SlideShare a Scribd company logo
1 of 124
Download to read offline
การศึกษา
ผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3
นางสุมาลิน ทองเจือ
ครู คศ.3
โรงเรียนบานบางจัน อําเภอตะกั่วทุง
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
หลักสูตรการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู
รหัสนักศึกษา 491003000007 ภาคใต จังหวัดพังงา
ข
ชื่องานวิจัย การศึกษาผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร
รร (ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3
ชื่อนักศึกษา นางสุมาลิน ทองเจือ
ชื่อโรงเรียน / สถานศึกษา โรงเรียนบานบางจัน
ชื่ออาจารยที่ปรึกษา นางสาวนวลจิต ถิรพัฒนพันธ
ปที่ทําการวิจัย 2550
บทคัดยอ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียน
คําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝกการ
อานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน โดย สมมุติฐานการวิจัย คือ (1) แบบฝกการอาน
และเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ 80 / 80 (2) ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนดานการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบันของนักเรียนสูงขึ้นหลังการใช
แบบฝก (3) นักเรียนมีความพึงพอใจตอแบบฝกที่ใชในระดับเฉลี่ยมากขึ้นไป ประชากร เปน
นักเรียนโรงเรียนบานบางจัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 8
คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก (1) แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร
หัน) และ บัน (2) คูมือการใชแบบฝกฯ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและ
หลังเรียน (4) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน)
และ บัน สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คา t – test
ผลการศึกษาพบวา
1. แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มี
คะแนนแบบฝกระหวางเรียนมีคาเฉลี่ยรอยละ 91.54 สวนคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนมีคาเฉลี่ย
รอยละ 82.50 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกเลมนี้เทากับ 91.54 / 82.50 สูงกวาเกณฑ
ที่ตั้งไว
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังใชแบบฝกสูงกวากอนใชแบบฝก มีคาเฉลี่ย
ของคะแนนกอนเรียนเทากับ 6 คาเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียนมีคาเทากับ 8.25 ผลการทดสอบ
ค
ความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนสรุปวา
คะแนนการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนรูดวยแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร
(ร หัน) และบัน ชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
เปนไปตามสมมุติฐาน
3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน)
และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ยเทากับ 4.72
ง
กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไดรับความอนุเคราะหชวยเหลือและใหคําแนะนําอยางดียิ่งจาก นางสาว
นวลจิต ถิรพัฒนพันธ ศึกษานิเทศกสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษา
ประจําหลักสูตรการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู (ภาคใต) ผูวิจัยขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้
ประโยชนและคุณคาของงานวิจัยในชั้นเรียนเลมนี้ คงเปนประโยชนแกผูรวมวิชาชีพ
ครูและผูสนใจที่จะรวมกันพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา อันจะชวย
พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพสูงสุดตอไป
สุมาลิน ทองเจือ
มีนาคม 2550
จ
สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 1 แสดงผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกฯ 49
ตารางที่ 2 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียน
และหลังเรียน 50
ตารางที่ 3 แสดงผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝก 51
ฉ
สารบัญภาพ
หนา
แผนภาพที่ 2.1 แสดงกรอบแนวคิดและทฤษฎีในการศึกษา 35
แผนภาพที่ 3.1 แสดงขั้นตอนการสรางและทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝก 40
แผนภาพที่ 3.2 แสดงขั้นตอนการสรางแผนการเรียนรู 42
แผนภาพที่ 3.3 แสดงขั้นตอนการสรางแบบทดสอบ 43
แผนภาพที่ 3.4 แสดงขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม 45
แผนภาพที่ 3.5 แสดงการวิเคราะหเครื่องมือและสถิติที่ใช 48
ช
สารบัญ
หนา
บทคัดยอ ข
กิตติกรรมประกาศ ง
สารบัญตาราง จ
สารบัญภาพ ฉ
บทที่ 1 บทนํา 1
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1
วัตถุประสงคของการวิจัย 3
สมมุติฐานของการวิจัย 3
ขอบเขตของการวิจัย 3
นิยามคําศัพท 4
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5
บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ 6
แนวคิดเกี่ยวกับการอาน 7
แนวคิดเกี่ยวกับการเขียน 14
ความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน 21
แนวคิดเกี่ยวกับแบบฝก 22
เอกสารที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ 31
งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการอาน การเขียนภาษาไทยและแบบฝก 32
บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย 36
ประชากรและกลุมตัวอยาง 36
รูปแบบการวิจัย 36
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 37
การเก็บรวบรวมขอมูล 45
การวิเคราะหขอมูล 45
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 49
การวิเคราะหประสิทธิภาพของแบบฝกฯ 49
การวิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฯ 50
ซ
การวิเคราะหผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการใชแบบฝกฯ 51
บทที่ 5 สรุปการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 52
สรุปการวิจัย 52
อภิปรายผล 54
ขอเสนอแนะ 55
บรรณานุกรม 57
ภาคผนวก 62
1 เครื่องมือที่เปนนวัตกรรม 62
2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 104
3 ตารางแสดงคะแนน 113
ประวัติผูวิจัย 116
ฌ
บทที่ 1
บทนํา
1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 มาตราที่ 22กําหนดแนวทางในการจัดการ
เรียนการสอนไววา“ การจัดการศึกษาตองยึดหลัก ผูเรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรูและ
พัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญ ” ( กระทรวงศึกษาธิการ 2544: 21 ) กระบวนการ
เรียนรูที่เนนผูเรียนสําคัญที่สุด จึงเปนจุดมุงหมายในการศึกษาเพื่อมุงพัฒนาคนและชีวิตใหเกิด
ประสบการณการเรียนรูเต็มความสามารถ สอดคลองกับความถนัด ความสนใจและความตองการ
ของผูเรียน
ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน การเรียนรูภาษาไทยซึ่งเปนทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการ
เรียนรูของผูเรียนที่จะตองไดรับการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ เพราะเปนวิชาพื้นฐานในการเชื่อมโยง
สูการเรียนรูในสาระการเรียนรูอื่นๆ หากผูเรียนมีพัฒนาการดานภาษาไทยออน จะสงผลกระทบตอ
กลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ ไปดวย ดังนั้นการพัฒนาทักษะการเรียนรูดานภาษาไทยจึงมีความจําเปน
อยางยิ่ง กระแสความหวงใยของคนไทยเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาไทยและการใชภาษาไทยได
ปรากฏผลอยูเนื่องๆ โดยพบวา ผูเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปที่ 6 บางคนยังอานหนังสือไมออก
เขียนไมได ใชคําเขียนผิดความหมาย ผูเรียนในระดับมัธยมศึกษาบางคน มีปญหาเรื่องความเขาใจ
การอานและความออนดอยเรื่องการเขียน มีความสามารถทางภาษายังไมเพียงพอที่จะกาวไปสู
การศึกษาในชั้นที่สูงขึ้น กอใหเกิดปญหาในการเรียนรู ความจําเปนในการพัฒนาผูเรียนตั้งแต
ระดับชั้นประถมศึกษาโดยเฉพาะระดับชวงชั้นที่ 1 (ป.1-3 ) จึงเปนการสรางความเขมแข็งทาง
ภาษาไทยใหแกผูเรียนเพื่อใหสามารถใชภาษาเปนเครื่องมือในการเรียนรู และพัฒนาตนเองไดอยาง
มีประสิทธิภาพ เพื่อเปนการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในระหวางเรียนใหแกผูเรียน การฝกใหผูเรียนได
เรียนรูซ้ําๆ หลายครั้ง ทั้งการฝกดวยตนเองหรือใหครูผูสอนคอยฝกฝนอยางตอเนื่อง จึงเปน
สิ่งจําเปนและควรทําทันทีที่พบวาผูเรียนมีปญหาในการเรียนเนื้อหายอยๆ ในแตละเรื่อง หากปลอย
ไวตอนเนื้อหารวมหรือเนื้อหาใหญๆก็จะยิ่งสะสมปญหามากขึ้น ผูเรียนจะเกิดความเบื่อหนาย
ทอถอยและมีเจตคติที่ไมดีตอวิชาภาษาไทยในอนาคต
ญ
การใชวิธีการสอนแบบเดิมๆ ไมมีสื่อในการเรียน สื่อไมเราความสนใจ ขาดแรงจูงใจ
ครูผูสอนมักจะนําเอาหนังสือ หรือแบบฝกหัดที่มีอยูทั่วๆ ไปมาเปนคูมือการสอนโดยไมได
วิเคราะหถึงความเหมาะสม ซึ่งบางอยางก็ใชได แตบางอยางไมสอดคลองกับสภาพและปญหาของ
นักเรียน เชน ยากเกินไปหรืองายเกินไป หากครูผูสอนสรางแบบฝกการอานและการเขียนขึ้นมาใช
เอง โดยสรางจากสภาพปญหาที่เกิดจากการเรียนรูของนักเรียน นาจะมีผลดีกวาการใชแบบฝกที่คน
อื่นสรางให เกี่ยวกับเรื่องนี้กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2536: คํานํา) ไดใหขอเสนอแนะ
ไววา “ การจัดทําแบบฝกหัดเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษานั้น ครูอาจคิดเพิ่มเติมขึ้นเองและทํา
แบบฝกหัดเพิ่มเติมได” การที่นักเรียนไดเรียนเรื่องการอานและเขียนคําซึ่งเปนปญหาการเรียนรู
ของผูเรียนจากแบบฝกหัดบอยๆ จะทําใหนักเรียนจดจําสามารถอานและเขียนคําเหลานั้นไดถูกตอง
และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก็จะดีขึ้น ซึ่งสอดคลองกับสุรางค จันทนเอม (2514: 30) ที่ไดกลาว
ไววา “การที่มีแบบฝกหัดชวยใหผูเรียนไดฝกซ้ํา และการทบทวนในสิ่งที่ฝกซ้ําอยูเสมอนั้นจะทํา
ใหนักเรียนจดจําในเรื่องที่เรียนได...” และกรรณิการ ศุกรเวทยศิริ (2533: 2) ที่กลาววา
“แบบฝกหัดเปนสื่อการเรียนอยางหนึ่ง ครูสามารถนําไปใชประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได”
จากการทดสอบหลักเกณฑทางภาษากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ดานการอานและเขียน
คําของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานบางจัน ปรากฏผลไมนาพึงพอใจ โดยเฉพาะ
ทักษะการอานและการเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน นักเรียนสวนใหญเขียนคําที่ใช บรร
รร(ร หัน) และ บัน ผิด ทําใหความหมายของคําผิดไป เนื่องจากไมไดรับการฝกฝนอยางตอเนื่อง
ขาดสื่อในการฝกเฉพาะเรื่อง จึงสงผลใหนักเรียนไมเขาใจหลักการอานและการเขียนรวมทั้งการนํา
คําไปใชใหตรงกับรูปประโยคและความหมาย ผูสอนเห็นวาจําเปนตองแกไขอยางเรงดวน
