SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
บทที่ 8
กลยุทธ์การเลือก
ทาเลที่ตั้ง
สถานประกอบการ
จัดทำขึ้นจำกหนังสือกำรจัดกำรกำรผลิตและกำรปฏิบัติกำร
แปลถูกต้องตำมลิขสิทธ์ โดย รชฏ ขำบุญ และคณะ
ผู้จัดทำกำรนำเสนอภำพนิ่ง มิได้มีเจตนำละเมิดลิขสิทธ์แต่จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทำงกำรศึกษำเท่ำนั้น
เนื้อหา
ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ของการเลือก
ทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือก
ทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ
วีธีการประเมินทางเลือกทาเลที่ตั้ง
สถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทาเลที่ตั้งสถาน
ประกอบการด้านการบริการ
บทสรุป1
2
กรณีศึกษา
การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
โดยการเลือกทาเลที่ตั้งของ FedEx
• สถำนที่ตั้งของบริษัท ในกำรขนส่งสินค้ำข้ำมคืนนั้น จะตรง
ตำมแบบแผนของศูนย์กลำงของเส้นทำงกำรบินซึ่งเป็น
แนวคิดของ Fred Smith ผู้ก่อตั้งและเป็น CEO ของบริษัท
• โดยมีศูนย์กลำงของเส้นทำงกำรบินแห่งแรกที่เมือง
Memphis รัฐ Tennessee ประเทศสหรัฐอเมริกำ
• ศูนย์กลำงเส้นทำงกำรบินในยุโรปที่เมือง Paris ประเทศ
ฝรั่งเศส และในเอเชียที่เมือง Subic Bay ประเทศฟิลิปปินส์
3
ทาไมบริษัท FedEx จึงเลือกเมือง Memphis
เป็นที่ตั้งของสานักงานใหญ่ในการกระจายสินค้า?
• เมือง Memphis ตั้งอยู่ทำงตอนกลำงของประเทศ
สหรัฐอเมริกำ
• มีสภำพอำกำศที่เอื้ออำนวยต่อกำรขนส่งตลอดทั้งปี
ทำให้เกิดควำมปลอดภัยต่อกำรขนส่งด้วยเครื่องบิน
4
บริษัท Fed Ex
• บริษัทจะเน้นบริกำรกับเครื่องบินในระยะไกลและแวะ
ตำมเมืองต่ำงๆ
• มีกำรจัดตำรำงกำรบินที่บรรทุกพัสดุในแต่ละคืนอย่ำง
เหมำะสม
• เพื่อเป็นกำรประหยัดต้นทุน
• โดยเชื่อว่ำระบบศูนย์กลำงเส้นทำงกำรบินที่เมือง
Memphis จะช่วยลดควำมผิดพลำดในกำรส่งสินค้ำและ
ลดควำมล่ำช้ำจำกกำรเปลี่ยนเส้นทำงของเครื่องบิน
เนื่องจำกมีกำรควบคุมตั้งแต่กำรขนส่งพัสดุจำกจุดรับ
มอบจนถึงมือลูกค้ำ
5
ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ของ
การเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กระบวนกำรตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้งสถำนประกอบกำร
ของกิจกำร
 ที่ตั้งสถำนประกอบกำร มีผลโดยตรงต่อ
• ต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน
• ควำมเสี่ยงโดยรวมและผลกำไรของบริษัท
กระบวนกำรตัดสินใจคัดเลือกทำเลที่ตั้งสถำนประกอบกำร
นั้นจะขึ้นอยู่กับประเภทของกำรดำเนินธุรกิจ
กลยุทธ์ในกำรเลือกที่ตั้งของคลังสินค้ำนั้น จะพิจำรณำทั้งใน
เรื่องของต้นทุนและควำมรวดเร็วในกำรจัดส่งสินค้ำให้กับ
ลูกค้ำ 6
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกทาเล
ที่ตั้งสถานประกอบการ
เศรษฐกิจทำงกำรตลำด
กำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงประเทศที่ดีขึ้น
กำรเดินทำงและกำรขนส่งที่รวดเร็ว
และมีควำมน่ำเชื่อถือมำกยิ่งขึ้น
กำรมีสภำพคล่องของเงินทุนระหว่ำงประเทศ
ควำมแตกต่ำงของต้นทุนแรงงำนที่เพิ่มมำกขึ้น
7
หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกทาเล
ที่ตั้งสถานประกอบการ
 การตัดสินใจระดับประเทศ
