SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ทฤษฎี โดมิโน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ดลพร คาโด เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 5
นางสาว มัยญาวี หินเดช เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 5
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว ดลพร คาโด เลขที่ 26
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ทฤษฎี โดมิโน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Domino theory.
ประเภทโครงงาน พัฒนาเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ดลพร คาโด
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากผู้จัดทาโครงงานมีความสนใจในเรื่องประวัติศาสตร์เกี่ยวกับประเทศของตนเอง และประเทศเพื่อน
บ้าน จึงอยากนาเสนอ เหตุการณ์หรือ ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ร่วมสมัย ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่สาคัญ แต่ไม่ค่อยมี
คนรู้จักมากนัก อีกทั้งยังมีส่วนได้ส่วนเสียในประเทศไทยอีกด้วย ทฤษฏีที่ผู้จัดทาได้นาเสนอนั้นคือ ทฤษฎีโดมิโน เป็น
ทฤษฏีที่พูดถึงการเหตุการณ์ที่เกิดเกิดในทวีปเอเชีย สมัยสงครามเย็น ทฤษฎีโดมิโน เกิดขึ้นในเอเชียเมื่อหลายสิบปี
ก่อน เริ่มจากที่จีน เกาหลีเหนือ และเวียดนาม เป็นคอมมิวนิสต์ จึงมีความเชื่อว่าประเทศอื่น ๆ เช่นลาว กัมพูชา ไทย
มาเลเซีย รวม 10 ประเทศ จะถูกครอบงาโดยระบบคอมมิวนิสต์ตามไปด้วย ประเทศไทยซึ่งถูกคาดการณ์ว่า จะเป็น
โดมิโนตัวที่ 6 ต่อจากกัมพูชา เวียดนาม และลาว จึงทาให้รัฐบาลในขณะนั้น กวาดล้างประชาชน และโจมตีผู้ที่มี
ความเห็นต่างว่าเป็นคอมมิวนิสต์ ซึ่งข้อหาในลักษณะนี้ ยังถูกใช้เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการจัดการประชาชน
รวมถึงปัจจุบัน ทฤษฎีโดมิโนที่ว่าคือการเปรียบเทียบประเทศต่าง ๆ ที่อยู่ติด ๆ กันหรือมีผลต่อกันและกันว่าคล้ายกับ
ตัวโดมิโน ที่เมื่อตัวหนึ่งล้มลงจะส่งผลให้ตัวที่อยู่ถัดไปล้มลงอย่างต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ หรือเมื่อประเทศใดประเทศหนึ่ง
เปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ ประเทศที่อยู่ใกล้เคียงหรือมีความใกล้ชิดสนิทสนมก็จะเลียนแบบ
และกลายเป็นประเทศที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ไปด้วย ในปัจจุบันประเทศไทยถือว่าเป็นตัวกั้นของทฤษฏี
โดมิโน เพราะไทยไม่ได้ปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ โดยมีอเมริกาที่เป็นต้นแบบของประชาธิปไตยคอยหนุนอยู่
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาทฤษฎีโดมิโน และเกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง
2. เรียนรู้เหตุการณ์ในอดีต เพื่อเข้าใจปัจจุบัน และเกิดการพัฒนาในอนาคต
3. เกิดความรู้ ความเข้าใจในการเรียนประวัติศาสตร์มากขึ้น
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสงครามเย็น
3
2. เหตุการณ์ที่มีผลต่อทฤษฎีโดมิโน
3. สงครามที่ที่เป็นความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยม และระบบสังคมนิยม
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory)
เหตุการณ์ความวุ่นวายอันเกิดจากการที่ประชาชนในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกหลายประเทศ ได้แก่
โปแลนด์ ฮังการี เชโกสโลวะเกีย โรมาเนีย และล่าสุดคือ บัลแกเรีย รวมไปถึงประเทศสาคัญประเทศหนึ่ง คือ เยอรมนี
ตะวันออกได้รวมตัวกันเรียกร้องเพื่อเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองแบบสังคมนิยม ซึ่งเป็นระบอบการปกครองที่ใช้
ปกครองประเทศเหล่านั้นมาเป็นระยะเวลายาวนานให้เป็นระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย จนเกิดเหตุการณ์