จากที่กลาวมาสรุปไดวา การอานและการเขียนคําตางๆ ตามหลักเกณฑทางภาษาที่ถูกตอง
มีความสําคัญเปนพื้นฐานในการเรียนภาษาและเรียนวิชาอื่นๆ ถาเด็กมีทักษะการอานและการเขียน
ดียอมทําใหผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาไทยดีไปดวย ครูจะตองฝกการอานและการเขียนตาม
หลักเกณฑทางภาษาที่ถูกตองใหแกเด็กอยางถูกวิธี โดยพยายามหาวิธีสอนและจัดกิจกรรมให
เหมาะสมกับนักเรียนแตละระดับ ควรจัดกิจกรรมในการสอนการอานและการเขียนคําใหเกิด
ความรูและสนุกสนาน การฝกอยางถูกวิธีเทานั้นที่จะทําใหเด็กเกิดความชํานาญคลองแคลววองไว
และการฝกที่ดีนั้นจะตองมีสื่อคือ แบบฝกที่มีคุณภาพ ดังนั้นผูวิจัยจึงสรางแบบฝกการอานและ
เขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ชั้นประถมศึกษาปที่3 ขึ้นใชฝกกับนักเรียนที่มีปญหาในเรื่อง
ดังกลาว ซึ่งผลที่ไดนั้นจะเปนแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน เพื่อแกปญหาที่นักเรียน
อานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ไมถูกตองใหไดผลดียิ่งขึ้น และยังสงผลใหคุณภาพ
ผลสัมฤทธิ์ดานทักษะภาษาไทยของนักเรียนดีขึ้นกวาเดิม
ฎ
2. วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน)
และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร
รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3
3. สมมติฐานการวิจัย
1. แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร( ร หัน) และ บัน มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ 80 / 80
2. ทักษะการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบันของนักเรียนสูงขึ้นหลังการ
ใช แบบฝก
3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอแบบฝกที่ใชในระดับเฉลี่ยตั้งแตมากขึ้นไป
4. ขอบเขตการวิจัย
4.1 รูปแบบการวิจัย เปนการวิจัยเชิงทดลอง
4.2 ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
4.2.1 ตัวแปรตน คือ การจัดการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกการอานและเขียน
คําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3
4.2.2 ตัวแปรตาม คือ
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน)
และ บัน ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3
ฏ
- ความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอแบบฝก
4.3 ประชากร เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานบางจัน
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549จํานวน 8 คน
4.4 ขอบขายเนื้อหา เรื่องการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บันสําหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่3
4.5 เครื่องมือในการวิจัย ประกอบดวย
1) แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ชั้นประถมศึกษา
ปที่ 3
2) แผนการจัดการเรียนรู( คูมือการใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร
รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3) จํานวน 5 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง
3) แบบทดสอบกอนและหลังเรียน (ใชแบบทดสอบฉบับเดียวกัน จํานวน 10ขอ)
4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช
บรร รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3
5. นิยามคําศัพท
แบบฝก หมายถึง แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ซึ่งมีองคประกอบ ดังนี้ วัตถุประสงค แบบทดสอบกอนเรียน ใบความรู
แบบฝกการอาน แบบฝกการเขียน แบบทดสอบหลังเรียน
ประสิทธิภาพของแบบฝก ตามเกณฑ 80 / 80 หมายถึง นักเรียนทําแบบฝกในระหวาง
เรียนไดคะแนนอยูในระดับ 80 % และหลังการใชแบบฝกในการพัฒนา นักเรียนมีคะแนนผลการ
ทดสอบหลังเรียนไดคะแนนอยูในระดับ 80 %
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผูเรียนมีความรูความเขาใจในการอานและเขียนคําที่ใช
บรร รร (ร หัน) และ บัน วัดเปนคะแนน โดยใชแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอาน
และเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน
ความพึงพอใจของผูเรียน หมายถึง ความชื่นชอบ / ชื่นชม ความรูสึกที่มีความสุขในการ
เรียนรูเมื่อไดใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ความนาสนใจ เนื้อหา
สาระทําใหผูเรียนมีความรูเพิ่มขึ้น ซึ่งแปลผลจากระดับเฉลี่ย จากแบบสอบถามความพึงพอใจ
ฐ
6. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
6.1 ชวยพัฒนานักเรียนใหมีความรูความเขาใจ มีทักษะในการอานและเขียนคําที่ใช
บรร รร(ร หัน) และบัน
6.2 เปนแนวทางในการพัฒนาการสอนเพื่อใชแกปญหาการเรียนรูใหกับผูเรียนใน
เนื้อหาตางๆ ของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
6.3 เปนแนวทางในการพัฒนาการสอนใหผูเรียนไดรับการแกปญหาที่ถูกทาง และ
เพิ่มทักษะเฉพาะดานที่เปนปญหาของผูเรียนใหสูงขึ้น
6.4 เพื่อเปนแนวทางสําหรับประยุกตใชในวิชาอื่น ๆ
6.5 เพื่อเปนแนวทางสําหรับการวิจัยครั้งตอไป
ฑ
บทที่ 2
วรรณกรรมที่เกี่ยวของ
การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดตรวจสอบเอกสารวรรณกรรมที่เกี่ยวของ และกรอบความคิด
ทฤษฎีอันเปนพื้นฐานในการดําเนินการวิจัย ดังนี้
1. แนวคิดเกี่ยวกับการอาน
1.1 ความหมายของการอาน
1.2 จุดมุงหมายของการอาน
1.3 จุดมุงหมายในการสอนอานของนักเรียน
1.4 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการอาน
1.5 ความสําคัญของการอาน
1.6 ประโยชนของการอาน
2. แนวคิดเกี่ยวกับการเขียน
2.1 ความหมายของการเขียน
2.2 จุดมุงหมายของการสอนเขียนของนักเรียน
2.3 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการเขียน
2.4 ความสําคัญและประโยชนของการเขียน
3. ความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน
4. แนวคิดเกี่ยวกับการฝก
4.1 ความหมายและความสําคัญของแบบฝกหรือแบบฝกหัด
4.2 ประโยชนของแบบฝก
4.3 จิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางแบบฝก
4.4 ลักษณะของแบบฝกที่ดี
4.5 แนวทางการพัฒนาแบบฝก
4.5.1 สวนประกอบของแบบฝกหรือแบบฝกหัด
4.5.2 รูปแบบของการสรางแบบฝก
4.5.3 ขั้นตอนในการสรางแบบฝก
5. เอกสารที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ
6. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการอาน การเขียนภาษาไทยและแบบฝก
ฒ
1. แนวคิดเกี่ยวกับการอาน
1.1 ความหมายของการอาน
การอานเปนทักษะหนึ่งที่มีความสําคัญในการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทย
นักวิชาการหรือนักการศึกษา และนักจิตวิทยาหลายทาน ไดใหความหมายของการอานไว
หลากหลายความหมาย ดังตอไปนี้
อัญชัญ เผาพัฒน (2534: 10) ไดใหความหมายการอานไววา การอานคือการ
แปลความของสัญลักษณที่ใชแทนคําพูดใหไดความหมายอยางสมบูรณ โดยอาศัยประสบการณเดิม
ของผูอานเขาชวยแปล และรวบรวมความคิดเขาดวยกันจนเกิดภาพในสิ่งที่อานชัดเจน ที่เราเรียกวา
มโนภาพ แตบางครั้งความรูที่ไดรับของแตละคนอาจจะไดไมเทากัน ทั้งนี้เนื่องจากความแตกตาง
ระหวางบุคคล
แมนมาส ชวลิต (2534 : 232) ไดใหความหมายการอานวา “การอานคือ การ
ใชศักยภาพของสมองเพื่อรับรู แปลความหมายและเขาใจปรากฎการณขอมูล ขาวสาร เรื่องราว
ประสบการณ ความคิด ความรูสึกและจินตนาการตลอดจนสาระอื่นๆ ซึ่งมีผูแสดงออกโดยใช
สัญลักษณที่เปนลายลักษณที่มนุษยประดิษฐขึ้นเพื่อการสื่อสาร การอานเปนทักษะพื้นฐาน ซึ่งตอง
เรียนเชนเดียวกับทักษะพื้นฐานอื่นๆ การเรียนรูเทานั้นไมเพียงพอตองฝกฝนหรือพัฒนาระดับ
ความสามารถใหเพิ่มขึ้นอยูเสมอ ใหสามารถอานเนื้อหาซึ่งยากและซับซอน ใหเขาใจและนํามาใช
การได ใหมีนิสัยรักการอานรูจักวิเคราะหและเลือกสิ่งที่อานไดอยางมีประสิทธิภาพ”
ศศิธร อินตุน (2535 : 12) กลาววาการอาน ไมใชเพียงสะกดถูกเทานั้นหากยัง
ตองสามารถวินิจฉัยพิจารณาความหมายที่ไดจากการอานนั้นไดอยางลึกซึ่งและแตกฉานเกิดความรู
ความคิด และสามารถนําเอาความคิดจากการอานไปใชในชีวิตประจําวันได
นภดล จันทรเพ็ญ (2535: 73) กลาววา การอานเปนการแปลความหมายของ
ตัวอักษร เครื่องหมายสัญลักษณ เครื่องสื่อความหมายตางๆ ที่ปรากฏแกตาออกมาเปนความคิด
ความเขาใจเชิงสื่อสาร แลวผูอานสามารถนําความคิด ความเขาใจนั้นไปใชประโยชนไดตอไป
ศรีรัตน เจิงกลิ่นจันทร (2544: 3) ไดใหความหมายการอานวา “การอานมิใชแต
เพียงการอานออกเสียงตามตัวอักษรอยางเดียว การอานเปนกระบวนการถายทอดความหมายจาก
ตัวอักษรออกมาเปนความคิด และจากความคิดที่ไดจากการอานผสานกับประสบการณเดิมที่มีอยู
เปนเครื่องชวยพิจารณาตัดสินใจนําแนวคิดที่ไดจากการอานไปใชประโยชนตอไป”
จากการศึกษาความหมายของการอาน สรุปไดวา การอานคือ การใชศักยภาพ
ของสมองเพื่อรับรู แปลความหมายและเขาใจปรากฏการณ ขอมูล ขาวสาร เรื่องราว ประสบการณ
ณ
ความคิด ความรูสึก จินตนาการตลอดจนสาระอื่นๆ และเปนทักษะพื้นฐาน ซึ่งตองเรียน
เชนเดียวกับทักษะพื้นฐานอื่นๆ การเรียนรูการอานไมใชเปนการอานออกเสียงตามตัวอักษรอยาง
เดียวไมเพียงพอตองฝกฝนหรือพัฒนาระดับความสามารถใหเพิ่มขึ้นอยูเสมอ ใหสามารถอาน
เนื้อหาซึ่งยากและซับซอน ใหเขาใจและนํามาใชการได ใหมีนิสัยรักการอานรูจักวิเคราะหและ
เลือกสิ่งที่อานไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงจะสามารถแปลความหมายจากตัวอักษรหรือภาพใหเปน
เรื่องราวเปนแนวคิด โดยผสานกับประสบการณเดิมที่มีอยู ในการแปลความหมายของตัวอักษร
และสัญลักษณถายทอดออกมาเปนคําพูด และสื่อความหมายไดถูกตองตามจุดหมายของผูเขียนที่
ใชตัวอักษรหรือภาพเปนสื่อกลางในการถายทอดการเรียนรูใหแกผูเรียน
1.2 จุดมุงหมายของการอาน
การอานเปนทักษะที่จําเปนในการดํารงชีวิต ชวยทําใหเกิดความงอกงามทาง
สติปญญาเปนวิธีการหนึ่งที่มนุษยใชศึกษาหาความรูใหแกตนเองตลอดมา การอานมีจุดมุงหมายที่
แตกตางกัน เชน อานเพื่อพัฒนาสติปญญา อานเพื่อพัฒนาความคิด และเพิ่มพูนประสบการณ
นอกเหนือความบันเทิงทางอารมณที่ไดรับนักการศึกษาหลายๆ ทานไดใหความคิดเห็นตอ
จุดมุงหมายของการอาน ไวดังนี้
กัลยา ยวนมาลัย (2539: 12) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานออกเปน 4
ประเภทดังนี้
1. อานเพื่อความรู เปนการอานเพื่อตองการรูในสิ่งที่ผูอานพบปญหา หรือ
ตองการใหความรูงอกเงย
2. อานเพื่อใหเกิดความคิด เปนการอานสิ่งพิมพที่แสดงทรรศนะ ซึ่งไดแก
บทความ บทวิจารณ วิจัยตางๆ
3. อานเพื่อความบันเทิง เปนการอานที่ชวยใหเกิดความบันเทิงควบคูไปกับการ
คิด
4. อานเพื่อตอบสนองความตองการอื่นๆ เปนการอานที่ตองชดเชยความตองการ
ที่ยังขาดอยู เชน เมื่อเกิดความรูสึกเบื่อ ไมสบาย เปนตน
วรรณี โสมประยูร (2542: 127) ไดตั้งจุดมุงหมายในการอานดังนี้
1. การอานเพื่อคนควาหาความรูเพิ่มเติม
2. การอานเพื่อความบันเทิง
3. การอานเพื่อใชเวลาวางใหเปนประโยชน
4. การอานเพื่อหารายละเอียดของเรื่อง
ด