1. ควำมเสี่ยงทำงกำรเมือง
กฎระเบียบทำงรำชกำร ทัศนคติและ
แรงจูงใจ
2. วัฒนธรรม และสภำพเศรษฐกิจ
3. ทำเลที่ตั้งของตลำด
4. แรงงำน ทัศคติ ผลิตภำพ และต้นทุน
5. วัตถุดิบ กำรติดต่อสื่อสำร และพลังงำน
6. อัตรำแลกเปลี่ยนและควำมเสี่ยงของ
มูลค่ำเงิน
8
การตัดสินใจระดับภูมิภาค
1. ควำมต้องกำรขององค์กำร
2. ควำมน่ำสนใจของพื้นที่
(วัฒนธรรม ภำษี หรือภูมิอำกำศ เป็นต้น)
3. แรงงำน ต้นทุน ทัศนคติที่มีต่อสหภำพ
4. ต้นทุนและควำมง่ำยในกำรจัดหำ
สำธำรณูปโภค
5. กฎข้อบังคับทำงด้ำนสิ่งแวดล้อมของรัฐและ
เมือง
6. แรงจูงใจจำกภำครัฐ
7. ควำมใกล้แหล่งวัตถุดิบและลูกค้ำ
8. ต้นทุนจำกกำรซื้อหรือเช่ำที่ดินและกำรสร้ำง
สถำนประกอบกำร 9
การตัดสินใจระดับพื้นที่
1. ขนำดและรำคำของพื้นที่
2. ระบบขนส่งทำงอำกำศ ทำงบก
และทำงน้ำ
3. เงื่อนไขและข้อกำหนดของพื้นที่
4. ควำมใกล้กับผู้จัดหำวัตถุดิบ
และสิ่งอำนวยควำมสะดวก
5. มำตรกำรและข้อบังคับด้ำนสิ่งแวดล้อม
10
ผลิตภาพจากแรงงาน
(Labor productivity)
จำกกรณีศึกษำของ Quality Coils พบว่ำ กำรให้
ควำมสำคัญทำงด้ำนค่ำจ้ำงแรงงำน จะต้องคำนึงถึง
ควำมสำมำรถของแรงงำนในพื้นที่ด้วย โดยทำกำร
เปรียบเทียบระหว่ำงผลิตภำพที่ได้กับต้นทุนค่ำจ้ำงที่ต้อง
เสียไป
11
ในอดีต ประธำน Quality Coils ได้ตระหนักถึงค่ำจ้ำง
แรงงำนที่ต่ำถ้ำจ้ำงชำวเม็กซิกันเป็นคนดำเนินกำรผลิตสินค้ำ
เขำจึงปิดโรงงำนในรัฐ Connecticut และไปเปิดโรงงำนแห่งใหม่
ในเมือง Juarez ประเทศเม็กซิโก ซึ่งเขำหวังว่ำจะทำกำไรได้
เป็นอย่ำงมำก
ในระหว่ำงดำเนินกิจกำรนั้น เขำเกือบล้มละลำย
พนักงำนส่วนใหญ่ละเลยต่อกำรทำงำน ผลิตภำพต่ำลง
และปัญหำของเรื่องระยะทำง โดยท้ำยสุดเขำจึงตัดสินใจปิด
โรงงำนลง จึงกลับไปเปิดโรงงำนในประเทศสหรัฐอเมริกำ
และจ้ำงคนงำนที่เคยทำงำนให้กับเขำอีกครั้งหนึ่ง
Quality Coils ยกเลิกกิจการ
ในประเทศเม็กซิโก
12
ต้นทุนค่าจ้างแรงงานต่อวัน = ต้นทุนต่อหน่วย
ผลิตภาพต่อวัน
Quality Coils ต้องจ่ายค่าแรง 70 ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน เพื่อ
ผลิตสินค้าให้ได้ 60 หน่วย ในขณะที่บริษัทต้องจ่ายค่าแรง 25
ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน ในการผลิตสินค้า 20 หน่วย
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างค่าจ้างและผลิตภาพต่อวัน จะได้ผลดังนี้
กรณีที่ 1: การผลิตสินค้าที่โรงงานในรัฐ Connecticut ประเทศ
สหรัฐอเมริกา
ค่ำจ้ำง 70 ดอลลำร์สหรัสต่อวัน = 70 = 1.17 ดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วย
ผลิตภำพ 60 หน่วยต่อวัน 60
ผลิตภาพจากแรงงาน
(Labor productivity)
13
กรณีที่ 2 : กำรผลิตสินค้ำที่โรงงำนในเมือง Juarez ประเทศเม็กซิโก
ค่ำจ้ำง 25 ดอลลำร์สหรัสต่อวัน = 25 = 1.25 ดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วย
ผลิตภำพ 20 หน่วยต่อวัน 20
กำรผลิตสินค้ำของบริษัท Quality Coils ในประเทศ
สหรัฐอเมริกำนั้น จะมีต้นทุนที่ต่ำกว่ำ ถึงแม้ว่ำคนงำนชำว
เม็กซิกันจะมีค่ำจ้ำงแรงงำนที่ถูกว่ำ แต่กำรฝึกอบรมและกำรศึกษำ
ที่อยู่ในระดับต่ำ ทักษะและนิสัยกำรทำงำนที่ไม่มีประสิทธิภำพนั้น
ก็ไม่สำมำรถที่จะทำให้ผลิตภำพของบริษัทเพิ่มขึ้นได้ ดังนั้นในกำร