รุนแรงถึงขั้นนองเลือดและสังหารผู้นารัฐบาลในบางประเทศ เหตุการณ์ทางการเมืองเหล่านี้จะสามารถจัดเข้าเป็น
ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) หรือไม่ คาตอบอยู่ในข้อเขียนของ ศ. ดร.ลิขิต ธีรเวคิน สานักธรรมศาสตร์และ
การเมืองราชบัณฑิตยสถาน ดังนี้
ความหมายของทฤษฎีโดมิโน คือ ทฤษฎีที่ยกอุทาหรณ์จากเกมไพ่ต่อแต้ม ซึ่งถ้ามีไพ่ล้มหนึ่งใบ ไพ่ใบอื่น ๆ จะ
ล้มเป็นแถบติดต่อเป็นลูกโซ่ เกิดจากความเชื่อถือที่ว่า เมื่อประเทศใดตกอยู่ภายใต้ระบอบการปกครองแบบ
คอมมิวนิสต์จะทาให้ประเทศอื่น ๆ กลายเป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วย นายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส (John Foster
Dulles) อดีตรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีทฤษฎีต่อต้านทฤษฎีโดมิโน คือ ทฤษฎีการสกัด
กั้น (Containment Policy)
ทฤษฏีโดมิโนใช้กับกรณีการขยายตัวของลัทธิและระบอบคอมมิวนิสต์ในทวีปเอเชีย เมื่อจีน เกาหลีเหนือ และ
เวียดนามเหนือ ตกเป็นคอมมิวนิสต์ เชื่อว่าประเทศอื่น ๆ เช่น ลาว เขมร ไทย มาเลเซีย ฯลฯ จะถูกครอบโดยระบบ
คอมมิวนิสต์ในที่สุด
ในกรณีกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกนั้น อาจกล่าวได้ว่าเป็นทฤษฎีโดมิโนแบบกลับตาลปัตร คือ แทนที่จะเป็น
การล้มของระบอบประชาธิปไตยกลับเป็นการคลายตัวและแปรเปลี่ยนจากระบอบการปกครองแบบพรรคเดียว คือ
คอมมิวนิสต์ และระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมมาสู่การปกครองแบบหลายพรรค เช่นที่โปแลนด์ หรือการสลายตัวของ
พรรคคอมมิวนิสต์ที่ฮังการี การต่อสู้เพื่อเสรีภาพที่โรมาเนีย รวมทั้งการมีท่าทีที่จะใช้ระบบหลายพรรคในสหภาพโซ
เวียต ซึ่งแนวโน้มดังกล่าวคงจะดาเนินไปโดยไม่มีหยุดยั้ง
อย่างไรก็ตาม ผู้ที่วิเคราะห์ว่าระบบคอมมิวนิสต์ในจีน ในสหภาพโซเวียตและในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก
ออกจะแปรเปลี่ยนเป็นทุนนิยมและประชาธิปไตยสมบูรณ์แบบ คงต้องเปิดช่องสาหรับข้อเท็จจริงที่ว่า การ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่น่าจะเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ที่หวังได้คือ การมีระบบผสมผสาน แต่ระบบเดิมคงเหลืออยู่เป็น
ฐาน ทฤษฎีโดมิโนเมื่อใช้ในกรณีกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกน่าจะถูกเพียงครึ่งเดียว ซึ่งก็เป็นกรณีเดียวกับที่ใช้กับ
กลุ่มประเทศแถบเอเชีย.
สงครามเย็น
ระเบียบระหว่างประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่รู้จักกันว่าสงครามเย็นถูกก่อตัวขึ้นจากพัฒนาการสาคัญ
คือ การแข่งขันระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการทาสงคราม ความ
ขัดแย้งทางอุดมการณ์ข้ามชาติ การปฏิรูปและการปฏิสังขรณ์ของระบบทุนนิยมโลก และกระบวนการปลดปล่อย
แห่งชาติ การต่อสู้แข่งขันระหว่างสหรัฐและโซเวียตในเรื่องเหล่านี้ได้แบ่งโลกออกเป็น 2 ขั้วการเมืองและการทหาร
และแทบไม่มีประเทศใดที่หลุดรอดจากอิทธิพลของสงครามเย็น
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้รับผลกระทบอย่างลึกซึ้งจากสงครามเย็น โดยเฉพาะเมื่อสหรัฐมุ่งมั่นจะสกัดกั้นคอมมิวนิสต์
ในเอเชียภายหลังจากชัยชนะของฝ่ายคอมมิวนิสต์ในจีนเมื่อปี ค.ศ. 1949 และสงครามเกาหลีที่ปะทุขึ้นในมิถุนายน
ค.ศ. 1950 สหรัฐเห็นว่าจีนซึ่งเป็นพันธมิตรโซเวียตจะเป็นผู้นาการเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเชียและดินแดนที่ตก
อยู่ในภัยคุกคามนี้คืออินโดจีนซึ่งมีการต่อสู้เพื่อเอกราชจากฝรั่งเศส ในทัศนะผู้นาอเมริกัน หากอินโดจีนตกเป็นของ
4
ฝ่ายคอมมิวนิสต์ ประเทศอื่นก็จะล้มตามกันไปทั้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงตะวันออกกลางในที่สุด แนวคิดแบบ
“ทฤษฎีโดมิโน” ทาให้สหรัฐเข้ามาสกัดกั้นการขยายตัวของฝ่ายคอมมิวนิสต์อย่างจริงจัง โดยเฉพาะหลังจากที่ฝรั่งเศส