5. การอานเพื่อวิเคราะหวิจารณจากขอมูลที่ได
6. การอานเพื่อหาประเด็นวาสวนไหนเปนขอเท็จจริง สวนใดเปนจริง
7. การอานเพื่อจับใจความสําคัญของเรื่องที่อาน
8. การอานเพื่อปฏิบัติตาม
9. การอานเพื่อออกเสียงใหถูกตองชัดเจน มีน้ําเสียงเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
ยุพิน จันทรเรือง (2544: 43) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานดังนี้
1. อานเพื่อความรู
2. อานเพื่อความคิด
3. อานเพื่อความบันเทิง
ศรีรัตน เจิ่งกลิ่นจันทร (2544: 7-8) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานไดดังนี้
1. อานเพื่อความรู
2. อานเพื่อใหเกิดความคิด
3. อานเพื่อความเพลิดเพลิน
4. อานเพื่อความจรรโลงใจ
5. อานเพื่อสนองความตองการอื่นๆ
ดังนั้นจึงสรุปไดวา จุดมุงหมายของการอานทั่วไปถาจะจําแนกประเภทใหญๆ ได
2 ประเภท คืออานเพื่อความรู และอานเพื่อความบันเทิง โดยการอานทั้ง 2 ประเภทเปนการอาน
ที่สรางความรูความคิดผูอานสามารถนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา และสรางทางเลือกในการดําเนิน
ชีวิตตลอดจนเปนการฝกใหมีนิสัยรักการอาน
1.3 จุดมุงหมายในการสอนอานของนักเรียน
หลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2546 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชวงชั้น
ที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไดกําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปและสาระการเรียนรูรายป
เกี่ยวกับการอานของชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ดังนี้
สาระที่ 1 การอาน
มาตรฐาน 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรู และความคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสราง
วิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. อานไดถูกตองตามหลักการอาน
2. อานไดถูกตองคลองแคลว
ต
3. เขาใจความหมายของคําและขอความที่อาน
4. เขาใจความสําคัญและรายละเอียดของเรื่อง
5. หาคําสําคัญของเรื่องได
6. ใชแผนภาพโครงเรื่อง หรือแผนภาพความคิดเปนเครื่องมือพัฒนาความเขาใจ
7. รูจักใชคําถามจากเรื่องที่อานกําหนดแนวทางปฏิบัติได
8. สามารถอานในใจและอานออกเสียงบทรอยกรองและรอยแกวที่ยากขึ้นได
รวดเร็วตามลักษณะคําประพันธและอักขรวิธีได
9. จําบทรอยกรองที่ไพเราะได
10. เลือกอานหนังสือที่เปนประโยชนได
11. มีมารยาทในการอาน
12. มีนิสัยรักการอาน
สาระการเรียนรู
1. การอานคําพื้นฐานซึ่งเปนคําที่ใชในชีวิตประจําวัน และรวมคําที่ใชเรียนรูใน
กลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ
2. การอานแจกลูกและสะกดคําในมาตราแม ก กา แมกง กน กม เกย เกอว กก
กด และแมกบทั้งคําที่สะกดตรงตามมาตราตัวสะกด และคําที่สะกดไมตรงตามมาตราตัวสะกด คํา
ที่มีตัวการันต ตัวอักษรควบ อักษรนําคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และบัน
3. การผันวรรณยุกต คําที่มีพยัญชนะตน เปนอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ํา
4. การอานและเขาใจความหมายของคําในประโยคและขอความ
5. การอานในใจ การจับใจความของเรื่องที่อาน โดยหาคําสําคัญตั้งคําถาม
คาดคะเนเหตุการณที่ใชแผนภาพโครงเรื่อง หรือแผนความคิด
6. การแสดงความรู และความคิดตอเรื่องที่อาน
7. การนําความรูและขอคิดที่ไดรับจากการอานไปใชในชีวิตประจําวัน
8. การอานออกเสียงรอยแกว และรอยกรองถูกตองตามอักขรวิธีและลักษณะคํา
ประพันธและการอานทํานองเสนาะ
9. การทองจําบทอาขยานและบทรอยกรอง
สรุปไดวา จุดมุงหมายในการสอนอานมี 3 ประการหลัก คือ
1. มุงพัฒนาศัพทใหมๆ โดยใหนักเรียนอานและเขียนคําใหถูกตอง
2. มุงใหนักเรียนมีความเขาใจเรื่องที่อาน สามารถเรียงลําดับเหตุการณ เลาเรื่อง
ใหผูอานเขาใจได
ถ
3. มุงใหนักเรียนอานเพื่อฝกคิดอยางมีวิจารณญาน นําผลการอานไปใชใน
ชีวิตประจําวันได
1.4 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการอาน
การอาน เปนทักษะที่จําเปนสําหรับมนุษยที่ใชเปนเครื่องมือในการแสวงหา
ความรูสิ่งตางๆ เปนทักษะที่มีความสําคัญซึ่ง นักการศึกษา ผูที่มีสวนเกี่ยวของไดกลาวไว ดังนี้
บันลือ พฤกษะวัน (2534: 7) กลาววา ทักษะการอานนั้นเปนงานที่ยิ่งใหญใน
การจัดการเรียนการสอน และเปนพื้นฐานที่สําคัญแกการเรียนรูสรรพวิทยาการทั้งปวง
องคประกอบที่จะชวยใหเกิดความพรอมในการอาน ควรพิจารณาดังนี้
1. ความพรอมทางกาย
2. ความพรอมทางจิตใจหรือสติปญญา
3. ความพรอมทางอารมณ– สังคม
4. ความพรอมทางจิตวิทยา
5. ความพรอมทางพื้นฐานประสบการณ อันเกิดจากการเลี้ยงดูจากทางบานและ
สภาพแวดลอม
กัลยา ยวนมาลัย (2539 : 31) ไดกลาวถึงองคประกอบสําคัญที่มีผลตอการเรียนรู
จากการอาน ซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยเบื้องตนในตัวผูอานดังนี้
1. ประสบการณของผูอานในเรื่องที่อาน
2. ความสามารถดานภาษา คือรูคําศัพท ถอยคํา สํานวน โวหาร และ
ความหมายตางๆ
3. ความสามารถในการคิด
4. ความสนใจและความเชื่อ
5. จุดประสงคในการอาน
สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย (2539 : 5) กลาววาองคประกอบที่สําคัญเกี่ยวกับการ
อานมีอยู 3 ดาน คือ
1. ดานสังคม หมายถึง สิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวนักเรียน ในการสอนครูควรนํา
เรื่องที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมและความเปนอยูของนักเรียนในทองถิ่นนั้นๆ มาจัดทําเปนหนังสือ
แบบเรียน หรือหนังสืออานประกอบ
2. ดานความพรอม หมายถึง ความพรอมทางดานรางกาย อารมณ และ
สติปญญาที่สามารถเริ่มอานได
ท
3. ดานโรงเรียน โรงเรียนเปนสถานที่สําคัญในการจัดบรรยากาศหรือกิจกรรมให
ตอบสนองกับความตองการของนักเรียน โดยเฉพาะการปลูกฝงใหมีทัศนคติที่ดีตอการอานและ
การรักการอาน
วรรณี โสมประยูร (2542 : 122) ไดกลาวถึงองคประกอบที่สําคัญในการอาน
ของเด็กสรุปไดดังนี้
1. ทางดานรางกาย เชน สายตา ปาก และหู
2. ทางดานจิตใจ เชน ความตองการ ความสนใจ และความศรัทธา
3. ทางดานสติปญญา เชน การรับรู การนําประสบการณเดิมมาใช การใชภาษา
ใหถูกตอง และความสามารถในการเรียน
4. ทางดานประสบการณพื้นฐาน
5. ดานวุฒิภาวะ อารมณ แรงจูงใจ และบุคลิกภาพ
6. ดานสิ่งแวดลอม
ศรีรัตน เจิ่งกลิ่นจันทร (2544: 15) กลาววาองคประกอบที่สําคัญที่จะชวยใหเกิด
ความพรอมในการอานขึ้นอยูกับองคประกอบ 4 ดาน คือ
1. ดานสมอง
2. ดานรางกาย
3. ดานอารมณและสังคม
4. ดานประสบการณและอื่นๆ
สรุปไดวา เด็กที่จะสามารถอานหนังสือและมีทักษะในการอานที่ดี ตองมี
องคประกอบในดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม และประสบการณในการอานพรอม
ทุกดาน เด็กจึงจะประสบผลสําเร็จในการอาน
1.5 ความสําคัญของการอาน
ทักษะการอาน เปนทักษะที่มนุษยใชเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูสิ่งตางๆ
โดยมีจุดมุงหมายหลัก 2 ประเด็นใหญๆ คือ อานเพื่อความรู และอานเพื่อความบันเทิง
ความสําคัญของการอานจะนอย หรือมากเพียงใด ยอมขึ้นอยูกับจุดมุงหมายในการอานแตละครั้ง
ดังที่นักการศึกษาหลายๆ ไดกลาวถึงความสําคัญ ดังนี้
ชุติมา สัจจานนท (2525: 9 อางใน ดวงคิด ดวงภักดิ์ 2539 : 13) กลาวถึง
ความสําคัญในการอานไววา“การอานทําใหผูอานไดรับความรูเพิ่มขึ้น พัฒนาความคิด และชวย
ปรับปรุงบุคลิกภาพ นอกจากนี้ยังทําใหเกิดความกาวหนาในอาชีพชวยแกปญหา ใชเวลาวางใหเกิด
ธ
ประโยชนเกิดความจรรโลงใจไดคติธรรมจากเรื่องที่อานไดพักผอนและไดรับความเพลิดเพลิน ทัน
ตอเหตุการณสนองความพอใจสวนตัว สงเสริมความสนใจทางวิชาการและอาชีพ”
ศิริพร ลิมตระการ (2539: 6) ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานสรุปไดดังนี้
1. การอานหนังสือทําใหไดเนื้อหาสาระความรูมากกวาการศึกษาหาความรูดวยวิธี
อื่น เชน การฟง
2. ผูอานสามารถอานหนังสือไดโดยไมจัดเวลาและสถานที่
3. หนังสือเก็บไวไดนานกวาอยางอื่น
4. ผูอานสามารถฝกการคิดและจินตนาการไดเองในการอาน
5. การอานสงเสริมใหสมองดีและมีสมาธินาน
6. ผูอานเปนผูกําหนดการอานไดดวยตนเองวาจะอานคราวๆ อานละเอียด หรือ
อานทุกตัวอักษรก็ได
7. หนังสือมีหลายรูปแบบและราคาถูก
8. ผูอานเกิดความคิดเห็นไดดวยตัวเองในการอาน
9. ผูรักการอานจะรูสึกมีความสุข เมื่อไดสัมผัสหนังสือ
สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย (2539: 1) ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานวา“การ
อานเปนเครื่องมือสําคัญในการเสาะแสวงหาความรู การรูและใชวิธีการอานที่ถูกตองจึงเปน
สิ่งจําเปนสําหรับผูอานทุกคน การรูจักฝกฝนการอานอยางสม่ําเสมอจะชวยใหผูอานมีพื้นฐานใน
การอานที่ดี ทั้งจะชวยใหเกิดความชํานาญ และมีความรูกวางขวางดวย”
จากแนวคิดของนักศึกษาดังกลาว สรุปไดวาการอานมีความสําคัญตอมนุษยเปน
อยางมาก ใชเปนเครื่องมือในการศึกษาหาความรูดวยตนเอง ราคาถูก เก็บรักษางายและผูอาน
สามารถกําหนดวิธีการอานไดดวยตนเอง หากไดรับการฝกฝนการอานอยางสม่ําเสมอ ผูอานก็จะ
เปนผูที่มีความรูกวางขวาง พัฒนาความคิด ชวยแกปญหา มีความสามารถนําความรูที่ไดมาใชใน
การดําเนินชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพ
1.6 ประโยชนของการอาน
อัญชัญ เผาพัฒน (2534: 12) กลาวถึงประโยชนของการอานวา “การอานมี
ประโยชนมากมายหลายประการ ผูอานจะไดรับประโยชนจากการอานมากนอยเพียงใดจากการ
อานยอมขึ้นอยูกับความเขาใจของผูอานเปนสําคัญ กลาวคือ สามารถผสมผสานความรูเดิม
ประสบการณเดิมที่ไดรับเขากับความรูใหมที่ไดอานแลวขยายความรู ความจําใหไกลไปจากเดิม
น
อยางสมเหตุ สมผล ซึ่งความเขาใจดังกลาวจะแสดงออกดวยพฤติกรรม 3 ประการ คือ การแปล
ความ การตีความ และการขยายความ”
วรรณี โสมประยูร (2542: 121) กลาววาการอานมีประโยชนตอคนทุกเพศทุก
วัยและทุกสาขาอาชีพ ซึ่งอาจสรุปไดดังนี้
1. การอานมีประโยชนยิ่งในการศึกษาทุกระดับ
2. ในชีวิตประจําวันทั่วไป คนเราตองอาศัยการอานเพื่อติดตอสื่อสาร เพื่อทํา
ความเขาใจรวมกัน
3. การอานชวยใหบุคคลนําความรูและประสบการณจากสิ่งที่อานไปพัฒนาอาชีพ
ใหประสบผลสําเร็จ
4. การอานชวยสนองความตองการพื้นฐานของบุคคลในดานตางๆ
5. การอานทําใหเปนผูรอบรู เกิดความมั่นใจในการพูดปราศรัย
6. การอานชวยใหเกิดความเพลิดเพลิน รูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน
7. การคิดเรื่องราวในอดีต ทําใหอนุชนรูจักอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของคน
ไทยเอาไว และสามารถพัฒนาใหเจริญรุงเรืองตอไปได
สรุปไดวา การอานมีประโยชนตอคนทุกเพศทุกวัย การอานชวยใหผูอานไดรับ
ความรูเพิ่มขึ้น พัฒนาความคิด ชวยปรับปรุงบุคลิกภาพ และชวยใหประสบผลสําเร็จในการ
ดํารงชีวิตในทุกดาน ทั้งดานการเรียน การดูแลตนเอง การใชชีวิตในสังคมและการประกอบอาชีพ
2. แนวคิดเกี่ยวกับการเขียน
2.1 ความหมายของการเขียน
นภดล จันทรเพ็ญ (2535 : 91) ไดใหความหมายวาการเขียน คือ การแสดงออก