พิจำรณำคัดเลือกพนักงำนนั้น จะต้องพิจำรณำทั้งค่ำจ้ำงแรงงำน
และคุณภำพของพนักงำนควบคู่กันไป
ผลิตภาพจากแรงงาน
(Labor productivity)
14
บำงบริษัทได้รับผลประโยชน์จำกอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำ
ควำมเสี่ยงและควำมไม่แน่นอนของอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำก็
เป็นปัจจัยสำคัญอย่ำงหนึ่งในกำรพิจำรณำเลือกทำเลที่ตั้ง
สถำนประกอบกำร
กำรเพิ่มขึ้นหรือลดลงของค่ำเงินในแต่ละประเทศขึ้นอยู่กับ
สภำพเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ ซึ่งบำงครั้ง สถำน
ประกอบกำรในช่วงปี ค.ศ.2006 อำจจะสร้ำงกำไรให้กับบริษัท
ผู้ดำเนินกำร แต่ในอนำคตอีก 5 ปีข้ำงหน้ำ ที่ตั้งแห่งนั้นอำจจะ
ทำให้บริษัทผู้ดำเนินกำรประสบควำมล้มเหลวในกำรทำธุรกิจก็
เป็นได้
ความเสี่ยงทางด้านอัตราแลกเปลี่ยน
เงินตรา
15
ต้นทุนในกำรตั้งสถำนประกอบกำรสำมำรถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. ต้นทุนที่คิดค่าได้ (Tangible costs) คือ ต้นทุนสำมำรถระบุ
และวัดได้ ตัวอย่ำงเช่น
• ค่ำสำธำรณูปโภคต่ำงๆ
• ค่ำแรงงำน
• ค่ำวัตถุดิบ
• ภำษี
• ค่ำเสื่อมรำคำ
• หรือค่ำใช้จ่ำยอื่นๆ ที่แผนกบัญชีและฝ่ำยบริหำร
สำมำรถระบุได้
• ค่ำขนส่งวัตถุดิบ
• ค่ำขนส่งสินค้ำ
• ค่ำก่อสร้ำงสถำนประกอบกำร
ต้นทุน
16
ต้นทุนในกำรตั้งสถำนประกอบกำรสำมำรถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
2. ต้นทุนที่คิดค่าไม่ได้ (Intangible cost) เป็นต้นทุนที่ยำกต่อ
กำรระบุในเชิงตัวเลข เช่น
• คุณภำพของกำรศึกษำ
• สิ่งอำนวยควำมสะดวกทำงกำรขนส่งที่รัฐบำล
จัดเตรียมให้
• ทัศนคติของชุมชนที่มีต่อโรงงำนและบริษัท
• คุณภำพและทัศนคติของพนักงำน
• ตัวแปรต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภำพชีวิต
เช่น สภำพภูมิอำกำศที่อำจมีผลต่อกำรคัดเลือก
แรงงำน เป็นต้น
ต้นทุน
17
ปัจจัยที่สำมำรถมีผลต่อกำรตัดสินใจของบริษัทในกำรเลือก
ทำเลที่ตั้งใหม่ ได้แก่
• ทัศนคติของชำติ รัฐ หรือชุมชน
• ทรัพย์สินส่วนบุคคลและทรัพย์สินทำงปัญญำ
• กำรจัดเขตมลภำวะ
• ควำมมั่นคงของกำรจ้ำงงำน
• วัฒนธรรมของแต่ละประเทศ
ทัศนคติที่มีต่อกำรทำงำนอำจจะแตกต่ำงกันไปขึ้นอยู่กับแต่ละ
ประเทศ ภูมิภำค ขนำดของเมือง วัฒนธรรมที่หลำกหลำยจะเป็น
ตัวกำหนดตำรำงกำรผลิตและกำรส่งมอบสินค้ำที่แตกต่ำงกัน
ออกไป ดังนั้นผู้จัดกำรฝ่ำยปฏิบัติกำรจึงต้องเผชิญกับควำมท้ำทำย
ในเรื่องของกำรจัดกำรโซ่อุปทำน
ทัศนคติ
18
หลำยบริษัทได้ให้ควำมสำคัญเรื่องของทำเลที่ตั้งที่จะต้อง
อยู่ใกล้กับลูกค้ำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งสถำนประกอบกำรที่เกี่ยวข้อง
กับกำรให้บริกำร สำหรับโรงงำนอุตสำหกรรมก็ควรที่ตั้งอยู่ใกล้กับ
ลูกค้ำเช่นเดียวกันเพรำะจะทำให้ง่ำยและประหยัดค่ำใช้จ่ำยในกำร
ขนส่งสินค้ำ
นอกจำกนี้ ผู้จัดหำวัตถุดิบที่ต้องกำรที่จะอยู่ใกล้กับผู้ใช้
เพื่อควำมสะดวกรวดเร็วในกำรส่งมอบวัตถุดิบ และกำรผลิตที่
ทันเวลำ
ตัวอย่าง Coca-Cola ซึ่งมีวัตถุดิบที่สำคัญ คือ น้ำ ดังนั้นบริษัทได้
สร้ำงโรงงำนในหลำยๆ เมืองทั่วประเทศ เพื่อลดกำรขนส่ง
สินค้ำ เนื่องจำกขวดน้ำอัดลมนั้น ง่ำยต่อกำรแตกร้ำว เสียหำย
และเมื่อบรรจุลงในลังจะมีน้ำหนักมำก
ความใกล้แหล่งตลาด
19
ปัจจัยที่สถำนประกอบกำรนำมำพิจำรณำเพื่อเลือกที่ตั้งให้อยู่
