัฐอเมริกา มีผลิตผล การเกษตรที่ผ่านการทำาพันธุวิศวกรรมออกสู่การค้าแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994-1997 ได้แก่ มะเขือเทศ (ด้านคุณภาพเก็บได้นานขึ้น), คาโนลา ถัวเหลือง (พืชนำ้ามัน), ฝ้าย ถัวเหลือง ข้าวโพด (ทนต่อยาปราบ ่ ่ วัชพืช), นำ้าเต้า (squash) ทนต่อไวรัส, มันฝรั่ง ข้าวโพด และฝ้าย ( ทนต่อแมลง) ดูรายละเอียดใน Wilkinson, 1997 อาหารทีมีส่วนประกอบเป็นจีเอ็มโอได้มีการผลิตในเชิงพาณิชย์ ่ และมีการบริโภคกันมา 9-10 ปีแล้ว ส่วนในทางการแพทย์นั้น เทคโนโลยีดัดแปรพันธุกรรมได้เข้ามามีบทบาทนานมากแล้ว ตัวอย่าง ทีเห็นได้ชัดเจนคือ อินซูลิน ทีใช้รักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน และยังมียา ่ ่ รักษาโรคอีกหลายชนิดที่เป็นผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยีนี้ ซึงจนถึง ่ ปัจจุบันก็ยังไม่มีรายงานถึงอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้อินซูลิน ยา และอาหารทีได้ออกจำาหน่ายไปแล้ว อาหารทีมีส่วนประกอบเป็น ่ ่ จีเอ็มโอจะต้องผ่านกระบวนการประเมินความปลอดภัยโดยใช้ “หลัก การเทียบเท่า” หรือ Substantial equivalence ตามมาตรฐานสากล Codex และได้รบอนุญาตจากหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่กำากับดูแล ั ก่อนนำาออกจำาหน่ายแก่ผู้บริโภค เช่น ในประเทศไทยกำาหนดไว้ว่า ผลิตภัณฑ์อาหารสำาเร็จรูปทุกประเภทต้องได้รับการอนุญาตจาก สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อย. ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า อาหารทีมีส่วนประกอบเป็นจีเอ็มโอซึ่งผ่านกระบวนการประเมินความ ่ ปลอดภัยและได้รับรองจาก อย.แล้วนั้น มีคุณประโยชน์หรือโทษไม่ แตกต่างจากอาหารชนิดเดียวกันกับที่ไม่มีสวนประกอบเป็นจีเอ็มโอ ่ ตามปกติแล้วคุณค่าทางโภชนาการทีได้รับจากการรับประทานอาหาร ่ ทีมีส่วนประกอบเป็นจีเอ็มโอ และอาหารทั่วไปนั้นมีความเทียบเท่ากัน ่ เว้นแต่กรณีที่มีการเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการบางอย่างเข้าไปใน
  • 11. จีเอ็มโอซึ่งเป็นส่วนประกอบของอาหาร อาหารที่มีส่วนประกอบเป็น จีเอ็มโอนั้น ก็จะมีคุณค่าทางโภชนาการสูงกว่าอาหารปกติ จนถึงขณะนี้ยังไม่มีรายงานเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดขึ้นต่อร่างกาย ของผู้บริโภคทั้งเด็กและผู้ใหญ่ทได้บริโภคอาหารทีมีส่วนประกอบเป็น ี่ ่ จีเอ็มโอทีมีจำาหน่ายในท้องตลาดและได้ผ่านการทดสอบความ ่ ปลอดภัยมาแล้ว ขณะนี้ยังไม่มีการรายงานว่า ผู้บริโภคอาหารที่มีส่วน ประกอบเป็นจีเอ็มโอเข้าไปแล้ว อาหารนั้นจะส่งผลเสียต่อร่างกายใน ระยะยาว เนื่องจากการพัฒนาพันธุ์โดยเทคโนโลยีชีวภาพนั้นมีความ จำาเพาะสูง ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดผลข้างเคียงมีน้อยมาก เมื่อเทียบกับ วิธีการพัฒนาพันธุ์แบบดั้งเดิม นอกจากนี้แล้วข้อมูลวิทยาศาสตร์ที่ได้ จากการประเมินความปลอดภัยนั้น จะต้องพิสูจน์ได้ว่าสารพันธุกรรม และผลผลิตที่เกิดขึ้น จะต้องปลอดภัยต่อผู้บริโภคอีกด้วย (11) ส่วนผลกระทบกับสัตว์ กรมวิชาการเกษตรโดยนายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ อธิบดีกรม เปิดเผยว่าจากการเปรียบเทียบหนูทดลองที่ กินมะละกอจีเอ็มโอ และมะละกอทีไม่ใช่จีเอ็มโอ พบว่าทั้งนำ้าหนักตัว ่ และการขยายพันธุ์เป็นไปได้ตามปกติ แม้ผลการวิจัยดังกล่าวจะออก มาเช่นนี้ กรมก็ยังไม่ได้แนะนำาพันธุ์ออกไปสู่เกษตรกร เพราะยังอยู่ใน ระหว่างช่วงของการทดลองวิจย นอกจากมะละกอแล้ว งานวิจย ั ั จีเอ็มโอที่กรมทำาอยู่ในขณะนี้คือ ข้าวหอมมะลิ สับปะรด กล้วยไม้ แตงกวา ทุเรียน ส้มเขียวหวาน ถัวเหลือง ฝ้าย ซึ่งวันนี้มีเพียงมะละกอ ่ ชนิดเดียวทีลงแปลง นอกนั้นยังอยู่ในห้องแล็บ ่ References 1. ดร. บรรพต ณ ป้อมเพชร สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ). ใน; ทัศนีย์ อนมาน บรรณาธิการ. ชีวปริทรรศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545 หน้า 8-9. 2. ผู้จัดการออนไลน์ 26 สิงหาคม 2547 19:50 น. 3.หนังสือ นิตยสารใกล้หมอ ปีที่ 26 ฉบับที่ 11 พฤศจิกายน 2545 http://www.elib-online.com/a_disclaimer.htmlhttp://www.elib- online.com/a_disclaimer.html 4. Available from URL: http://biosafety.biotec.or.th 5. . วิเชียร ลีลาวัชรมาศ 2542. เทคโนโลยีชีวภาพกับอุตสาหกรรมเกษตร ( ตอนที่ 2) จาร์พา 51 (พฤศจิกายน - ธันวาคม) : หน้า 44-46
  • 12. 6. วิเชียร ลีลาวัชรมาศ 2543. เทคโนโลยีชีวภาพกับอุตสาหกรรมเกษตร (ตอน ที่ 3) จาร์พา 52 (มกราคม - กุมภาพันธ์) : หน้า 28-29 7. Leelawatcharamas V. 1996. Nickel resistance plasmid in lactic acid bacteria isolated from Thai ermented fruit and f vegetables. Abst. Fifth Symposium Lactic Acid Bacteria. Veldhoven, The Netherlands. Sept. 8-12, 1996. E2 8. Leelawatcharamas V., Chia L.G., Charoenchai P., Kunajakr N, Liu C. Q and Dunn N.W. 1997.Plasmid-encoded copper resistance in Lactococcus lactis. Biotechnol. Lett. 19(7) : 639-643. 9. Liu C.-Q., Leelawatcharamas V., Harvey M. and Dunn N.W. 1996. Cloning vectors for lactococci based on a plasmid encoding resistance to cadmium. Cur. Microbiol. 33 : 35-39. 10. ชื่อเรื่อง อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมใน ประเทศไทย (Genetically Modified Food in Thailand) สุคุณ คุณ ะวเสน ผู้ประสานงานกลุมความปลอดภัยทางชีวภาพ ่ ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ (ยุค 20 ปี35) หนังสือ ชีว ปริทรรศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545 10. สุคุณ คุณะวเสน. อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมใน ประเทศไทย (Genetically Modified Food in Thailand). ใน; ทัศนีย์ อนมาน บรรณาธิการ. ชีวปริทรรศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม- กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545 หน้า 24- 27. 11. เพ็ญพิชญา เตียว. แม้มะละกอ GMO ชะงัก แต่พืชอีก 8 ชนิดยัง เดินหน้าวิจยต่อ. หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ วันที่ 20 กันยายน 2547; ั