ในการติดตอสื่อสารอยางหนึ่งของมนุษยโดยอาศัยภาษาตัวอักษรเปนสื่อเพื่อถายทอดความรูสึกนึก
คิด ความตองการ และความในใจของเราใหกับผูอื่นทราบ การเขียนนี้มีลักษณะเปนการสื่อสารที่
ถาวรสามารถคงอยูนาน ตรวจสอบได เปนหลักฐานอางอิงนานนับพันนับหมื่นป ถามีการเก็บ
รักษาใหคงสภาพเดิมไวได
ศิริพร ลิมตระการ (2539: 18) ไดใหความหมายการเขียนวา การเขียนคือ
“กระบวนการแหงคิดในการแสดงออกเพื่อสื่อสารใหผูอื่นรับรู ในการเขียนมีองคประกอบตางๆ
เขามาเกี่ยวของคือ ไวยากรณ หรือโครงสรางทางภาษา ความเขาใจในการฟง การอาน หรือแมแต
การพูด”
บ
อวยพร พานิช (2539: 2) กลาววา การเขียน วาเปนการเรียบเรียงความคิดออกมา
เปนตัวสาร ผูเขียนตองเรียนรูกลวิธีในการเขียนเรื่องการใชคํา ประโยค และหลักภาษาตางๆ ทั้ง
ตองผานการฝกฝน เพื่อสื่อสารกับบุคคลระดับตางๆ และผานสื่อตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
ดนยา วงศธนะชัย (2542 : 24) กลาววา การเขียนวาหมายถึง การถายทอด
ความรู ประสบการณ ความคิด ความรูสึกหรือจินตนาการออกมาเปนตัวหนังสือ โดยวิธีการตางๆ
กัน
จากความหมายของการเขียนสรุปไดวา การเขียนเปนสิ่งสําคัญและจําเปนตอชีวิต
เพราะเปนเครื่องมืออันสําคัญที่จะบันทึก หรือถายทอดเรื่องราวตางๆ โดยใชตัวหนังสือและ
เครื่องหมายตางๆ เปนสัญลักษณ ถายทอดความรู ความคิด และประสบการณตางๆ ที่ไดรับ
ออกมาเปนอักษรเปนสัญลักษณ เพื่อใชเปนหลักฐาน หรือใหผูที่สนใจในการอานไดศึกษา และ
รับรูเรื่องราวที่ผูเขียนตองการใหทราบ สามารถใชขอมูลที่เขียนเปนหลักฐานอางอิงได
2.2 จุดมุงหมายของการสอนเขียนของนักเรียน
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สาระการเรียนรูภาษาไทย ชวงชั้น
ที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไดกําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังรายและสาระการเรียนรูรายป
เกี่ยวกับการเขียนของชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ดังนี้
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐานการเรียนรูที่ ท 1.2 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และ
เขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาได
อยางมีประสิทธิภาพ
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. เขียนคําที่ยากขึ้นไดถูกความหมาย
2. เขียนสะกดการันตถูกตอง
3. เขียนประโยค ขอความ เรื่องราว ความรูสึก ความตองการได
4. ใชกระบวนการเขียนพัฒนางานเขียนของตนเอง
5. มีมารยาทในการเขียน
6. มีนิสัยรักการเขียน
7. มีทักษะการเขียนบันทึกความรู ประสบการณเรื่องราวในชีวิตประจําวันสั้นๆ
สาระการเรียนรูรายป
1. เขียนคําไดถูกความหมายและสะกดการันตถูกตองใชความรูและประสบการณ
ป
เขียนประโยคขอความและเรื่องราวแสดงความคิด ความรูสึก และความตองการและจินตนาการ
รวม ทั้งใชกระบวนการเขียนพัฒนางานเขียน
2. มีมารยาทในการเขียน และนิสัยรักการเขียน และใชทักษะการเขียนจดบันทึก
ความรูประสบการณและเรื่องราวในชีวิตประจําวัน
เนื่องจากการเขียนมีความสําคัญตอบุคคลเปนอยางมาก ในการใชติดตอสื่อสาร
บันทึกระบายความรูสึก ถายทอดเรื่องราวในแตละยุคแตละสมัย ใหผูอาน หรือผูที่ตองการศึกษา
ไดรูถึงเรื่องราวตางๆ ดังนั้นการเขียนจึงมีจุดมุงหมายหลายอยางแตกตางกันไป ดังที่มีผูกลาวไว
ดังตอไปนี้
กัลยา ยวนมาลัย (2539 : 116) ไดแบงจุดมุงหมายของการเขียนตามลักษณะ
ตามวัตถุประสงคของผูเขียนดังนี้
1. เขียนเพื่อเลาเรื่อง คือนําเหตุการณหรือเรื่องราวตางๆ มาถายทอดออกมาดวย
การเขียน
2. เขียนเพื่ออธิบาย เพื่อใหผูอานเขาใจและปฏิบัติตาม
3. การเขียนเพื่อโฆษณา– จูงใจ คือการเขียนเพื่อใหผูอานเกิดความรูสึกคลอยตาม
4. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นในจุดใดจุดหนึ่ง เพื่อเปนเครื่องชวยในการ
ตัดสินใจ
5. เขียนเพื่อปลุกใจ เพื่อใหเกิดความมั่นคง หรือใหเกิดกําลังในการที่จะตอสูกับ
สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
6. การเขียนเพื่อสรางจินตนาการ การเขียนลักษณะนี้ตองใชถอยคําที่สละสลวย
ประณีตงดงาม หรือใชคําที่ชวนใหผูอานสรางจินตนาการ
7. การเขียนเพื่อลอเลียนหรือเสียดสี เขียนเพื่อตําหนิ หรือทักทวงแตใชวิธีการ
นุมนวล
เอกฉัท จาระเมธีธน (2539: 117) กลาววา จุดมุงหมายของการเขียน คือ การ
ถายทอดความรู ความตองการ ความรูสึกออกเปนตัวหนังสือใหผูอาน และเขาใจจุดประสงคของ
การเขียน การเขียนทุกครั้งตองคํานึงถึงผูอานเปนสําคัญวาผูอาน มีพื้นฐานความรู ความคิดอยางไร
ควรเขียนอยางไรจึงจะเกิดผลตามความประสงค ตอจากนั้นจึงกําหนดรูปแบบ วิธีการเขียน การ
ใชภาษาและเนื้อหาใหเหมาะสมกับผูอาน การเขียนจึงประสบความสําเร็จตามความตั้งใจ
อลิสา วานิชดี (2539: 44) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายของการเขียน ไวดังนี้
1. งานเขียนเชิงแสดงออก (Expressive) เชน บทสนทนา บันทึกสวนตัว คํา
ประกาศความเชื่อ คําประกาศอิสรภาพ และระเบียบขอตกลง
ผ
2. งานเขียนเชิงสํารวจใหขอมูล (Referential) เชน ขาว รายงาน สรุป สาระนุ
กรม ตําราวิชาการ
3. งานวรรณกรรม (Literary) เชน เรื่องสั้น นวนิยาย กวีนิพนธ ละคร รายการ
โทรทัศน ภาพยนตร
4. งานเขียนเชิงโนมนาวจิตใจ (Persuasive) เชนโฆษณา สุนทรพจนทาง
การเมือง บทบรรณาธิการ คําสั่งสอนทางศาสนา
ดนยา วงศธนะชัย (2542: 24) กลาววา การเขียน คือการถายทอดความรู
ประสบการณ ความคิด ความรูสึกหรือจินตนาการออกเปนตัวหนังสือ โดยวิธีการตางๆ กัน การ
จะใชวิธีการใดในการเขียนนั้นยอมแลวแตจุมุงหมายในการเขียน ดังนี้ คือ
1. การเขียนเพื่อเลาเรื่อง คือการเขียนเพื่อถายทอดเรื่องราว เหตุการณ
ประสบการณและความรู
2. การเขียนเพื่ออธิบาย คือการเขียนที่ทําใหผูอานเขาใจเรื่องที่เขียน
3. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น คือการเขียนเพื่อบอกความคิดเห็นของผูเขียน
เกี่ยวกับเรื่องราวตางๆ อาจประกอบดวยคําแนะนํา ขอคิด ขอเตือนใจ
4. การเขียนเพื่อโนมนาวและโฆษณา คือการเขียนที่มีจุดมุงหมายจะทําใหผูอาน
ยอมรับสิ่งที่ผูเขียนเสนอ
5. การเขียนเพื่อสรางจินตนาการ คือการเขียนเพื่อถายทอดอารมณและความรูสึก
สูผูอาน ใหผูอานสรางจินตนาการหรือสรางอารมณ และมโนภาพตามที่ผูเขียนตองการ
วรรณี โสมประยูร (2542: 139) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายในการเขียนหลายอยาง
ดังนี้
1. เพื่อคัดลายมือหรือเขียนใหถูกตองตามลักษณะตัวอักษร ใหเปนระเบียบ
ชัดเจนและอานเขาใจงาย
2. เพื่อเปนการฝกฝนทักษะการเรียนใหพัฒนางอกงามขึ้นตามควรแกวัย
3. เพื่อใหมีทักษะการเขียนสะกดคําถูกตองตามอักขรวิธี เขียนวรรคตอนถูกตอง
และเขียนไดรวดเร็ว
4. เพื่อใหรูจักเลือกภาษาเขียนที่ดี มีคุณภาพเหมาะสมกับบุคคลและโอกาส
5. เพื่อใหสามารถรวบรวมและลําดับความคิด แลวบันทึก สรุป และยอใจความ
เรื่องที่อานหรือฟงได
6. เพื่อถายทอดใหมีจินตนาการ ความคิดริเริ่มสรางสรรค และความรูสึกนึกคิด
เปนเรื่องราวใหผูอื่นเขาใจความหมายอยางแจมแจง
ฝ
7. เพื่อใหสามารถสังเกต จดจํา และเลือกเฟนถอยคํา หรือสํานวนโวหารให
ถูกตองตามหลักภาษา และสื่อความหมายไดตรงตามที่ตองการ
8. เพื่อใหมีทักษะการเขียนประเภทตางๆ และสามารถนําหลักการเขียนไปใชให
เกิดประโยชนในชีวิตประจําวัน
9. เพื่อเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชนดวยการเขียนตามที่ตนเองสนใจและมี
ความถนัด
10. เพื่อใหเห็นความสําคัญและคุณคาของการเขียนวามีประโยชนตอการประกอบ
อาชีพ การศึกษาหาความรู และอื่นๆ
ผอบ โปษกฤษณะ (2544: 52-53) กลาววา จุดมุงหมายในการเขียนมีดังนี้
1. เพื่ออธิบาย
2. เพื่อพรรณนา
3. เพื่อเปรียบความรูสึก
4. เพื่อเลาเรื่องใหผูอื่นทราบ
สรุปไดวา จุดมุงหมายในการเขียนมีดังนี้ เขียนเพื่อเลาเรื่องราว เขียนเพื่ออธิบาย
แสดงความคิดเห็น เขียนเพื่อโฆษณา จูงใจ และเขียนเพื่อถายทอดอารมณ ความรูสึก รวมทั้งเพื่อ
ถายทอดความรูที่ไดเรียนรู ผูวิจัยจึงเลือกเอาจุดมุงหมายดังกลาวมาเปนแนวทางในการจัดทําแบบ
ฝกการอานและเขียนคําที่ใชบรร รร (ร หัน) และบัน เพื่อนํามาใช เปนสื่อการเรียน ใหผูเรียนได
เขียนถายทอดสิ่งที่เรียนรูใหผูอื่นไดรับทราบ เพื่อยืนยันวาไดเกิดการเรียนรูหรือเพื่อประเมินผลการ
เรียนรูที่เกิดขึ้นในตัวผูเรียน
2.3 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการเขียน
การเขียนถือเปนการสื่อสารที่มีองคประกอบหลายประการซึ่งมีผูกลาวไว
ดังตอไปนี้
อวยพร พานิช (2539: 9-15) ไดกลาวถึงองคประกอบของการสื่อสารดวยการ
เขียน ซึ่งพอสรุปไดดังตอไปนี้
1. ผูสงสาร – ผูรับสาร
- ผูสงสาร ไดแกนักเขียน นักพูด นักจัดรายการ
- ผูรับสาร ไดแก ผูที่ที่รับขอมูลโดยการฟง อาน และการดู แลวนมา
ตีความ
2. สาร คือ เนื้อหาที่ผูเขียนเพื่อตองการจะสื่อใหผูอานไดรู
พ
3. สื่อ / ชองทางการสื่อสาร เชน สื่อธรรมชาติ สื่อมนุษย สื่อสิ่งพิมพ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส สื่อเคลื่อนที่ และสื่อพื้นบาน
4. ผลของการสื่อสาร คือพฤติกรรม ทาทีของผูรับสารที่แสดงออกตอ
ขอความที่ผูเขียนสื่อใหรู
ฐะปะนีย สาครทรรพ (2539: 357-359) ไดกลาวถึงองคประกอบของการสื่อสาร
ที่สําคัญวา ไดแกสิ่งตอไปนี้
1. ผูสงสาร ไดแก ผูเขียน ผูพูด
2. สารที่สงออกไป ไดแก ขอความที่เขียน หรือ คําพูด
3. ผูรับสาร ไดแก ผูอาน ผูฟง
วรรณี โสมประยูร (2542: 142) ไดกลาวถึงองคประกอบใหญๆ 4 ประการ
ดังนี้
1. ผูเขียน (ผูสงสาร)
2. ภาษา (สาร)
3. เครื่องมือที่ทําใหเกิดสาร (เชนอักษร ดินสอ สมุด ปากกา)
4. ผูอาน (ผูรับสาร)
จากการศึกษาองคประกอบสําคัญที่เกี่ยวของกับการเขียน สรุปไดวา การเขียนมี
องคประกอบที่สําคัญดังนี้ คือ ผูเขียนขอความ เนื้อหาที่ใชเขียน สื่อหรืออุปกรณที่ใชในการทําให
เกิดสารและผูอาน ดังนั้นในการจัดทําแบบฝกการอานและการเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ
บันผูวิจัยคือ ผูเขียนขอความ เนื้อหาที่ใชเขียนคือเนื้อหาจากแบบเรียนภาษาไทยภาษาพาทีและ
วรรณคดีลํานํา ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 สื่อหรืออุปกรณคือแบบฝก ประกอบไปดวย สาระ
ความรู แบบฝก และผูอาน คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3
2.4 ความสําคัญและประโยชนของการเขียน
การเขียนมีความสําคัญและมีประโยชนเปนอยางมากในการใชสื่อสารอยางหนึ่ง
การเขียนเปนการใชขอความเปนสื่อใหผูอานไดเขาใจตรงกับผูเขียน การเขียนวกวน ไมชัดเจน
หรือเยิ่นเยอ อานจับใจความยาก ผูอานก็ไมสามารถเขาใจไดชัดเจนและไมสามารถปฏิบัติไดตาม
วัตถุประสงคของการเรียน ดังนั้นการเขียนจึงมีความสําคัญและมีประโยชนเปนอยางมากดังที่ไดมี
นักศึกษาไดกลาวไวดังนี้
นภดล จันทรเพ็ญ (2335: 91) ไดกลาวถึงประโยชนและความสําคัญของการ
เขียน ดังนี้
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077
8470 5077