ใกล้แหล่งวัตถุดิบและผู้จัดหำวัตถุดิบได้แก่
1. วัตถุดิบบำงประเภทเน่ำหรือเสียง่ำย เช่น โรงงำนผลิตอำหำร
สด และอำหำรทะเลแช่แข็ง
2. ต้นทุนในกำรขนส่งที่ประหยัด เช่น โรงงำนผลิตเหล็ก
เนื่องจำกวัตถุดิบมีขนำดใหญ่และหนัก
3. วัตถุดิบที่มีขนำดใหญ่และต้องกำรแปรรูปเป็นสินค้ำที่มีขนำด
เล็กลง เช่น โรงเลื่อยไม้ที่ตั้งอยู่ใกล้กับป่ำไม้ เป็นต้น
ความใกล้ผู้จัดหาวัตถุดิบ
20
Alabama ได้สร้ำงแรงจูงใจให้กับบริษัท Mercedes-Benz
ในกำรเข้ำมำสร้ำงโรงงำนแห่งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกำ
โดยรัฐ Alabama ได้เสนอเงินจูงใจให้กับทำงบริษัทเป็นจำนวน
ถึง 235 ล้ำนดอลลำร์สหรัฐ
บริษัท Honda ได้มำเปิดโรงงำนห่ำงจำกโรงงำน
Mercedes-Benz 70 ไมล์ เพื่อผลิตรถยนต์ ขณะเดียวกัน
บริษัท Toyota ก็ได้เปิดโรงงำนแห่งใหม่ใกล้เมือง Huntsville
ซึ่งผลิตเครื่องยนต์ ทั้งบริษัท Honda และ Toyota ต่ำงได้รับ
เงินจูงใจจำกทำงภำครัฐเช่นเดียวกัน
รัฐ Alabama จึงมีชื่อเสียงในฐำนะเป็นศูนย์กลำงแหล่ง
ผลิตรถยนต์ที่มีจำนวนมำกที่สุดทำงตอนใต้ของสหรัฐอเมริกำ
แรงจูงใจมหาศาลที่ทาให้รัฐ Alabama
เป็นแหล่งผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์
21
บริษัทหลำยแห่งเลือกที่จะตั้งอยู่ใกล้กับบริษัทคู่แข่ง หรือ
ที่เรียกว่ำ เครือข่ำยวิสำหกิจ (Clustering) เนื่องจำกในบริเวณ
แหล่งที่ตั้งนั้นมีทรัพยำกรที่สำคัญอยู่ เช่น
• ทรัพยำกรธรรมชำติ
• ทรัพยำกรทำงด้ำนข่ำวสำร ข้อมูล
• ทรัพยำกรทำงด้ำนเงินลงทุน
• ทรัพยำกรบุคคล
ตัวอย่างอุตสำหกรรมกำรผลิตไวน์ในพื้นที่อำเภอปำกช่องจังหวัด
นครรำชสีมำ เป็นตัวอย่ำงของเครือข่ำยวิสำหกิจที่มีแหล่ง
ทรัพยำกรธรรมชำติและสภำพภูมิอำกำศที่เหมำะสม
ความใกล้คู่แข่ง
22
สามารถทาได้ 4 วิธี
1. วิธีกำรให้คะแนนปัจจัย
2. วิธีกำรวิเครำะห์จุดคุ้มทุนของสถำนที่
3. วิธีหำจุดศูนย์ดุล
4. วิธีตัวแบบกำรขนส่ง
วิธีการประเมินทางเลือกทาเลที่ตั้ง
23
ในกำรพิจำรณำทำเลที่ตั้งสถำนประกอบกำรนั้น จะมี
ปัจจัยต่ำงๆเข้ำมำเกี่ยวข้อง ทั้งที่เป็นปัจจัยเชิงปริมำณและ
ปัจจัยเชิงคุณภำพ
ปัจจัยที่มีผลต่อการพิจารณาเลือกทาเลที่ตั้ง ได้แก่
- ต้นทุนค่ำแรง (ค่ำจ้ำง สหภำพแรงงำน และผลิตภำพ)
- แรงงำน (ทัศนคติ อำยุ ทักษะควำมรู้ และปริมำณ)
- ควำมใกล้แหล่งวัตถุดิบและผู้จัดหำวัตถุดิบ
- ควำมใกล้ตลำด
- นโยบำยภำครัฐ (แรงจูงใจ ภำษี และค่ำชดเชยจำกกำรว่ำงงำน)
- ข้อกำหนดทำงด้ำนสิ่งแวดล้อม
วิธีการให้คะแนนปัจจัย
(The Factor-Rating method)
24
ปัจจัยที่มีผลต่อการพิจารณาเลือกทาเลที่ตั้ง ได้แก่
- สำธำรณูปโภค (ไฟฟ้ำ น้ำประปำ และค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวกับ
สำธำรณูปโภค)
- ต้นทุนสถำนที่ (ค่ำที่ดิน กำรขยำยพื้นที่ ที่จอดรถ และระบบท่อน้ำ
ทิ้ง)
- กำรคมนำคมขนส่ง (ทำงบก ทำงน้ำ ทำงอำกำศ และเส้นทำงถนน
ต่ำงๆ)
- นโยบำยทำงด้ำนคุณภำพชีวิต (กำรศึกษำในทุกระดับ ค่ำครองชีพ
วัฒนธรรม และสิ่งอำนวยควำมสะดวกต่ำงๆ)
- อัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำระหว่ำงประเทศ
- รัฐบำล (ควำมมั่นคง หรือเสถียรภำพของรัฐบำล)
วิธีการให้คะแนนปัจจัย
(The Factor-Rating method)
25
วิธีการให้คะแนนปัจจัยประกอบด้วย 6 ขั้นตอน