ถอนตัวออกจาก อินโดจีนในปี ค.ศ. 1954
ประเทศไทยเป็นพันธมิตรที่สาคัญและแข็งขันยิ่งของสหรัฐในการต่อสู้กับฝ่ายคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ในปี ค.ศ. 1950
ไทยได้เข้าร่วมกับสหรัฐในสงครามเกาหลี ต่อมาได้ทาข้อผูกพันทั้งพหุภาคีและทวิภาคีกับสหรัฐคือสนธิสัญญาป้องกัน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ค.ศ. 1954) และข้อตกลงร่วมถนัด – รัสค์ (1962) ยิ่งกว่านั้นไทยได้ส่งทหารเข้าร่วมรบกับ
สหรัฐในสงครามเวียดนาม รวมทั้งให้สหรัฐมาตั้งฐานทัพและมีกาลังทหารในประเทศไทยซึ่งเคยมีจานวนทหารสูงถึง
50,000 คน และเครื่องบินกว่า 600 เครื่องในฐานทัพ 7 แห่งในไทย นอกจากนี้ สหรัฐยังให้ความช่วยเหลือแก่ไทยซึ่ง
คลอบคลุมในแทบทุกด้านตั้งแต่การพัฒนากองทัพ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการปราบปรามการก่อ
การร้ายภายใน ความช่วยเหลือเน้นในด้านความมั่นคง เห็นได้ว่าตลอดทศวรรษ 1960 ความช่วยเหลือของสหรัฐสูง
เกินกว่า 50% ของงบประมาณการป้องกันประเทศของไทย อีกทั้งกองทัพไทยยังพัฒนาโครงสร้างตามความช่วยเหลือ
ที่ให้แก่ด้านการจัดองค์กร การฝึกการวางแผนและการพัฒนากองทัพ รวมทั้งการส่งทหารไปศึกษาและฝึกหัดที่สหรัฐ
พันธมิตรไทย – อเมริกันซึ่งส่งผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อสังคมไทยถูกกาหนดจากทั้งสภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ
และบริบทการเมืองภายในของไทย ในช่วงที่สงครามเย็นร้อนแรงในทศวรรษ 1950 และ 1960 ระบบระหว่างประเทศ
มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อประเทศเล็กเพราะการที่โลกแบ่งเป็น 2 ขั้วอานาจชัดเจนนั้น ทั้งสหรัฐและโซเวียตได้ต่อสู้
ดุเดือดเพื่อแสวงหาพันธมิตรเข้าค่ายตนซึ่งปรากฏชัดจากสงครามตัวแทนทั่วโลก ในบริบทเช่นนี้ ประเทศเล็กมี
ทางเลือกจากัดมาก โดยเฉพาะหากตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์สาคัญของมหาอานาจ เห็นได้จากว่าบางประเทศที่ต้องการ
ดาเนินนโยบายเป็นกลางก็ไม่เป็นผล เช่น กัมพูชาในทศวรรษ 1960 เป็นต้น ประเทศไทยในช่วงเวลาดังกล่าวมี
ความสาคัญอย่างชัดเจนต่อยุทธศาสตร์ของสหรัฐในภูมิภาคนี้ ดังนั้น โอกาสที่ไทยจะดาเนินนโยบายอย่างอิสระอาจ
เป็นไปได้ยากยิ่ง
พัฒนาการในภูมิภาคที่ส่งผลต่อการกาหนดนโยบายไทย คือ ชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศจีนเมื่อปี ค.ศ.
1949 และการต่อสู้เพื่อเอกราชในเวียดนามที่นาโดยฝ่ายคอมมิวนิสต์ หลักฐานที่มักถูกอ้างเพื่อสนับสนุนภัยคุกคาม
จากจีนคือ การโจมตีรัฐบาลไทยผ่านวิทยุปักกิ่ง การแทรกซึมและเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ในหมู่ชาวจีนในประเทศไทย
และที่สาคัญคือจนถึงปลายทศวรรษ 1960 รัฐบาลไทยเชื่อว่าจีนเป็นผู้สนับสนุนหลักต่อขบวนการคอมมิวนิสต์ไทย
ส่วนภัยคุกคามจากเวียดนามเหนือนั้นถูกระบุว่ามาจากการเข้ามาแทรกซึมเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ในหมู่ชาว
เวียดนามที่อาศัยในภาคอีสาน การให้สถานที่ พักพิงและฝึกอบรมแก่กองกาลังคอมมิวนิสต์ไทย และการขยายอิทธิพล
เข้ามาในลาว
ในความเป็นจริง ดูเหมือนไม่เป็นที่ชัดเจนว่าจีนได้ดาเนินนโยบายเป็นปฏิปักษ์ต่อไทยอย่างไร แน่นอนว่าจีนเห็นว่าไทย
เป็นปฏิปักษ์เพราะร่วมมือกับสหรัฐเพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ดังที่ผู้นาจีนกล่าวชัดเจนเมื่อตั้งซีโต้ว่าไทยเป็น
ฐานเตรียมพร้อมให้สหรัฐทาสงครามรุกรานจีน ผู้นาจีนบางคนรวมทั้งเหมาเจ๋อตงได้ประกาศเปิดเผยว่าจีนสนับสนุน
สงครามต่อต้านสหรัฐและสงครามปลดปล่อยในประเทศเกิดใหม่ทั่วโลกรวมทั้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้จะมิได้
กล่าวชัดเจนว่าสนับสนุนอย่างไร ส่วนการสนับสนุนของจีนต่อพรรคคอมมิวนิสต์ไทยนั้นปรากฏชัดในด้านอุดมการณ์