More Related Content

What's hot

10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdfPloykarn Lamdual
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1Ploykarn Lamdual
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2Rung Kru
 
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือLibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือPloykarn Lamdual
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติDuangjai Boonmeeprasert
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบฝึกเล่ม1 my happy family
แบบฝึกเล่ม1 my happy familyแบบฝึกเล่ม1 my happy family
แบบฝึกเล่ม1 my happy familyNitchakarn Nakasoon
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย Nawakhun Saensen
 

What's hot (20)

ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือLibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบฝึกเล่ม1 my happy family
แบบฝึกเล่ม1 my happy familyแบบฝึกเล่ม1 my happy family
แบบฝึกเล่ม1 my happy family
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 

Viewers also liked

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKrudoremon
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเราKruPa Jggdd
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลมะม่วงกระล่อน จริงๆ
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดsornblog2u
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมkrupornpana55
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษSamrit Kung
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยกก กอล์ฟ
 

Viewers also liked (15)

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษ
 
หน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงานหน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงาน
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 

Similar to 8470 5077

งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
Research for students interesting for you
Research for students interesting for youResearch for students interesting for you
Research for students interesting for youkaiyasit banditram
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556Kapook Bank
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยPiyarerk Bunkoson
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
Ppt การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
Ppt   การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัยPpt   การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
Ppt การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัยสมนึก สุดหล่อ
 

Similar to 8470 5077 (20)

งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
 
Thai Research
Thai ResearchThai Research
Thai Research
 
Chulalongkorn
ChulalongkornChulalongkorn
Chulalongkorn
 
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะนำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
Research for students interesting for you
Research for students interesting for youResearch for students interesting for you
Research for students interesting for you
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556
 
Present วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียนPresent วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียน
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
ชนิดของคำในภาษาไทย
ชนิดของคำในภาษาไทยชนิดของคำในภาษาไทย
ชนิดของคำในภาษาไทย
 
Ppt การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
Ppt   การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัยPpt   การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
Ppt การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 