1. กำรจัดทำรำยกำรปัจจัยหลักที่เกี่ยวข้องในกำรพิจำรณำเลือก
ทำเลที่ต้องสถำนประกอบกำร
2. กำรกำหนดน้ำหนักให้กับแต่ละปัจจัย
3. กำรกำหนดค่ำคะแนนในแต่ละปัจจัย (เช่น คะแนนอำจจะอยู่
ในช่วง 1 ถึง 10 หรือ 1 ถึง 100
4. กำรใช้ค่ำคะแนนที่กำหนดไว้ในข้อที่ 3 ประเมิน และให้คะแนน
กับปัจจัยต่ำงๆ ในแต่ละสถำนที่ตั้ง
5. กำรคำนวณหำคะแนนน้ำหนัก (Weighted scores) โดยกำรคูณ
ค่ำน้ำหนักกับคะแนนที่ประเมินไว้ของแต่ละปัจจัย
6. จัดทำข้อเสนอแนะ โดยใช้ข้อมูลจำกค่ำคะแนนสูงสุด และ
พิจำรณำถึงผลลัพธ์ในเชิงปริมำณ
วิธีการให้คะแนนปัจจัย
(The Factor-Rating method)
26
ปัจจัย
คะแนนที่ได้จากการประเมิน
คะแนนเต็ม 100 คะแนนน้าหนัก
ค่า
น้าหนัก
ฝรั่งเศส เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เดนมาร์ก
การหาแรงงานและทัศนคติ .25 70 60 (.25)(70) = 17.5 (.25)(60) = 15.0
อัตราส่วนประชากรกับรถยนต์ .05 50 60 (.05)(50) = 2.5 (.05)(60) = 3.0
รายได้ต่อประชากร .10 85 80 (.10)(85) = 8.5 (.10)(80) = 8.0
โครงสร้างภาษี .39 75 70 (.39)(75) = 29.3 (.39)(70) = 27.3
การศึกษาและสุขภาพ .21 60 70 (.21)(60) = 12.6 (.21)(70) = 14.7
รวม 1.00 70.4 68.0
ตัวอย่าง สวนสนุก Five Flags
ในรัฐ Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา
27
ถ้ำหำกมีกำรเปลี่ยนคะแนน หรือค่ำน้ำหนักในแต่
ละปัจจัย ค่ำคะแนนน้ำหนักจะเปลี่ยนไปด้วย ทำให้
แนวทำงในกำรตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้งอำจ
เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นผู้จัดกำรควรหำวิธีกำรที่
สำมำรถวัดผลในเชิงปริมำณออกมำให้ได้อย่ำงชัดเจน
วิธีการให้คะแนนปัจจัย
(The Factor-Rating method)
28
เป็นวิธีวิเครำะห์ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยและปริมำณกำรผลิตเพื่อ
กำรเปรียบเทียบทำงเศรษฐศำสตร์ของแต่ละสถำนที่ ที่นำมำ
พิจำรณำ โดยกำรวิเครำะห์ต้นทุนคงที่ (Fixed costs) และ
ต้นทุนแปรผัน (Variable costs) แล้วนำข้อมูลมำเขียนกรำฟแต่
ละสถำนที่ เพื่อช่วยในกำรคัดเลือกสถำนที่ที่มีต้นทุนต่ำที่สุด
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่มี 3 ขั้นตอน ดังนี้คือ
1. กำรวิเครำะห์หำต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผันของแต่ละ
สถำนที่
2. กำรกำหนดจุดต้นทุนในแต่ละสถำนที่ลงในกรำฟ โดย
กำหนดใช้แกน Y คือต้นทุน และแกน X คือ ปริมำณกำร
ผลิต
3. กำรเลือกสถำนที่ที่มีต้นทุนต่ำที่สุด เมื่อมีปริมำณกำรผลิต
ตำมแผนที่วำงไว้
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่
(Location Break-Even analysis)
29
ตัวอย่าง บริษัทผู้ผลิตหัวฉีดรถยนต์แห่งหนึ่งได้พิจำรณำทำเลที่ตั้ง
โรงงำนใหม่จำก 3 แหล่ง คือ Akron, Bowling Green,
Chicago พบว่ำต้นทุนคงที่ต่อปีของแต่ละเมือง คือ $30,000,
$60,000, $110,000 ตำมลำดับ และต้นทุนแปรผันของแต่ละ
เมือง คือ $75, $45, $25 ตำมลำดับ บริษัทตั้งรำคำขำยไว้ที่
$120 ซึ่งบริษัทคำดว่ำจะผลิตหัวฉีดให้ได้ 2,000 ชิ้น ต่อปี
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่
(Location Break-Even analysis)
30