การให้ขวัญกาลังใจ ที่พักพิง และที่ฝึกอบรมแก่พรรค รวมทั้งด้านยุทธปัจจัย
บริบทการเมืองภายในของไทยเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สาคัญยิ่งต่อการเลือกเป็นพันธมิตรอเมริกัน ในช่วงเวลาเกือบ
ทั้งหมดตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1973 ประเทศไทยมีการปกครองโดยรัฐบาล
เผด็จการทหาร ดังนั้น ระบบพันธมิตรนี้ก็ถูกกาหนดจากแนวคิดผู้นาทหาร รวมทั้งผลประโยชน์ทั้งของกองทัพและคน
ในกองทัพ
โดยทั่วไปแล้ว ทหารได้รับการศึกษาอบรมให้มีจิตสานึกว่ามีหน้าที่ปกป้องรักษาชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ซึ่ง
ทาให้มีความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ต่อลัทธิคอมมิวนิสต์โดยพื้นฐานอยู่แล้ว แต่ยิ่งกว่านั้น หน้าที่นี้ถูกนามาอ้างเพื่อสร้าง
ความชอบธรรมต่อการยึดอานาจการเมืองของกลุ่มทหาร เห็นได้จากการใช้สื่อรัฐเผยแพร่โฆษณาอย่างกว้างขวางใน
5
ระหว่างทศวรรษ 1940 ว่าความจาเป็นต้องยึดอานาจการเมืองก็เพราะประเทศตกอยู่ในภัยคุกคามของ “ศัตรู”
ร้ายแรงคือคอมมิวนิสต์ที่มุ่งทาลายสถาบันหลักของประเทศ การเน้นย้านี้ปรากฏชัดเจนในคาประกาศคณะปฏิวัติ
หลายฉบับตลอดช่วงการปกครองแบบอานาจนิยมของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ หลังรัฐประหารปี 2500
แนวคิดต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ได้นามาซึ่งนโยบายที่ต้องการให้พรมแดนไทยปลอดจากอิทธิพลคอมมิวนิสต์หรือกีด
กันศัตรูให้ไกลจากพรมแดนไทยมากที่สุด ในแง่นี้ การเป็นพันธมิตรกับสหรัฐก็สอดคล้องกับทัศนะและความต้องการ
ของผู้นาทหารไทยเพราะตั้งแต่ปี ค.ศ. 1954 จนถึงต้นทศวรรษ 1970 สหรัฐให้ความช่วยเหลือไทยโดยมีเป้าหมาย
สาคัญคือ การต่อต้านคอมมิวนิสต์จากการรุกรานจากภายนอก และการล้มล้างรัฐบาลจากภายใน และการช่วยพัฒนา
ด้านเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนโครงสร้างการเมืองที่ดารงอยู่ ความช่วยเหลือจากสหรัฐนอกจากเป็นประโยชน์ต่อกองทัพ
แล้ว นายทหารระดับสูงบางคนก็ใช้อภิสิทธิ์จากตาแหน่งเข้าไปมีส่วนในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโครงการความช่วยเหลืออีก
มากมาย
ทั้งนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์และเป็นพันธมิตรอเมริกันส่งผลต่อสังคมไทยที่สาคัญคือ
ประการแรก ความยั่งยืนของระบอบทหาร รัฐบาลทหารได้ใช้ข้อหามีพฤติกรรมเป็นคอมมิวนิสต์ปราบปราม
ประชาชนอย่างกว้างขวางและรุนแรง กฎหมายป้องกันการกระทาอันเป็นคอมมิวนิสต์ทั้งในสมัยรัฐบาลทหาร ล้วนระบุ
ความหมาย “การกระทาอันเป็นคอมมิวนิสต์” อย่างกว้างขวางที่สุด และบ่อยครั้งข้อหานี้ถูกใช้เพื่อกวาดล้างฝ่ายตรง
ข้ามทางการเมืองด้วย ยิ่งในสมัยที่จอมพลสฤษดิ์ใช้อานาจแบบเบ็ดเสร็จตามมาตรา 17 ของธรรมนูญการปกครอง
ราชอาณาจักร พ.ศ. 2502 การลงโทษในข้อหานี้มักได้แก่การประหารชีวิต ขณะเดียวกัน การที่สหรัฐสร้างให้ไทยเป็น
ฐานการทาสงครามในอินโดจีน และเป้าหมายที่มุ่งให้ไทยมีเสถียรภาพมั่นคงเพื่อเป็นป้อมปราการต่อต้านคอมมิวนิสต์
นั้น ในที่สุดแล้วก็แยกไม่ออกจากการสร้างรัฐบาลที่มั่นคงด้วย ปัจจัยนี้มีความสาคัญยิ่งที่ทาให้ระบอบทหารไทย
สามารถดารงอยู่ได้ยาวนานและสร้างความโกรธแค้นหรือถึงขั้นเกลียดชังสหรัฐในกลุ่มคนไทยที่ต่อต้านรัฐบาลเผด็จ
การทหาร
ประการที่สอง ยุคสงครามเย็นได้ส่งผลให้เกิดการแพร่หลายของแนวคิดมาร์กซิสต์ในสังคมไทย คือ กลุ่มผู้ใช้
แนวคิดนี้วิพากษ์สังคมเพื่อเรียกร้องสังคมที่เป็นธรรม กลุ่มนี้ประกอบด้วยนักคิดนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ซึ่งได้
ศึกษาจนเกิดความศรัทธาต่อแนวคิดมาร์กซิสต์และนามาใช้วิพากษ์สังคมในช่วงประมาณทศวรรษ 1940 ถึงต้น
ทศวรรษ 1950 ประเด็นสาคัญที่ถูกวิพากษ์หรือ “ต่อต้าน” คือ ระบอบเผด็จการทหารที่ใช้อานาจอย่างไม่เป็นธรรม