8470 5077

  • 1. การศึกษา ผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 นางสุมาลิน ทองเจือ ครู คศ.3 โรงเรียนบานบางจัน อําเภอตะกั่วทุง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา รายงานการวิจัยในชั้นเรียน หลักสูตรการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู รหัสนักศึกษา 491003000007 ภาคใต จังหวัดพังงา
  • 2. ข ชื่องานวิจัย การศึกษาผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ชื่อนักศึกษา นางสุมาลิน ทองเจือ ชื่อโรงเรียน / สถานศึกษา โรงเรียนบานบางจัน ชื่ออาจารยที่ปรึกษา นางสาวนวลจิต ถิรพัฒนพันธ ปที่ทําการวิจัย 2550 บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียน คําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝกการ อานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน โดย สมมุติฐานการวิจัย คือ (1) แบบฝกการอาน และเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ 80 / 80 (2) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนดานการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบันของนักเรียนสูงขึ้นหลังการใช แบบฝก (3) นักเรียนมีความพึงพอใจตอแบบฝกที่ใชในระดับเฉลี่ยมากขึ้นไป ประชากร เปน นักเรียนโรงเรียนบานบางจัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 8 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก (1) แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน (2) คูมือการใชแบบฝกฯ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและ หลังเรียน (4) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คา t – test ผลการศึกษาพบวา 1. แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มี คะแนนแบบฝกระหวางเรียนมีคาเฉลี่ยรอยละ 91.54 สวนคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนมีคาเฉลี่ย รอยละ 82.50 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกเลมนี้เทากับ 91.54 / 82.50 สูงกวาเกณฑ ที่ตั้งไว 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังใชแบบฝกสูงกวากอนใชแบบฝก มีคาเฉลี่ย ของคะแนนกอนเรียนเทากับ 6 คาเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียนมีคาเทากับ 8.25 ผลการทดสอบ
  • 3. ค ความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนสรุปวา คะแนนการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนรูดวยแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และบัน ชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 เปนไปตามสมมุติฐาน 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ยเทากับ 4.72
  • 4. ง กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไดรับความอนุเคราะหชวยเหลือและใหคําแนะนําอยางดียิ่งจาก นางสาว นวลจิต ถิรพัฒนพันธ ศึกษานิเทศกสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษา ประจําหลักสูตรการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู (ภาคใต) ผูวิจัยขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ ประโยชนและคุณคาของงานวิจัยในชั้นเรียนเลมนี้ คงเปนประโยชนแกผูรวมวิชาชีพ ครูและผูสนใจที่จะรวมกันพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา อันจะชวย พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพสูงสุดตอไป สุมาลิน ทองเจือ มีนาคม 2550
  • 5. จ สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 1 แสดงผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกฯ 49 ตารางที่ 2 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียน และหลังเรียน 50 ตารางที่ 3 แสดงผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝก 51
  • 6. ฉ สารบัญภาพ หนา แผนภาพที่ 2.1 แสดงกรอบแนวคิดและทฤษฎีในการศึกษา 35 แผนภาพที่ 3.1 แสดงขั้นตอนการสรางและทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝก 40 แผนภาพที่ 3.2 แสดงขั้นตอนการสรางแผนการเรียนรู 42 แผนภาพที่ 3.3 แสดงขั้นตอนการสรางแบบทดสอบ 43 แผนภาพที่ 3.4 แสดงขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม 45 แผนภาพที่ 3.5 แสดงการวิเคราะหเครื่องมือและสถิติที่ใช 48
  • 7. ช สารบัญ หนา บทคัดยอ ข กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญตาราง จ สารบัญภาพ ฉ บทที่ 1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 วัตถุประสงคของการวิจัย 3 สมมุติฐานของการวิจัย 3 ขอบเขตของการวิจัย 3 นิยามคําศัพท 4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5 บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ 6 แนวคิดเกี่ยวกับการอาน 7 แนวคิดเกี่ยวกับการเขียน 14 ความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน 21 แนวคิดเกี่ยวกับแบบฝก 22 เอกสารที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ 31 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการอาน การเขียนภาษาไทยและแบบฝก 32 บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย 36 ประชากรและกลุมตัวอยาง 36 รูปแบบการวิจัย 36 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 37 การเก็บรวบรวมขอมูล 45 การวิเคราะหขอมูล 45 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 49 การวิเคราะหประสิทธิภาพของแบบฝกฯ 49 การวิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฯ 50
  • 8. ซ การวิเคราะหผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการใชแบบฝกฯ 51 บทที่ 5 สรุปการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 52 สรุปการวิจัย 52 อภิปรายผล 54 ขอเสนอแนะ 55 บรรณานุกรม 57 ภาคผนวก 62 1 เครื่องมือที่เปนนวัตกรรม 62 2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 104 3 ตารางแสดงคะแนน 113 ประวัติผูวิจัย 116
  • 9. ฌ บทที่ 1 บทนํา 1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 มาตราที่ 22กําหนดแนวทางในการจัดการ เรียนการสอนไววา“ การจัดการศึกษาตองยึดหลัก ผูเรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรูและ พัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญ ” ( กระทรวงศึกษาธิการ 2544: 21 ) กระบวนการ เรียนรูที่เนนผูเรียนสําคัญที่สุด จึงเปนจุดมุงหมายในการศึกษาเพื่อมุงพัฒนาคนและชีวิตใหเกิด ประสบการณการเรียนรูเต็มความสามารถ สอดคลองกับความถนัด ความสนใจและความตองการ ของผูเรียน ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน การเรียนรูภาษาไทยซึ่งเปนทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการ เรียนรูของผูเรียนที่จะตองไดรับการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ เพราะเปนวิชาพื้นฐานในการเชื่อมโยง สูการเรียนรูในสาระการเรียนรูอื่นๆ หากผูเรียนมีพัฒนาการดานภาษาไทยออน จะสงผลกระทบตอ กลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ ไปดวย ดังนั้นการพัฒนาทักษะการเรียนรูดานภาษาไทยจึงมีความจําเปน อยางยิ่ง กระแสความหวงใยของคนไทยเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาไทยและการใชภาษาไทยได ปรากฏผลอยูเนื่องๆ โดยพบวา ผูเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปที่ 6 บางคนยังอานหนังสือไมออก เขียนไมได ใชคําเขียนผิดความหมาย ผูเรียนในระดับมัธยมศึกษาบางคน มีปญหาเรื่องความเขาใจ การอานและความออนดอยเรื่องการเขียน มีความสามารถทางภาษายังไมเพียงพอที่จะกาวไปสู การศึกษาในชั้นที่สูงขึ้น กอใหเกิดปญหาในการเรียนรู ความจําเปนในการพัฒนาผูเรียนตั้งแต ระดับชั้นประถมศึกษาโดยเฉพาะระดับชวงชั้นที่ 1 (ป.1-3 ) จึงเปนการสรางความเขมแข็งทาง ภาษาไทยใหแกผูเรียนเพื่อใหสามารถใชภาษาเปนเครื่องมือในการเรียนรู และพัฒนาตนเองไดอยาง มีประสิทธิภาพ เพื่อเปนการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในระหวางเรียนใหแกผูเรียน การฝกใหผูเรียนได เรียนรูซ้ําๆ หลายครั้ง ทั้งการฝกดวยตนเองหรือใหครูผูสอนคอยฝกฝนอยางตอเนื่อง จึงเปน สิ่งจําเปนและควรทําทันทีที่พบวาผูเรียนมีปญหาในการเรียนเนื้อหายอยๆ ในแตละเรื่อง หากปลอย ไวตอนเนื้อหารวมหรือเนื้อหาใหญๆก็จะยิ่งสะสมปญหามากขึ้น ผูเรียนจะเกิดความเบื่อหนาย ทอถอยและมีเจตคติที่ไมดีตอวิชาภาษาไทยในอนาคต
  • 10. ญ การใชวิธีการสอนแบบเดิมๆ ไมมีสื่อในการเรียน สื่อไมเราความสนใจ ขาดแรงจูงใจ ครูผูสอนมักจะนําเอาหนังสือ หรือแบบฝกหัดที่มีอยูทั่วๆ ไปมาเปนคูมือการสอนโดยไมได วิเคราะหถึงความเหมาะสม ซึ่งบางอยางก็ใชได แตบางอยางไมสอดคลองกับสภาพและปญหาของ นักเรียน เชน ยากเกินไปหรืองายเกินไป หากครูผูสอนสรางแบบฝกการอานและการเขียนขึ้นมาใช เอง โดยสรางจากสภาพปญหาที่เกิดจากการเรียนรูของนักเรียน นาจะมีผลดีกวาการใชแบบฝกที่คน อื่นสรางให เกี่ยวกับเรื่องนี้กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2536: คํานํา) ไดใหขอเสนอแนะ ไววา “ การจัดทําแบบฝกหัดเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษานั้น ครูอาจคิดเพิ่มเติมขึ้นเองและทํา แบบฝกหัดเพิ่มเติมได” การที่นักเรียนไดเรียนเรื่องการอานและเขียนคําซึ่งเปนปญหาการเรียนรู ของผูเรียนจากแบบฝกหัดบอยๆ จะทําใหนักเรียนจดจําสามารถอานและเขียนคําเหลานั้นไดถูกตอง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก็จะดีขึ้น ซึ่งสอดคลองกับสุรางค จันทนเอม (2514: 30) ที่ไดกลาว ไววา “การที่มีแบบฝกหัดชวยใหผูเรียนไดฝกซ้ํา และการทบทวนในสิ่งที่ฝกซ้ําอยูเสมอนั้นจะทํา ใหนักเรียนจดจําในเรื่องที่เรียนได...” และกรรณิการ ศุกรเวทยศิริ (2533: 2) ที่กลาววา “แบบฝกหัดเปนสื่อการเรียนอยางหนึ่ง ครูสามารถนําไปใชประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได” จากการทดสอบหลักเกณฑทางภาษากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ดานการอานและเขียน คําของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานบางจัน ปรากฏผลไมนาพึงพอใจ โดยเฉพาะ ทักษะการอานและการเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน นักเรียนสวนใหญเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ผิด ทําใหความหมายของคําผิดไป เนื่องจากไมไดรับการฝกฝนอยางตอเนื่อง ขาดสื่อในการฝกเฉพาะเรื่อง จึงสงผลใหนักเรียนไมเขาใจหลักการอานและการเขียนรวมทั้งการนํา คําไปใชใหตรงกับรูปประโยคและความหมาย ผูสอนเห็นวาจําเปนตองแกไขอยางเรงดวน จากที่กลาวมาสรุปไดวา การอานและการเขียนคําตางๆ ตามหลักเกณฑทางภาษาที่ถูกตอง มีความสําคัญเปนพื้นฐานในการเรียนภาษาและเรียนวิชาอื่นๆ ถาเด็กมีทักษะการอานและการเขียน ดียอมทําใหผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาไทยดีไปดวย ครูจะตองฝกการอานและการเขียนตาม หลักเกณฑทางภาษาที่ถูกตองใหแกเด็กอยางถูกวิธี โดยพยายามหาวิธีสอนและจัดกิจกรรมให เหมาะสมกับนักเรียนแตละระดับ ควรจัดกิจกรรมในการสอนการอานและการเขียนคําใหเกิด ความรูและสนุกสนาน การฝกอยางถูกวิธีเทานั้นที่จะทําใหเด็กเกิดความชํานาญคลองแคลววองไว และการฝกที่ดีนั้นจะตองมีสื่อคือ แบบฝกที่มีคุณภาพ ดังนั้นผูวิจัยจึงสรางแบบฝกการอานและ เขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ชั้นประถมศึกษาปที่3 ขึ้นใชฝกกับนักเรียนที่มีปญหาในเรื่อง ดังกลาว ซึ่งผลที่ไดนั้นจะเปนแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน เพื่อแกปญหาที่นักเรียน อานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ไมถูกตองใหไดผลดียิ่งขึ้น และยังสงผลใหคุณภาพ ผลสัมฤทธิ์ดานทักษะภาษาไทยของนักเรียนดีขึ้นกวาเดิม
  • 11. ฎ 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 3. สมมติฐานการวิจัย 1. แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร( ร หัน) และ บัน มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ 80 / 80 2. ทักษะการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบันของนักเรียนสูงขึ้นหลังการ ใช แบบฝก 3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอแบบฝกที่ใชในระดับเฉลี่ยตั้งแตมากขึ้นไป 4. ขอบเขตการวิจัย 4.1 รูปแบบการวิจัย เปนการวิจัยเชิงทดลอง 4.2 ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 4.2.1 ตัวแปรตน คือ การจัดการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกการอานและเขียน คําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 4.2.2 ตัวแปรตาม คือ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3
  • 12. ฏ - ความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอแบบฝก 4.3 ประชากร เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานบางจัน ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549จํานวน 8 คน 4.4 ขอบขายเนื้อหา เรื่องการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บันสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่3 4.5 เครื่องมือในการวิจัย ประกอบดวย 1) แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 2) แผนการจัดการเรียนรู( คูมือการใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3) จํานวน 5 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง 3) แบบทดสอบกอนและหลังเรียน (ใชแบบทดสอบฉบับเดียวกัน จํานวน 10ขอ) 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 5. นิยามคําศัพท แบบฝก หมายถึง แบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ซึ่งมีองคประกอบ ดังนี้ วัตถุประสงค แบบทดสอบกอนเรียน ใบความรู แบบฝกการอาน แบบฝกการเขียน แบบทดสอบหลังเรียน ประสิทธิภาพของแบบฝก ตามเกณฑ 80 / 80 หมายถึง นักเรียนทําแบบฝกในระหวาง เรียนไดคะแนนอยูในระดับ 80 % และหลังการใชแบบฝกในการพัฒนา นักเรียนมีคะแนนผลการ ทดสอบหลังเรียนไดคะแนนอยูในระดับ 80 % ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผูเรียนมีความรูความเขาใจในการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน วัดเปนคะแนน โดยใชแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอาน และเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ความพึงพอใจของผูเรียน หมายถึง ความชื่นชอบ / ชื่นชม ความรูสึกที่มีความสุขในการ เรียนรูเมื่อไดใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ความนาสนใจ เนื้อหา สาระทําใหผูเรียนมีความรูเพิ่มขึ้น ซึ่งแปลผลจากระดับเฉลี่ย จากแบบสอบถามความพึงพอใจ