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่มี 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. กำรวิเครำะห์ต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผันของแต่ละสถำนที่
สูตร
ตัวอย่ำง
ต้นทุนรวมของเมือง Bowling Green = 60,000 + (45*2,000) = $150,000
ต้นทุนรวมของเมือง Akron = 30,000 + (75*2,000) = $180,000
ต้นทุนรวมของเมือง Chicago = 110,000 + (25*2,000) = $160,000
เมื่อพิจำรณำแล้วพบว่ำเมือง Bowling Greenมีต้นทุนรวมต่ำที่สุด $150,000
ขั้นตอนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของ
สถานที่
ต้นทุนรวม=ต้นทุนคงที่+ต้นทุนแปรผัน
(ปริมาณที่คาดว่าจะผลิต)
31
2. กำหนดจุดคุ้มทุนของแต่ละสถำนที่ลงในกรำฟโดยกำหนดให้แกน Y คือต้นทุน
แกน X คือปริมำณ
ขั้นตอนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่
32
3. เลือกสถำนที่ที่มีต้นทุนต่ำที่สุด เมื่อมีปริมำณกำรผลิตตำมแผนที่
วำงไว้
สูตร
= (120*2,000) – 150,000 = $90,000 ต่อปี
หำจุดตัดบนกรำฟระหว่ำงเมือง Akron กับ Bowling Green
30,000 + 75(x) = 60,000 + 45(x)
30(x) = 30,000
X = 1,000
หำจุดตัดบนกรำฟระหว่ำงเมือง Bowling Green กับ Chicago
60,000 + 45(x) = 110,000 + 25(x)
20(x) = 50,000
x = 2,500
ขั้นตอนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
ของสถานที่
กาไรที่คาดไว้ = รายได้รวม – ต้นทุนรวม
33
ใช้สำหรับหำทำเลที่ตั้งเป็นศูนย์กระจำยสินค้ำ เพื่อลด
ต้นทุนในกำรกระจำยสินค้ำให้ต่ำที่สุด ปัจจัยในกำรพิจำรณำ
ร่วมกับเทคนิคนี้ ได้แก่ ทำเลที่ตั้งของแหล่งตลำด ปริมำณหรือ
จำนวนสินค้ำที่จัดส่งให้กับตลำด และต้นทุนค่ำขนส่งสินค้ำ
กำรคำนวณหำจุดศูนย์ดุล คือ กำรกำหนดพิกัดใน
แนวนอนและแนวตั้ง คำนวณจำกสมกำรดังต่อไปนี้
วิธีการหาจุดศูนย์ดุล
(Center-of-Gravity method)
34
วิธีหำจุดศูนย์ดุลนั้นใช้สมมุติฐำนที่ว่ำ ต้นทุน
ค่ำใช้จ่ำยเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทำงและปริมำณ
สินค้ำที่จะส่ง ซึ่งสถำนที่ในอุดมคตินั้น จะมีน้ำหนักของ
ระยะทำงระหว่ำงคลังสินค้ำและร้ำนค้ำปลีกมีค่ำน้อย
ที่สุด โดยดูจำกจำวนตู้ขนส่งสินค้ำที่ถูกจัดส่งออกไป
วิธีการหาจุดศูนย์ดุล
(Center-of-Gravity method)
35
วัตถุประสงค์ของตัวแบบการส่ง คือ
• เพื่อช่วยในกำรตัดสินใจที่จะใช้รูปแบบกำรขนส่งสินค้ำ
จำกแหล่งจัดส่งต่ำงๆ ไปยังผู้รับที่อยู่ในแต่ละที่
• เพื่อลดต้นทุนรวมของกำรผลิตและกำรขนส่ง ทุกๆ
บริษัทที่มีเครือข่ำยในกำรจัดส่งวัตถุดิบหรือสินค้ำ
มักจะเผชิญกับปัญหำในเรื่องของต้นทุน
ตัวแบบการขนส่ง
(The Transportation model)
36
ตัวอย่าง
บริษัทผลิตรถยนต์ Volkswagen เครือข่ำยที่
ซับซ้อนดังรูป ที่สำขำประเทศเม็กซิโกซึ่งรับชิ้นส่วน
และส่วนประกอบมำจำกสำนักงำนใหญ่ในประเทศ
เยอรมัน จำกนั้นสำขำที่ประเทศเม็กซิโกจะส่งรถยนต์
สำหรับประกอบและชิ้นส่วนไปยังสำขำที่ประเทศ
ไนจีเรีย และส่งส่วนประกอบไปยังสำขำของบริษัทที่
ประเทศบรำซิล
ตัวแบบการขนส่ง
(The Transportation model)
37
ภาพแสดงเครือข่ายการผลิตรถยนต์
Volkswagen ทั่วโลก
38
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงานนั้น จะเน้นในเรื่องการลดต้นทุน
การดาเนินกิจการให้ต่าที่สุดเป็นหลักแต่ถ้าเลือกสถานที่