เพื่อมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนกับพวกพ้อง และระบอบจักรวรรดินิยมและทุนนิยมที่นาโดยสหรัฐมีอิทธิพลเหนือ
รัฐไทย ดังนั้น “ศัตรูของชาติ” ก็คือจักรวรรดินิยมอเมริกาและกลุ่มทหารกับนายทุนที่สนองผลประโยชน์ของสหรัฐ
สหรัฐถูกโจมตีอย่างรุนแรงต่อการทาสงครามที่ไร้ศีลธรรมในอินโดจีน ทั้งได้ชักพาให้ไทยเข้าสู่สงครามและเป็นศัตรูกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน ยิ่งกว่านั้น ยังได้ตั้งฐานทัพและทหารไว้ รวมทั้งแทรกแซงครอบงากิจการภายในของไทยอย่าง
กว้างขวาง สภาพเหล่านี้ได้ทาให้ไทยสูญเสียเอกราชและอธิปไตยไปแล้ว กลุ่มนี้เสนอว่าในท่ามกลางการต่อสู้ดุเดือด
ของมหาอานาจ ไทยควรดาเนินนโยบายเป็นกลางและเชิดชูสันติภาพ อย่างไรก็ตาม นักคิดนักเขียนเหล่านี้ได้ถูก
ปราบปรามอย่างรุนแรง แต่กระแสความคิดแนวนี้ก็มิได้สูญหายและจะกลับมารุนแรงยิ่งขึ้นโดยเฉพาะในหมู่นักศึกษา
ช่วงปลายทศวรรษ 1960 ถึงต้นทศวรรษ 1970
ประการที่สาม การเติบโตของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ในยุคสงครามเย็นจนถึงทศวรรษ
1950 พคท. ยังมิใช่ภัยคุกคามร้ายแรงต่อรัฐบาลไทย แต่การต่อสู้อันยาวนานก่อนหน้านั้นได้ก้าวเข้าสู่จุดเปลี่ยนสาคัญ
ในยุครัฐบาลทหารที่ พคท. ได้กาหนดแนวทางการต่อสู้ด้วยอาวุธกับรัฐบาลซึ่งเกิดขึ้นครั้งแรกในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ.
1965 ในปี ค.ศ. 1969 หลายพื้นที่ใน 35 จังหวัดถูกประกาศให้เป็นเขตแทรกซึมของคอมมิวนิสต์ การเติบโตของ
พคท. เป็นผลจากหลายปัจจัย ปัจจัยหนึ่งที่สาคัญคือ นโยบายการปราบปรามคอมมิวนิสต์อย่างรุนแรงโดยเน้นด้าน
การทหารเป็นหลัก รวมทั้งการใช้ข้อหามีพฤติกรรมเป็นคอมมิวนิสต์ปราบปรามผู้ต่อต้านรัฐบาลซึ่งทาให้ พคท.
กลายเป็นทางเลือกของผู้ที่ต่อต้านรัฐบาลทหาร ทั้งนี้ พคท. ยังแสวงหาแนวร่วมโดยชูประเด็นความร่วมมือระหว่าง
รัฐบาลทหารกับสหรัฐ ดังปรากฏในยุทธวิธีการทางานของพรรคที่ระบุการต่อสู้กับจักรวรรดินิยมอเมริกาและโค่นล้ม
6
เผด็จการทหารที่เป็นสมุนอเมริกา นอกจากนี้ พคท. ยังได้รับการสนับสนุนจากพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศ อินโดจีน
และจีนในด้านการเป็นพื้นที่พักพิงและฝึกกองกาลัง มีการศึกษาที่ชี้ว่าการสนับสนุนจากประเทศเหล่านี้ยังเป็นเพราะ
ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลทหารไทยกับสหรัฐในการต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค
เมื่อมองย้อนกลับไป นโยบายต่างประเทศและความมั่นคงของไทยในยุคสงครามเย็นอาจประเมินได้หลายแง่มุม
ประการแรก จากจุดยืนของผู้ต่อต้านคอมมิวนิสต์ ไทยโชคดีที่เลือกข้างถูก ผู้นาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บางคนเคย
กล่าวตรงไปตรงมาภายหลังจากที่โลกได้เห็นการล่มสลายของประเทศคอมมิวนิสต์เกือบทั้งหมดว่า ภูมิภาคนี้ต้อง
ขอบคุณสหรัฐที่ได้มาช่วยต่อสู้กับฝ่ายคอมมิวนิสต์ มิฉะนั้น ประเทศแถบนี้ก็ต้องถูกยึดครองโดยฝ่ายคอมมิวนิสต์ไป
แล้ว
ประการที่สอง การที่ผู้นาไทยผูกมัดความมั่นคงของประเทศไว้กับมหาอานาจเดียวพร้อมกับเป็นศัตรูอย่างชัด
แจ้งกับมหาอานาจอื่นและประเทศเพื่อนบ้าน นับเป็นการดาเนินนโยบายที่เสี่ยงสูงยิ่ง ทั้งยั้งหมิ่นเหม่ต่อการนา
ประเทศเข้าสู่สงครามด้วย คาถามคือ ไทยมีทางเลือกหรือมีความเป็นไปได้หรือไม่ที่จะใช้นโยบายเป็นกลางใน
สถานการณ์ความขัดแย้งร้อนแรงยุคสงครามเย็น คาตอบคืออาจจะไม่ เช่นเดียวกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี้หรือ
อื่นๆ ก็ไม่มีทางเลือกนี้
ประการสุดท้าย จากมุมมองด้านศีลธรรมและมนุษยธรรม นโยบายไทยไร้ปัจจัยข้อนี้อย่างสิ้นเชิง ความทุกข์
สาหัสของชาวอินโดจีนและความหายนะของสังคมเหล่านั้นเกินกว่าที่จะใช้ตัวเลขๆ พรรณนาได้ ความโหดร้ายและ