  • 13. ฐ 6. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 6.1 ชวยพัฒนานักเรียนใหมีความรูความเขาใจ มีทักษะในการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน 6.2 เปนแนวทางในการพัฒนาการสอนเพื่อใชแกปญหาการเรียนรูใหกับผูเรียนใน เนื้อหาตางๆ ของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6.3 เปนแนวทางในการพัฒนาการสอนใหผูเรียนไดรับการแกปญหาที่ถูกทาง และ เพิ่มทักษะเฉพาะดานที่เปนปญหาของผูเรียนใหสูงขึ้น 6.4 เพื่อเปนแนวทางสําหรับประยุกตใชในวิชาอื่น ๆ 6.5 เพื่อเปนแนวทางสําหรับการวิจัยครั้งตอไป
  • 14. ฑ บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดตรวจสอบเอกสารวรรณกรรมที่เกี่ยวของ และกรอบความคิด ทฤษฎีอันเปนพื้นฐานในการดําเนินการวิจัย ดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการอาน 1.1 ความหมายของการอาน 1.2 จุดมุงหมายของการอาน 1.3 จุดมุงหมายในการสอนอานของนักเรียน 1.4 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการอาน 1.5 ความสําคัญของการอาน 1.6 ประโยชนของการอาน 2. แนวคิดเกี่ยวกับการเขียน 2.1 ความหมายของการเขียน 2.2 จุดมุงหมายของการสอนเขียนของนักเรียน 2.3 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการเขียน 2.4 ความสําคัญและประโยชนของการเขียน 3. ความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน 4. แนวคิดเกี่ยวกับการฝก 4.1 ความหมายและความสําคัญของแบบฝกหรือแบบฝกหัด 4.2 ประโยชนของแบบฝก 4.3 จิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางแบบฝก 4.4 ลักษณะของแบบฝกที่ดี 4.5 แนวทางการพัฒนาแบบฝก 4.5.1 สวนประกอบของแบบฝกหรือแบบฝกหัด 4.5.2 รูปแบบของการสรางแบบฝก 4.5.3 ขั้นตอนในการสรางแบบฝก 5. เอกสารที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการอาน การเขียนภาษาไทยและแบบฝก
  • 15. ฒ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการอาน 1.1 ความหมายของการอาน การอานเปนทักษะหนึ่งที่มีความสําคัญในการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทย นักวิชาการหรือนักการศึกษา และนักจิตวิทยาหลายทาน ไดใหความหมายของการอานไว หลากหลายความหมาย ดังตอไปนี้ อัญชัญ เผาพัฒน (2534: 10) ไดใหความหมายการอานไววา การอานคือการ แปลความของสัญลักษณที่ใชแทนคําพูดใหไดความหมายอยางสมบูรณ โดยอาศัยประสบการณเดิม ของผูอานเขาชวยแปล และรวบรวมความคิดเขาดวยกันจนเกิดภาพในสิ่งที่อานชัดเจน ที่เราเรียกวา มโนภาพ แตบางครั้งความรูที่ไดรับของแตละคนอาจจะไดไมเทากัน ทั้งนี้เนื่องจากความแตกตาง ระหวางบุคคล แมนมาส ชวลิต (2534 : 232) ไดใหความหมายการอานวา “การอานคือ การ ใชศักยภาพของสมองเพื่อรับรู แปลความหมายและเขาใจปรากฎการณขอมูล ขาวสาร เรื่องราว ประสบการณ ความคิด ความรูสึกและจินตนาการตลอดจนสาระอื่นๆ ซึ่งมีผูแสดงออกโดยใช สัญลักษณที่เปนลายลักษณที่มนุษยประดิษฐขึ้นเพื่อการสื่อสาร การอานเปนทักษะพื้นฐาน ซึ่งตอง เรียนเชนเดียวกับทักษะพื้นฐานอื่นๆ การเรียนรูเทานั้นไมเพียงพอตองฝกฝนหรือพัฒนาระดับ ความสามารถใหเพิ่มขึ้นอยูเสมอ ใหสามารถอานเนื้อหาซึ่งยากและซับซอน ใหเขาใจและนํามาใช การได ใหมีนิสัยรักการอานรูจักวิเคราะหและเลือกสิ่งที่อานไดอยางมีประสิทธิภาพ” ศศิธร อินตุน (2535 : 12) กลาววาการอาน ไมใชเพียงสะกดถูกเทานั้นหากยัง ตองสามารถวินิจฉัยพิจารณาความหมายที่ไดจากการอานนั้นไดอยางลึกซึ่งและแตกฉานเกิดความรู ความคิด และสามารถนําเอาความคิดจากการอานไปใชในชีวิตประจําวันได นภดล จันทรเพ็ญ (2535: 73) กลาววา การอานเปนการแปลความหมายของ ตัวอักษร เครื่องหมายสัญลักษณ เครื่องสื่อความหมายตางๆ ที่ปรากฏแกตาออกมาเปนความคิด ความเขาใจเชิงสื่อสาร แลวผูอานสามารถนําความคิด ความเขาใจนั้นไปใชประโยชนไดตอไป ศรีรัตน เจิงกลิ่นจันทร (2544: 3) ไดใหความหมายการอานวา “การอานมิใชแต เพียงการอานออกเสียงตามตัวอักษรอยางเดียว การอานเปนกระบวนการถายทอดความหมายจาก ตัวอักษรออกมาเปนความคิด และจากความคิดที่ไดจากการอานผสานกับประสบการณเดิมที่มีอยู เปนเครื่องชวยพิจารณาตัดสินใจนําแนวคิดที่ไดจากการอานไปใชประโยชนตอไป” จากการศึกษาความหมายของการอาน สรุปไดวา การอานคือ การใชศักยภาพ ของสมองเพื่อรับรู แปลความหมายและเขาใจปรากฏการณ ขอมูล ขาวสาร เรื่องราว ประสบการณ
  • 16. ณ ความคิด ความรูสึก จินตนาการตลอดจนสาระอื่นๆ และเปนทักษะพื้นฐาน ซึ่งตองเรียน เชนเดียวกับทักษะพื้นฐานอื่นๆ การเรียนรูการอานไมใชเปนการอานออกเสียงตามตัวอักษรอยาง เดียวไมเพียงพอตองฝกฝนหรือพัฒนาระดับความสามารถใหเพิ่มขึ้นอยูเสมอ ใหสามารถอาน เนื้อหาซึ่งยากและซับซอน ใหเขาใจและนํามาใชการได ใหมีนิสัยรักการอานรูจักวิเคราะหและ เลือกสิ่งที่อานไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงจะสามารถแปลความหมายจากตัวอักษรหรือภาพใหเปน เรื่องราวเปนแนวคิด โดยผสานกับประสบการณเดิมที่มีอยู ในการแปลความหมายของตัวอักษร และสัญลักษณถายทอดออกมาเปนคําพูด และสื่อความหมายไดถูกตองตามจุดหมายของผูเขียนที่ ใชตัวอักษรหรือภาพเปนสื่อกลางในการถายทอดการเรียนรูใหแกผูเรียน 1.2 จุดมุงหมายของการอาน การอานเปนทักษะที่จําเปนในการดํารงชีวิต ชวยทําใหเกิดความงอกงามทาง สติปญญาเปนวิธีการหนึ่งที่มนุษยใชศึกษาหาความรูใหแกตนเองตลอดมา การอานมีจุดมุงหมายที่ แตกตางกัน เชน อานเพื่อพัฒนาสติปญญา อานเพื่อพัฒนาความคิด และเพิ่มพูนประสบการณ นอกเหนือความบันเทิงทางอารมณที่ไดรับนักการศึกษาหลายๆ ทานไดใหความคิดเห็นตอ จุดมุงหมายของการอาน ไวดังนี้ กัลยา ยวนมาลัย (2539: 12) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานออกเปน 4 ประเภทดังนี้ 1. อานเพื่อความรู เปนการอานเพื่อตองการรูในสิ่งที่ผูอานพบปญหา หรือ ตองการใหความรูงอกเงย 2. อานเพื่อใหเกิดความคิด เปนการอานสิ่งพิมพที่แสดงทรรศนะ ซึ่งไดแก บทความ บทวิจารณ วิจัยตางๆ 3. อานเพื่อความบันเทิง เปนการอานที่ชวยใหเกิดความบันเทิงควบคูไปกับการ คิด 4. อานเพื่อตอบสนองความตองการอื่นๆ เปนการอานที่ตองชดเชยความตองการ ที่ยังขาดอยู เชน เมื่อเกิดความรูสึกเบื่อ ไมสบาย เปนตน วรรณี โสมประยูร (2542: 127) ไดตั้งจุดมุงหมายในการอานดังนี้ 1. การอานเพื่อคนควาหาความรูเพิ่มเติม 2. การอานเพื่อความบันเทิง 3. การอานเพื่อใชเวลาวางใหเปนประโยชน 4. การอานเพื่อหารายละเอียดของเรื่อง
  • 17. ด 5. การอานเพื่อวิเคราะหวิจารณจากขอมูลที่ได 6. การอานเพื่อหาประเด็นวาสวนไหนเปนขอเท็จจริง สวนใดเปนจริง 7. การอานเพื่อจับใจความสําคัญของเรื่องที่อาน 8. การอานเพื่อปฏิบัติตาม 9. การอานเพื่อออกเสียงใหถูกตองชัดเจน มีน้ําเสียงเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง ยุพิน จันทรเรือง (2544: 43) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานดังนี้ 1. อานเพื่อความรู 2. อานเพื่อความคิด 3. อานเพื่อความบันเทิง ศรีรัตน เจิ่งกลิ่นจันทร (2544: 7-8) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานไดดังนี้ 1. อานเพื่อความรู 2. อานเพื่อใหเกิดความคิด 3. อานเพื่อความเพลิดเพลิน 4. อานเพื่อความจรรโลงใจ 5. อานเพื่อสนองความตองการอื่นๆ ดังนั้นจึงสรุปไดวา จุดมุงหมายของการอานทั่วไปถาจะจําแนกประเภทใหญๆ ได 2 ประเภท คืออานเพื่อความรู และอานเพื่อความบันเทิง โดยการอานทั้ง 2 ประเภทเปนการอาน ที่สรางความรูความคิดผูอานสามารถนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา และสรางทางเลือกในการดําเนิน ชีวิตตลอดจนเปนการฝกใหมีนิสัยรักการอาน 1.3 จุดมุงหมายในการสอนอานของนักเรียน หลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2546 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชวงชั้น ที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไดกําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปและสาระการเรียนรูรายป เกี่ยวกับการอานของชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ดังนี้ สาระที่ 1 การอาน มาตรฐาน 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรู และความคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสราง วิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. อานไดถูกตองตามหลักการอาน 2. อานไดถูกตองคลองแคลว
  • 18. ต 3. เขาใจความหมายของคําและขอความที่อาน 4. เขาใจความสําคัญและรายละเอียดของเรื่อง 5. หาคําสําคัญของเรื่องได 6. ใชแผนภาพโครงเรื่อง หรือแผนภาพความคิดเปนเครื่องมือพัฒนาความเขาใจ 7. รูจักใชคําถามจากเรื่องที่อานกําหนดแนวทางปฏิบัติได 8. สามารถอานในใจและอานออกเสียงบทรอยกรองและรอยแกวที่ยากขึ้นได รวดเร็วตามลักษณะคําประพันธและอักขรวิธีได 9. จําบทรอยกรองที่ไพเราะได 10. เลือกอานหนังสือที่เปนประโยชนได 11. มีมารยาทในการอาน 12. มีนิสัยรักการอาน สาระการเรียนรู 1. การอานคําพื้นฐานซึ่งเปนคําที่ใชในชีวิตประจําวัน และรวมคําที่ใชเรียนรูใน กลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ 2. การอานแจกลูกและสะกดคําในมาตราแม ก กา แมกง กน กม เกย เกอว กก กด และแมกบทั้งคําที่สะกดตรงตามมาตราตัวสะกด และคําที่สะกดไมตรงตามมาตราตัวสะกด คํา ที่มีตัวการันต ตัวอักษรควบ อักษรนําคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และบัน 3. การผันวรรณยุกต คําที่มีพยัญชนะตน เปนอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ํา 4. การอานและเขาใจความหมายของคําในประโยคและขอความ 5. การอานในใจ การจับใจความของเรื่องที่อาน โดยหาคําสําคัญตั้งคําถาม คาดคะเนเหตุการณที่ใชแผนภาพโครงเรื่อง หรือแผนความคิด 6. การแสดงความรู และความคิดตอเรื่องที่อาน 7. การนําความรูและขอคิดที่ไดรับจากการอานไปใชในชีวิตประจําวัน 8. การอานออกเสียงรอยแกว และรอยกรองถูกตองตามอักขรวิธีและลักษณะคํา ประพันธและการอานทํานองเสนาะ 9. การทองจําบทอาขยานและบทรอยกรอง สรุปไดวา จุดมุงหมายในการสอนอานมี 3 ประการหลัก คือ 1. มุงพัฒนาศัพทใหมๆ โดยใหนักเรียนอานและเขียนคําใหถูกตอง 2. มุงใหนักเรียนมีความเขาใจเรื่องที่อาน สามารถเรียงลําดับเหตุการณ เลาเรื่อง ใหผูอานเขาใจได
  • 19. ถ 3. มุงใหนักเรียนอานเพื่อฝกคิดอยางมีวิจารณญาน นําผลการอานไปใชใน ชีวิตประจําวันได 1.4 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการอาน การอาน เปนทักษะที่จําเปนสําหรับมนุษยที่ใชเปนเครื่องมือในการแสวงหา ความรูสิ่งตางๆ เปนทักษะที่มีความสําคัญซึ่ง นักการศึกษา ผูที่มีสวนเกี่ยวของไดกลาวไว ดังนี้ บันลือ พฤกษะวัน (2534: 7) กลาววา ทักษะการอานนั้นเปนงานที่ยิ่งใหญใน การจัดการเรียนการสอน และเปนพื้นฐานที่สําคัญแกการเรียนรูสรรพวิทยาการทั้งปวง องคประกอบที่จะชวยใหเกิดความพรอมในการอาน ควรพิจารณาดังนี้ 1. ความพรอมทางกาย 2. ความพรอมทางจิตใจหรือสติปญญา 3. ความพรอมทางอารมณ– สังคม 4. ความพรอมทางจิตวิทยา 5. ความพรอมทางพื้นฐานประสบการณ อันเกิดจากการเลี้ยงดูจากทางบานและ สภาพแวดลอม กัลยา ยวนมาลัย (2539 : 31) ไดกลาวถึงองคประกอบสําคัญที่มีผลตอการเรียนรู จากการอาน ซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยเบื้องตนในตัวผูอานดังนี้ 1. ประสบการณของผูอานในเรื่องที่อาน 2. ความสามารถดานภาษา คือรูคําศัพท ถอยคํา สํานวน โวหาร และ ความหมายตางๆ 3. ความสามารถในการคิด 4. ความสนใจและความเชื่อ 5. จุดประสงคในการอาน สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย (2539 : 5) กลาววาองคประกอบที่สําคัญเกี่ยวกับการ อานมีอยู 3 ดาน คือ 1. ดานสังคม หมายถึง สิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวนักเรียน ในการสอนครูควรนํา เรื่องที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมและความเปนอยูของนักเรียนในทองถิ่นนั้นๆ มาจัดทําเปนหนังสือ แบบเรียน หรือหนังสืออานประกอบ 2. ดานความพรอม หมายถึง ความพรอมทางดานรางกาย อารมณ และ สติปญญาที่สามารถเริ่มอานได
  • 20. ท 3. ดานโรงเรียน โรงเรียนเปนสถานที่สําคัญในการจัดบรรยากาศหรือกิจกรรมให ตอบสนองกับความตองการของนักเรียน โดยเฉพาะการปลูกฝงใหมีทัศนคติที่ดีตอการอานและ การรักการอาน วรรณี โสมประยูร (2542 : 122) ไดกลาวถึงองคประกอบที่สําคัญในการอาน ของเด็กสรุปไดดังนี้ 1. ทางดานรางกาย เชน สายตา ปาก และหู 2. ทางดานจิตใจ เชน ความตองการ ความสนใจ และความศรัทธา 3. ทางดานสติปญญา เชน การรับรู การนําประสบการณเดิมมาใช การใชภาษา ใหถูกตอง และความสามารถในการเรียน 4. ทางดานประสบการณพื้นฐาน 5. ดานวุฒิภาวะ อารมณ แรงจูงใจ และบุคลิกภาพ 6. ดานสิ่งแวดลอม ศรีรัตน เจิ่งกลิ่นจันทร (2544: 15) กลาววาองคประกอบที่สําคัญที่จะชวยใหเกิด ความพรอมในการอานขึ้นอยูกับองคประกอบ 4 ดาน คือ 1. ดานสมอง 2. ดานรางกาย 3. ดานอารมณและสังคม 4. ดานประสบการณและอื่นๆ สรุปไดวา เด็กที่จะสามารถอานหนังสือและมีทักษะในการอานที่ดี ตองมี องคประกอบในดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม และประสบการณในการอานพรอม ทุกดาน เด็กจึงจะประสบผลสําเร็จในการอาน 1.5 ความสําคัญของการอาน ทักษะการอาน เปนทักษะที่มนุษยใชเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูสิ่งตางๆ โดยมีจุดมุงหมายหลัก 2 ประเด็นใหญๆ คือ อานเพื่อความรู และอานเพื่อความบันเทิง ความสําคัญของการอานจะนอย หรือมากเพียงใด ยอมขึ้นอยูกับจุดมุงหมายในการอานแตละครั้ง ดังที่นักการศึกษาหลายๆ ไดกลาวถึงความสําคัญ ดังนี้ ชุติมา สัจจานนท (2525: 9 อางใน ดวงคิด ดวงภักดิ์ 2539 : 13) กลาวถึง ความสําคัญในการอานไววา“การอานทําใหผูอานไดรับความรูเพิ่มขึ้น พัฒนาความคิด และชวย ปรับปรุงบุคลิกภาพ นอกจากนี้ยังทําใหเกิดความกาวหนาในอาชีพชวยแกปญหา ใชเวลาวางใหเกิด