ประกอบการด้านบริการจะคานึงในเรื่องขอรายได้ที่สูงสุดเป็น
หลัก
ปัจจัย8ข้อที่มีผลต่อขนาดและรายได้ในการเลือกสถานที่
ประกอบการด้านบริการ
1. อานาจการซื้อของลูกค้าในพื้นที่
2. การให้บริการและภาพลักษณ์ของบริษัทในพื้นที่
3. สภาพการแข่งขันในพื้นที่
4. คุณภาพของการแข่งขัน
กลยุทธ์การเลือกทาเลที่ตั้งสถาน
ประกอบการด้านการบริการ
39
ปัจจัย8ข้อที่มีผลต่อขนาดและรายได้ในการเลือกสถานที่
ประกอบการด้านบริการ
6. ความสามารถหลักของบริษัทและสถานที่ตั้งของบริษัทคู่แข่ง
7. คุณภาพของสิ่งอานวยความสะดวกและธุรกิจที่อยู่ล้อมรอบ
8. นโยบายการดาเนินงานของบริษัท
9. คุณภาพด้านการบริหารและการจัดการ
กลยุทธ์การเลือกทาเลที่ตั้งสถาน
ประกอบการด้านการบริการ
40
เปรียบเทียบการเลือกทาเลที่ตั้ง
ด้านบริการและด้านการผลิตสินค้า
สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการบริการ/ค้าปลีก/วิชาชีพ สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการผลิตสินค้า
พิจารณาด้านรายได้ พิจารณาด้านต้นทุน
ขนาด/รายได้ ต้นทุนที่คิดค่าได้
พื้นที่, อำนำจกำรซื้อ ต้นทุนกำรขนส่งวัตถุดิบ
กำรแข่งขัน, กำรโฆษณำ/รำคำขำย ต้นทุนกำรขนส่งผลิตภัณฑ์
ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยด้ำนพลังงำนและสำธำรณูปโภค
คุณภาพเชิงกายภาพ
กำรเข้ำ-ออก/ที่จอดรถ, ระบบควำมปลอดภัย ต้นทุนที่คิดค่าไม่ได้และต้นทุนในอนาคต
ภำพลักษณ์ ทัศนคติ
คุณภำพชีวิต
ต้นทุนตัวแปรต่างๆ ระดับกำรศึกษำของประชำกรในพื้นที่
ค่ำเช่ำที่ คุณภำพของรัฐบำลและผู้ปกครองในพื้นที่
ควำมสำมำรถด้ำนกำรบริกำรและกำรจัดกำร
นโยบำยในกำรดำเนินธุรกิจ เช่น อัตรำจ้ำง ชั่วโมงทำงำน 41
เปรียบเทียบการเลือกทาเลที่ตั้ง
ด้านบริการและด้านการผลิตสินค้า
สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการบริการ/ค้าปลีก/วิชาชีพ สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการผลิตสินค้า
เทคนิคการเลือกทาเลที่ตั้ง เทคนิคการเลือกทาเลที่ตั้ง
ตัวแบบของสมกำรถดถอย ตัวแบบกำรขนส่ง
วิธีกำรให้คะแนนปัจจัย วิธีกำรให้คะแนนปัจจัย
กำรวิเครำะห์สถิติประชำกรในพื้นที่ วิธีกำรวิเครำะห์จุดคุ้มทุนของสถำนที่
วิธีกำรหำจุดศูนย์ดุล
กำรวิเครำะห์ระบบสำรสนเทศทำงภูมิศำสตร์
ข้อสมมุติฐาน ข้อสมมุติฐาน
ทำเลที่ตั้งเป็นปัจจัยหลักของรำยได้ ทำเลที่ตั้งเป็นปัจจัยหลักของต้นทุน
กำรติดต่อกับลูกค้ำอย่ำงใกล้ชิดเป็นเรื่องสำคัญ ต้นทุนจะถูกพิจำรณำอย่ำงละเอียดในแต่ละที่ตั้ง
ต้นทุนมีค่ำคงที่ในบำงส่วน ทำให้รำยได้เป็นส่วนสำคัญ สำมำรถประเมินต้นทุนที่คิดค่ำไม่ได้
42
ต้นทุนกำรเลือกทำเลที่ตั้งสถำนประกอบกำรอำจจะมำก
ถึง10% ของต้นทุนกำรดำเนินธุรกิจ ธุรกิจด้ำนกำรบริกำร
จะเลือกทำเลที่ตั้งโดยคำนึงถึงรำยได้เป็นหลัก ในขณะที่ธุรกิจ
ด้ำนกำรผลิตจะคำนึงถึงต้นทุนทั้งที่สำมำรถคิดได้และคิดค่ำ
ไม่ได้
เทคนิคที่สำมำรถนำมำเลือกทำเลที่ตั้งของสถำน
ประกอบกำรได้คือ กำรให้คะแนนปัจจัย กำรวิเครำะห์
จุดคุ้มทุนของสถำนที่ กำรหำจุดศูนย์ดุลและกำรใช้โปรแกรม
เชิงเส้นในกำรขนส่ง
สำหรับกำรเลือกทำเลที่ตั้งธุรกิจด้ำนบริกำรที่ดีมีอยู่หลำย
วิธีเช่น กำรวิเครำะห์อำนำจในกำรซื้อของลูกค้ำในพื้นที่
กำรโฆษณำและกำรส่งเริมกำรตลำด นโยบำยต่ำงๆของทำง
บริษัท เป็นต้น
บทสรุป
43