ความหายนะของสงครามเย็นเช่นนี้เกิดขึ้นในภูมิภาคอื่นทั่วโลกด้วย ซึ่งปรากฏชัดว่าเป็นผลจากอุดมการณ์การเมือง
และการมองผลประโยชน์แห่งชาติอย่างคับแคบ
ระบบทุนนิยมและสังคมนิยม
1.ทุนนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่ซึ่งผลิตภัณฑ์และสินค้ามีการจาหน่าย แลกเปลี่ยนซื้อขายโดยทางเอกชน
บริษัท หรือกลุ่มธุรกิจ เพื่อสร้างผลกาไรให้กับหน่วยงาน โดยการแลกเปลี่ยนสินค้าและการบริการ ที่มีการรองรับทาง
กฎหมายและมีการแข่งขันการในเชิงการค้าเพื่อทากาไรสูงสุด ซึ่งไม่ได้ควบคุมโดยหน่วยงานกลางหรือจากทางรัฐบาล
ทุนนิยมจะกล่าวถึง ทุนและที่ดินเป็นสมบัติส่วนบุคคล การตัดสินใจทางเศรษฐกิจเป็นกิจกรรมส่วนบุคคล ไม่ใช่การ
ควบคุมบริหารโดยรัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะเป็นตัวกาหนดราคา ควบคุมและระบุทิศทางการผลิต รวมถึงเป็น
ที่สร้างรายรับ บางคนกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันของโลกตะวันตกคือระบบทุนนิยม ในขณะที่หลายคนมองว่า
ในบางประเทศก็มีระบบเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจแบบผสม กล่าวคือ มีลักษณะเฉพาะของทั้งทุนนิยมและรัฐนิยม
แนวคิดทุนนิยม จะมีแนวคิดตรงข้ามกับสังคมนิยม ที่มีความเห็นคัดค้านว่ากาไรที่เกิดขึ้นจะทาให้เกิดช่องว่างทางสังคม
ทาให้คนที่มีฐานะมั่งคั่งรวยมากขึ้น โดยกาไรควรจะมีการแบ่งปันให้กับสังคมในชั้นล่างลงมา
2.สังคมนิยมระบบสังคมนิยมในจินตนาการตั้งอยู่บนความคิดที่ต้องการให้ระบบเศรษกิจเป็นไปอย่างยุติธรรม
โดยไม่ต้องมีระบบเงิน ทุกคนร่วมกันทางานเพื่อสร้างผลผลิตส่วนรวม และได้รับรัฐสวัสดิการที่ทาได้ยาก เช่น มีโรง
อาหารให้รับประทานอาหารฟรี แต่ระบบสังคมนิยมที่เป็นวิทยาศาสตร์จะพยายามกระจายรายได้โดยรัฐให้ประชาชน
ให้ทั่วถึงทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน มีรัฐสวัสดิการที่ควรมีอยู่พอสมควร ระบบสังคมนิยมไม่จาเป็นที่จะอยู่ภายใต้ระบอบ
การปกครองแบบเผด็จการหรือระบอบใดระบอบหนึ่งแต่สามารถอยู่ได้ทุกระบอบเพราะเป็นเพียงระบบเศรษฐกิจ
เท่านั้นไม่ใช่ระบอบการปกครอง
ประเภทของสังคมนิยม
1. สังคมนิยมแบบบังคับ เป็นการที่รัฐควบคุมกิจการของเอกชนในประเทศทั้งหมดโดยจะใช้ในประเทศกลุ่ม
คอมมิวนิสต์ ได้แก่ จีน เกาหลีเหนือ เวียดนาม ลาว คิวบา
2. สังคมนิยมเสรี เป็นการที่รัฐให้อิสระในการบริหารของเอกชน หรือประชาธิปไตย แต่จะผูกขาดกิจการรัฐวิสาหกิจ
ภายในประเทศโดยจะใช้ในประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียและบางประเทศในยุโรป
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3. จัดทาโครงร่างงาน
4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5. ปรับปรุงและทดสอบ
6. การทาเอกสารรายงาน
7. ประเมินผลงาน
8. นาเสนอผลงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- เอกสารประกอบการศึกษา
งบประมาณ
ไม่ใช้
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. เกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องทฤษฏีโดมิโน
2. ได้ทราบถึงผลกระทบเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์
3. เพื่อเกิดความเข้าใจในอดีต ถึงปัจจุบัน นาไปสู่การพัฒนาในอนาคต
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัด เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- สาระสังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
ทฤษฏีโดมิโน.(2562).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0%
B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%99
(วันที่ค้นหาข้อมูล 20 ธันวาคม 2562)
8
ทฤษฏีโดมิโน ในศตวรรษที่ 21.(2555).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://www.agrinature.or.th/article/570