  • 21. ธ ประโยชนเกิดความจรรโลงใจไดคติธรรมจากเรื่องที่อานไดพักผอนและไดรับความเพลิดเพลิน ทัน ตอเหตุการณสนองความพอใจสวนตัว สงเสริมความสนใจทางวิชาการและอาชีพ” ศิริพร ลิมตระการ (2539: 6) ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานสรุปไดดังนี้ 1. การอานหนังสือทําใหไดเนื้อหาสาระความรูมากกวาการศึกษาหาความรูดวยวิธี อื่น เชน การฟง 2. ผูอานสามารถอานหนังสือไดโดยไมจัดเวลาและสถานที่ 3. หนังสือเก็บไวไดนานกวาอยางอื่น 4. ผูอานสามารถฝกการคิดและจินตนาการไดเองในการอาน 5. การอานสงเสริมใหสมองดีและมีสมาธินาน 6. ผูอานเปนผูกําหนดการอานไดดวยตนเองวาจะอานคราวๆ อานละเอียด หรือ อานทุกตัวอักษรก็ได 7. หนังสือมีหลายรูปแบบและราคาถูก 8. ผูอานเกิดความคิดเห็นไดดวยตัวเองในการอาน 9. ผูรักการอานจะรูสึกมีความสุข เมื่อไดสัมผัสหนังสือ สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย (2539: 1) ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานวา“การ อานเปนเครื่องมือสําคัญในการเสาะแสวงหาความรู การรูและใชวิธีการอานที่ถูกตองจึงเปน สิ่งจําเปนสําหรับผูอานทุกคน การรูจักฝกฝนการอานอยางสม่ําเสมอจะชวยใหผูอานมีพื้นฐานใน การอานที่ดี ทั้งจะชวยใหเกิดความชํานาญ และมีความรูกวางขวางดวย” จากแนวคิดของนักศึกษาดังกลาว สรุปไดวาการอานมีความสําคัญตอมนุษยเปน อยางมาก ใชเปนเครื่องมือในการศึกษาหาความรูดวยตนเอง ราคาถูก เก็บรักษางายและผูอาน สามารถกําหนดวิธีการอานไดดวยตนเอง หากไดรับการฝกฝนการอานอยางสม่ําเสมอ ผูอานก็จะ เปนผูที่มีความรูกวางขวาง พัฒนาความคิด ชวยแกปญหา มีความสามารถนําความรูที่ไดมาใชใน การดําเนินชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพ 1.6 ประโยชนของการอาน อัญชัญ เผาพัฒน (2534: 12) กลาวถึงประโยชนของการอานวา “การอานมี ประโยชนมากมายหลายประการ ผูอานจะไดรับประโยชนจากการอานมากนอยเพียงใดจากการ อานยอมขึ้นอยูกับความเขาใจของผูอานเปนสําคัญ กลาวคือ สามารถผสมผสานความรูเดิม ประสบการณเดิมที่ไดรับเขากับความรูใหมที่ไดอานแลวขยายความรู ความจําใหไกลไปจากเดิม
  • 22. น อยางสมเหตุ สมผล ซึ่งความเขาใจดังกลาวจะแสดงออกดวยพฤติกรรม 3 ประการ คือ การแปล ความ การตีความ และการขยายความ” วรรณี โสมประยูร (2542: 121) กลาววาการอานมีประโยชนตอคนทุกเพศทุก วัยและทุกสาขาอาชีพ ซึ่งอาจสรุปไดดังนี้ 1. การอานมีประโยชนยิ่งในการศึกษาทุกระดับ 2. ในชีวิตประจําวันทั่วไป คนเราตองอาศัยการอานเพื่อติดตอสื่อสาร เพื่อทํา ความเขาใจรวมกัน 3. การอานชวยใหบุคคลนําความรูและประสบการณจากสิ่งที่อานไปพัฒนาอาชีพ ใหประสบผลสําเร็จ 4. การอานชวยสนองความตองการพื้นฐานของบุคคลในดานตางๆ 5. การอานทําใหเปนผูรอบรู เกิดความมั่นใจในการพูดปราศรัย 6. การอานชวยใหเกิดความเพลิดเพลิน รูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน 7. การคิดเรื่องราวในอดีต ทําใหอนุชนรูจักอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของคน ไทยเอาไว และสามารถพัฒนาใหเจริญรุงเรืองตอไปได สรุปไดวา การอานมีประโยชนตอคนทุกเพศทุกวัย การอานชวยใหผูอานไดรับ ความรูเพิ่มขึ้น พัฒนาความคิด ชวยปรับปรุงบุคลิกภาพ และชวยใหประสบผลสําเร็จในการ ดํารงชีวิตในทุกดาน ทั้งดานการเรียน การดูแลตนเอง การใชชีวิตในสังคมและการประกอบอาชีพ 2. แนวคิดเกี่ยวกับการเขียน 2.1 ความหมายของการเขียน นภดล จันทรเพ็ญ (2535 : 91) ไดใหความหมายวาการเขียน คือ การแสดงออก ในการติดตอสื่อสารอยางหนึ่งของมนุษยโดยอาศัยภาษาตัวอักษรเปนสื่อเพื่อถายทอดความรูสึกนึก คิด ความตองการ และความในใจของเราใหกับผูอื่นทราบ การเขียนนี้มีลักษณะเปนการสื่อสารที่ ถาวรสามารถคงอยูนาน ตรวจสอบได เปนหลักฐานอางอิงนานนับพันนับหมื่นป ถามีการเก็บ รักษาใหคงสภาพเดิมไวได ศิริพร ลิมตระการ (2539: 18) ไดใหความหมายการเขียนวา การเขียนคือ “กระบวนการแหงคิดในการแสดงออกเพื่อสื่อสารใหผูอื่นรับรู ในการเขียนมีองคประกอบตางๆ เขามาเกี่ยวของคือ ไวยากรณ หรือโครงสรางทางภาษา ความเขาใจในการฟง การอาน หรือแมแต การพูด”
  • 23. บ อวยพร พานิช (2539: 2) กลาววา การเขียน วาเปนการเรียบเรียงความคิดออกมา เปนตัวสาร ผูเขียนตองเรียนรูกลวิธีในการเขียนเรื่องการใชคํา ประโยค และหลักภาษาตางๆ ทั้ง ตองผานการฝกฝน เพื่อสื่อสารกับบุคคลระดับตางๆ และผานสื่อตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ดนยา วงศธนะชัย (2542 : 24) กลาววา การเขียนวาหมายถึง การถายทอด ความรู ประสบการณ ความคิด ความรูสึกหรือจินตนาการออกมาเปนตัวหนังสือ โดยวิธีการตางๆ กัน จากความหมายของการเขียนสรุปไดวา การเขียนเปนสิ่งสําคัญและจําเปนตอชีวิต เพราะเปนเครื่องมืออันสําคัญที่จะบันทึก หรือถายทอดเรื่องราวตางๆ โดยใชตัวหนังสือและ เครื่องหมายตางๆ เปนสัญลักษณ ถายทอดความรู ความคิด และประสบการณตางๆ ที่ไดรับ ออกมาเปนอักษรเปนสัญลักษณ เพื่อใชเปนหลักฐาน หรือใหผูที่สนใจในการอานไดศึกษา และ รับรูเรื่องราวที่ผูเขียนตองการใหทราบ สามารถใชขอมูลที่เขียนเปนหลักฐานอางอิงได 2.2 จุดมุงหมายของการสอนเขียนของนักเรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สาระการเรียนรูภาษาไทย ชวงชั้น ที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไดกําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังรายและสาระการเรียนรูรายป เกี่ยวกับการเขียนของชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ดังนี้ สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐานการเรียนรูที่ ท 1.2 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และ เขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาได อยางมีประสิทธิภาพ ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. เขียนคําที่ยากขึ้นไดถูกความหมาย 2. เขียนสะกดการันตถูกตอง 3. เขียนประโยค ขอความ เรื่องราว ความรูสึก ความตองการได 4. ใชกระบวนการเขียนพัฒนางานเขียนของตนเอง 5. มีมารยาทในการเขียน 6. มีนิสัยรักการเขียน 7. มีทักษะการเขียนบันทึกความรู ประสบการณเรื่องราวในชีวิตประจําวันสั้นๆ สาระการเรียนรูรายป 1. เขียนคําไดถูกความหมายและสะกดการันตถูกตองใชความรูและประสบการณ
  • 24. ป เขียนประโยคขอความและเรื่องราวแสดงความคิด ความรูสึก และความตองการและจินตนาการ รวม ทั้งใชกระบวนการเขียนพัฒนางานเขียน 2. มีมารยาทในการเขียน และนิสัยรักการเขียน และใชทักษะการเขียนจดบันทึก ความรูประสบการณและเรื่องราวในชีวิตประจําวัน เนื่องจากการเขียนมีความสําคัญตอบุคคลเปนอยางมาก ในการใชติดตอสื่อสาร บันทึกระบายความรูสึก ถายทอดเรื่องราวในแตละยุคแตละสมัย ใหผูอาน หรือผูที่ตองการศึกษา ไดรูถึงเรื่องราวตางๆ ดังนั้นการเขียนจึงมีจุดมุงหมายหลายอยางแตกตางกันไป ดังที่มีผูกลาวไว ดังตอไปนี้ กัลยา ยวนมาลัย (2539 : 116) ไดแบงจุดมุงหมายของการเขียนตามลักษณะ ตามวัตถุประสงคของผูเขียนดังนี้ 1. เขียนเพื่อเลาเรื่อง คือนําเหตุการณหรือเรื่องราวตางๆ มาถายทอดออกมาดวย การเขียน 2. เขียนเพื่ออธิบาย เพื่อใหผูอานเขาใจและปฏิบัติตาม 3. การเขียนเพื่อโฆษณา– จูงใจ คือการเขียนเพื่อใหผูอานเกิดความรูสึกคลอยตาม 4. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นในจุดใดจุดหนึ่ง เพื่อเปนเครื่องชวยในการ ตัดสินใจ 5. เขียนเพื่อปลุกใจ เพื่อใหเกิดความมั่นคง หรือใหเกิดกําลังในการที่จะตอสูกับ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง 6. การเขียนเพื่อสรางจินตนาการ การเขียนลักษณะนี้ตองใชถอยคําที่สละสลวย ประณีตงดงาม หรือใชคําที่ชวนใหผูอานสรางจินตนาการ 7. การเขียนเพื่อลอเลียนหรือเสียดสี เขียนเพื่อตําหนิ หรือทักทวงแตใชวิธีการ นุมนวล เอกฉัท จาระเมธีธน (2539: 117) กลาววา จุดมุงหมายของการเขียน คือ การ ถายทอดความรู ความตองการ ความรูสึกออกเปนตัวหนังสือใหผูอาน และเขาใจจุดประสงคของ การเขียน การเขียนทุกครั้งตองคํานึงถึงผูอานเปนสําคัญวาผูอาน มีพื้นฐานความรู ความคิดอยางไร ควรเขียนอยางไรจึงจะเกิดผลตามความประสงค ตอจากนั้นจึงกําหนดรูปแบบ วิธีการเขียน การ ใชภาษาและเนื้อหาใหเหมาะสมกับผูอาน การเขียนจึงประสบความสําเร็จตามความตั้งใจ อลิสา วานิชดี (2539: 44) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายของการเขียน ไวดังนี้ 1. งานเขียนเชิงแสดงออก (Expressive) เชน บทสนทนา บันทึกสวนตัว คํา ประกาศความเชื่อ คําประกาศอิสรภาพ และระเบียบขอตกลง
  • 25. ผ 2. งานเขียนเชิงสํารวจใหขอมูล (Referential) เชน ขาว รายงาน สรุป สาระนุ กรม ตําราวิชาการ 3. งานวรรณกรรม (Literary) เชน เรื่องสั้น นวนิยาย กวีนิพนธ ละคร รายการ โทรทัศน ภาพยนตร 4. งานเขียนเชิงโนมนาวจิตใจ (Persuasive) เชนโฆษณา สุนทรพจนทาง การเมือง บทบรรณาธิการ คําสั่งสอนทางศาสนา ดนยา วงศธนะชัย (2542: 24) กลาววา การเขียน คือการถายทอดความรู ประสบการณ ความคิด ความรูสึกหรือจินตนาการออกเปนตัวหนังสือ โดยวิธีการตางๆ กัน การ จะใชวิธีการใดในการเขียนนั้นยอมแลวแตจุมุงหมายในการเขียน ดังนี้ คือ 1. การเขียนเพื่อเลาเรื่อง คือการเขียนเพื่อถายทอดเรื่องราว เหตุการณ ประสบการณและความรู 2. การเขียนเพื่ออธิบาย คือการเขียนที่ทําใหผูอานเขาใจเรื่องที่เขียน 3. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น คือการเขียนเพื่อบอกความคิดเห็นของผูเขียน เกี่ยวกับเรื่องราวตางๆ อาจประกอบดวยคําแนะนํา ขอคิด ขอเตือนใจ 4. การเขียนเพื่อโนมนาวและโฆษณา คือการเขียนที่มีจุดมุงหมายจะทําใหผูอาน ยอมรับสิ่งที่ผูเขียนเสนอ 5. การเขียนเพื่อสรางจินตนาการ คือการเขียนเพื่อถายทอดอารมณและความรูสึก สูผูอาน ใหผูอานสรางจินตนาการหรือสรางอารมณ และมโนภาพตามที่ผูเขียนตองการ วรรณี โสมประยูร (2542: 139) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายในการเขียนหลายอยาง ดังนี้ 1. เพื่อคัดลายมือหรือเขียนใหถูกตองตามลักษณะตัวอักษร ใหเปนระเบียบ ชัดเจนและอานเขาใจงาย 2. เพื่อเปนการฝกฝนทักษะการเรียนใหพัฒนางอกงามขึ้นตามควรแกวัย 3. เพื่อใหมีทักษะการเขียนสะกดคําถูกตองตามอักขรวิธี เขียนวรรคตอนถูกตอง และเขียนไดรวดเร็ว 4. เพื่อใหรูจักเลือกภาษาเขียนที่ดี มีคุณภาพเหมาะสมกับบุคคลและโอกาส 5. เพื่อใหสามารถรวบรวมและลําดับความคิด แลวบันทึก สรุป และยอใจความ เรื่องที่อานหรือฟงได 6. เพื่อถายทอดใหมีจินตนาการ ความคิดริเริ่มสรางสรรค และความรูสึกนึกคิด เปนเรื่องราวใหผูอื่นเขาใจความหมายอยางแจมแจง
  • 26. ฝ 7. เพื่อใหสามารถสังเกต จดจํา และเลือกเฟนถอยคํา หรือสํานวนโวหารให ถูกตองตามหลักภาษา และสื่อความหมายไดตรงตามที่ตองการ 8. เพื่อใหมีทักษะการเขียนประเภทตางๆ และสามารถนําหลักการเขียนไปใชให เกิดประโยชนในชีวิตประจําวัน 9. เพื่อเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชนดวยการเขียนตามที่ตนเองสนใจและมี ความถนัด 10. เพื่อใหเห็นความสําคัญและคุณคาของการเขียนวามีประโยชนตอการประกอบ อาชีพ การศึกษาหาความรู และอื่นๆ ผอบ โปษกฤษณะ (2544: 52-53) กลาววา จุดมุงหมายในการเขียนมีดังนี้ 1. เพื่ออธิบาย 2. เพื่อพรรณนา 3. เพื่อเปรียบความรูสึก 4. เพื่อเลาเรื่องใหผูอื่นทราบ สรุปไดวา จุดมุงหมายในการเขียนมีดังนี้ เขียนเพื่อเลาเรื่องราว เขียนเพื่ออธิบาย แสดงความคิดเห็น เขียนเพื่อโฆษณา จูงใจ และเขียนเพื่อถายทอดอารมณ ความรูสึก รวมทั้งเพื่อ ถายทอดความรูที่ไดเรียนรู ผูวิจัยจึงเลือกเอาจุดมุงหมายดังกลาวมาเปนแนวทางในการจัดทําแบบ ฝกการอานและเขียนคําที่ใชบรร รร (ร หัน) และบัน เพื่อนํามาใช เปนสื่อการเรียน ใหผูเรียนได เขียนถายทอดสิ่งที่เรียนรูใหผูอื่นไดรับทราบ เพื่อยืนยันวาไดเกิดการเรียนรูหรือเพื่อประเมินผลการ เรียนรูที่เกิดขึ้นในตัวผูเรียน 2.3 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการเขียน การเขียนถือเปนการสื่อสารที่มีองคประกอบหลายประการซึ่งมีผูกลาวไว ดังตอไปนี้ อวยพร พานิช (2539: 9-15) ไดกลาวถึงองคประกอบของการสื่อสารดวยการ เขียน ซึ่งพอสรุปไดดังตอไปนี้ 1. ผูสงสาร – ผูรับสาร - ผูสงสาร ไดแกนักเขียน นักพูด นักจัดรายการ - ผูรับสาร ไดแก ผูที่ที่รับขอมูลโดยการฟง อาน และการดู แลวนมา ตีความ 2. สาร คือ เนื้อหาที่ผูเขียนเพื่อตองการจะสื่อใหผูอานไดรู
  • 27. พ 3. สื่อ / ชองทางการสื่อสาร เชน สื่อธรรมชาติ สื่อมนุษย สื่อสิ่งพิมพ สื่อ อิเล็กทรอนิกส สื่อเคลื่อนที่ และสื่อพื้นบาน 4. ผลของการสื่อสาร คือพฤติกรรม ทาทีของผูรับสารที่แสดงออกตอ ขอความที่ผูเขียนสื่อใหรู ฐะปะนีย สาครทรรพ (2539: 357-359) ไดกลาวถึงองคประกอบของการสื่อสาร ที่สําคัญวา ไดแกสิ่งตอไปนี้ 1. ผูสงสาร ไดแก ผูเขียน ผูพูด 2. สารที่สงออกไป ไดแก ขอความที่เขียน หรือ คําพูด 3. ผูรับสาร ไดแก ผูอาน ผูฟง วรรณี โสมประยูร (2542: 142) ไดกลาวถึงองคประกอบใหญๆ 4 ประการ ดังนี้ 1. ผูเขียน (ผูสงสาร) 2. ภาษา (สาร) 3. เครื่องมือที่ทําใหเกิดสาร (เชนอักษร ดินสอ สมุด ปากกา) 4. ผูอาน (ผูรับสาร) จากการศึกษาองคประกอบสําคัญที่เกี่ยวของกับการเขียน สรุปไดวา การเขียนมี องคประกอบที่สําคัญดังนี้ คือ ผูเขียนขอความ เนื้อหาที่ใชเขียน สื่อหรืออุปกรณที่ใชในการทําให เกิดสารและผูอาน ดังนั้นในการจัดทําแบบฝกการอานและการเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บันผูวิจัยคือ ผูเขียนขอความ เนื้อหาที่ใชเขียนคือเนื้อหาจากแบบเรียนภาษาไทยภาษาพาทีและ วรรณคดีลํานํา ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 สื่อหรืออุปกรณคือแบบฝก ประกอบไปดวย สาระ ความรู แบบฝก และผูอาน คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 2.4 ความสําคัญและประโยชนของการเขียน การเขียนมีความสําคัญและมีประโยชนเปนอยางมากในการใชสื่อสารอยางหนึ่ง การเขียนเปนการใชขอความเปนสื่อใหผูอานไดเขาใจตรงกับผูเขียน การเขียนวกวน ไมชัดเจน หรือเยิ่นเยอ อานจับใจความยาก ผูอานก็ไมสามารถเขาใจไดชัดเจนและไมสามารถปฏิบัติไดตาม วัตถุประสงคของการเรียน ดังนั้นการเขียนจึงมีความสําคัญและมีประโยชนเปนอยางมากดังที่ไดมี นักศึกษาไดกลาวไวดังนี้ นภดล จันทรเพ็ญ (2335: 91) ไดกลาวถึงประโยชนและความสําคัญของการ เขียน ดังนี้