More Related Content

What's hot

บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 

What's hot (20)

บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 

Similar to กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ

กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีlogbaz
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11Amp Tiparat
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตMobile_Clinic
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์ รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์ pthaiwong
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Similar to กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ (20)

01
0101
01
 
กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชี
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
บัญชี
บัญชีบัญชี
บัญชี
 
Tqm1
Tqm1Tqm1
Tqm1
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
Internal Audit Planning
Internal Audit PlanningInternal Audit Planning
Internal Audit Planning
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
Ppt bsc
Ppt bscPpt bsc
Ppt bsc
 
รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์ รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
Ossf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdfOssf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdf
 

More from tumetr

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pagetumetr
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015tumetr
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebooktumetr
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_ptumetr
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)tumetr
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)tumetr
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectstumetr
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introductiontumetr
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffmantumetr
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพtumetr
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-treetumetr
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)tumetr
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)tumetr
 

More from tumetr (20)

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebook
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_p
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projects
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introduction
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffman
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-tree
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
 

กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ

Editor's Notes

  1. มีประสบการณ์ในการดำเนินธุรกิจด้านการจัดส่งสินค้ามาเป็นเวลากว่า 40 ปี มีเครื่องบินมากกว่า 600 ลำไปสู่สนามบิน 378 แห่งทั่วโลก และมีรถตู้บริการด้านการส่งสินค้ามากกว่า 42,000 คัน
  2. แหล่งที่มารูปภาพ : http://tipsy53.blogspot.com/2010_12_12_archive.html
  3. จัดตารางบินให้กับเที่ยวบินไปยังเมืองเดิมอีกครั้งถ้ามีจำนวนพัสดุตามกำหนด
  4. การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานจะมุ่งเน้นในเรื่องของการลดต้นทุนให้ต่ำที่สุด ร้านค้าปลีกหรือบริษัทที่ให้บริการ จะมุ่งเน้นในเรื่องของการสร้างผลกำไรให้เกิดขึ้นมากที่สุด
  5. นอกจากนี้แล้วยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ ได้แก่ ผลิตภาพจากแรงงาน อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ วัฒนธรรม ทัศนคติ และความใกล้แหล่งวัตถุดิบ ตลาด และสูกค้า
  6. กรณีศึกษาเรื่อง “แรงจูงใจมหาศาลที่ทำให้รัฐ Alabama เป็นแหล่งผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์” จะแสดงให้เห็นว่าแรงจูงใจจากรัฐบาลก็มีผลต่อต้นทุนการตั้งสถานประกอบการได้เช่นเดียวกัน
  7. ธุรกิจบริการ: ตัวอย่างเช่น ร้ายขายยา ร้านอาหาร ไปรษณีย์ หรือร้านตัดผม อุตสาหกรรม: โดยเฉพาะสินค้าที่มีขนาดใหญ่ มีน้ำหนักมากหรือสินค้าที่แตกหรือชำรุดง่าย
  8. นอกจากนี้ บริษัท Hyundai จากประเทศเกาหลีใต้ก็เลือกมาตั้งโรงงานแห่งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาที่เมือง Montgomery
  9. หรือในกรณีของร้านอาหารจานด่วนที่เป็นแฟรนไชส์ต่างประเทศ เช่น Pizza Hut, McDonald’s หรือ Burger King จะตั้งอยู่ห่างกันไม่เกิน 1.6 กิโลเมตร เพื่อกระตุ้นยอดขายอาหารและสร้างเส้นทางสัญจร (Traffic flows) ให้สูงขึ้นได้
  10. ได้ตัดสินใจที่จะขยายกิจการไปยังต่างประเทศ โดยจะเปิดสวนสนุก Five Flags แห่งแรกในทวีปยุโรป ตารางที่ 8.2 คือ ตารางการให้คะแนนปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้งระหว่างเมือง Dijon ในประเทศฝรั่งเศส และเมือง Copenhagea ในประเทศเดนมาร์ก แสดงให้เห็นว่า การให้คะแนนปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้งได้กำหนดค่าคะแนนที่ประเมินปัจจัยเหล่านั้นไว้ 100 คะแนน พบว่า Five Flags ควรเข้าไปดำเนินกิจกรรมที่ประเทศฝรั่งเศส
  11. จากการคำนวณหาจุดคุ้มทุนของแต่ละสถานที่ จะเห็นว่าถ้าบริษัทต้องการผลิตหัวฉีดในปริมาณมากกว่า 2,500 ชิ้นต่อปี ควรสร้างโรงงานที่เมือง Chicago จึงจะสามารถทำกำไรสูงสุด