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Chanyanoot Sommai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวาJirarat Cherntongchai
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 projectLove Naka
 
แมวววววว
แมววววววแมวววววว
แมววววววtup tup
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Manatchariyaa Thongmuangsak
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)pimvipada
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22ssuser8b25961
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 

What's hot (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
 
11111
1111111111
11111
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
แมวววววว
แมววววววแมวววววว
แมวววววว
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
at1
at1at1
at1
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project 2
2561 project 22561 project 2
2561 project 2
 
5555 อิสัส
5555 อิสัส5555 อิสัส
5555 อิสัส
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบร างโครงงานคอม(1)
แบบร างโครงงานคอม(1)แบบร างโครงงานคอม(1)
แบบร างโครงงานคอม(1)
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 

Similar to 2562 final-project 21.26pdf

2558 project new82
2558 project new822558 project new82
2558 project new82JSIjittra
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Brian Fristline
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่Brian Fristline
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมmind jirapan
 
ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)
ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)
ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)Kurt Correst
 
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Patteera Muthuta
 
มะนาวต่างนุษย์
มะนาวต่างนุษย์มะนาวต่างนุษย์
มะนาวต่างนุษย์Kurt Correst
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766Tanita49766
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766Tanita49766
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)Thawanongpao
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)immsswm
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์kedsarapan
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานnayigaa
 
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยการเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยFigo Surakiart
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project Beem HaHa
 

Similar to 2562 final-project 21.26pdf (20)

2558 project new82
2558 project new822558 project new82
2558 project new82
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
Final
FinalFinal
Final
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)
ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)
ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)
 
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
มะนาวต่างนุษย์
มะนาวต่างนุษย์มะนาวต่างนุษย์
มะนาวต่างนุษย์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยการเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 

More from ssuser5a0579

Coffee's benefit and where to find them
Coffee's benefit and where to find themCoffee's benefit and where to find them
Coffee's benefit and where to find themssuser5a0579
 
Computer project 24
Computer project   24Computer project   24
Computer project 24ssuser5a0579
 
2562 final-project 24-mkii
2562 final-project  24-mkii2562 final-project  24-mkii
2562 final-project 24-mkiissuser5a0579
 
2562 final-project 24
2562 final-project  242562 final-project  24
2562 final-project 24ssuser5a0579
 
2562 final-project 21
2562 final-project 212562 final-project 21
2562 final-project 21ssuser5a0579
 
2562 final-project 21
2562 final-project 212562 final-project 21
2562 final-project 21ssuser5a0579
 

More from ssuser5a0579 (7)

Coffee's benefit and where to find them
Coffee's benefit and where to find themCoffee's benefit and where to find them
Coffee's benefit and where to find them
 
21 26-3
21 26-321 26-3
21 26-3
 
Computer project 24
Computer project   24Computer project   24
Computer project 24
 
2562 final-project 24-mkii
2562 final-project  24-mkii2562 final-project  24-mkii
2562 final-project 24-mkii
 
2562 final-project 24
2562 final-project  242562 final-project  24
2562 final-project 24
 
2562 final-project 21
2562 final-project 212562 final-project 21
2562 final-project 21
 
2562 final-project 21
2562 final-project 212562 final-project 21
2562 final-project 21
 

2562 final-project 21.26pdf

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ทฤษฎี โดมิโน ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ดลพร คาโด เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 5 นางสาว มัยญาวี หินเดช เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 5 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ดลพร คาโด เลขที่ 26 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ทฤษฎี โดมิโน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Domino theory. ประเภทโครงงาน พัฒนาเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ดลพร คาโด ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากผู้จัดทาโครงงานมีความสนใจในเรื่องประวัติศาสตร์เกี่ยวกับประเทศของตนเอง และประเทศเพื่อน บ้าน จึงอยากนาเสนอ เหตุการณ์หรือ ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ร่วมสมัย ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่สาคัญ แต่ไม่ค่อยมี คนรู้จักมากนัก อีกทั้งยังมีส่วนได้ส่วนเสียในประเทศไทยอีกด้วย ทฤษฏีที่ผู้จัดทาได้นาเสนอนั้นคือ ทฤษฎีโดมิโน เป็น ทฤษฏีที่พูดถึงการเหตุการณ์ที่เกิดเกิดในทวีปเอเชีย สมัยสงครามเย็น ทฤษฎีโดมิโน เกิดขึ้นในเอเชียเมื่อหลายสิบปี ก่อน เริ่มจากที่จีน เกาหลีเหนือ และเวียดนาม เป็นคอมมิวนิสต์ จึงมีความเชื่อว่าประเทศอื่น ๆ เช่นลาว กัมพูชา ไทย มาเลเซีย รวม 10 ประเทศ จะถูกครอบงาโดยระบบคอมมิวนิสต์ตามไปด้วย ประเทศไทยซึ่งถูกคาดการณ์ว่า จะเป็น โดมิโนตัวที่ 6 ต่อจากกัมพูชา เวียดนาม และลาว จึงทาให้รัฐบาลในขณะนั้น กวาดล้างประชาชน และโจมตีผู้ที่มี ความเห็นต่างว่าเป็นคอมมิวนิสต์ ซึ่งข้อหาในลักษณะนี้ ยังถูกใช้เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการจัดการประชาชน รวมถึงปัจจุบัน ทฤษฎีโดมิโนที่ว่าคือการเปรียบเทียบประเทศต่าง ๆ ที่อยู่ติด ๆ กันหรือมีผลต่อกันและกันว่าคล้ายกับ ตัวโดมิโน ที่เมื่อตัวหนึ่งล้มลงจะส่งผลให้ตัวที่อยู่ถัดไปล้มลงอย่างต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ หรือเมื่อประเทศใดประเทศหนึ่ง เปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ ประเทศที่อยู่ใกล้เคียงหรือมีความใกล้ชิดสนิทสนมก็จะเลียนแบบ และกลายเป็นประเทศที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ไปด้วย ในปัจจุบันประเทศไทยถือว่าเป็นตัวกั้นของทฤษฏี โดมิโน เพราะไทยไม่ได้ปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ โดยมีอเมริกาที่เป็นต้นแบบของประชาธิปไตยคอยหนุนอยู่ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาทฤษฎีโดมิโน และเกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง 2. เรียนรู้เหตุการณ์ในอดีต เพื่อเข้าใจปัจจุบัน และเกิดการพัฒนาในอนาคต 3. เกิดความรู้ ความเข้าใจในการเรียนประวัติศาสตร์มากขึ้น ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสงครามเย็น
  • 3. 3 2. เหตุการณ์ที่มีผลต่อทฤษฎีโดมิโน 3. สงครามที่ที่เป็นความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยม และระบบสังคมนิยม หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) เหตุการณ์ความวุ่นวายอันเกิดจากการที่ประชาชนในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกหลายประเทศ ได้แก่ โปแลนด์ ฮังการี เชโกสโลวะเกีย โรมาเนีย และล่าสุดคือ บัลแกเรีย รวมไปถึงประเทศสาคัญประเทศหนึ่ง คือ เยอรมนี ตะวันออกได้รวมตัวกันเรียกร้องเพื่อเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองแบบสังคมนิยม ซึ่งเป็นระบอบการปกครองที่ใช้ ปกครองประเทศเหล่านั้นมาเป็นระยะเวลายาวนานให้เป็นระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย จนเกิดเหตุการณ์ รุนแรงถึงขั้นนองเลือดและสังหารผู้นารัฐบาลในบางประเทศ เหตุการณ์ทางการเมืองเหล่านี้จะสามารถจัดเข้าเป็น ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) หรือไม่ คาตอบอยู่ในข้อเขียนของ ศ. ดร.ลิขิต ธีรเวคิน สานักธรรมศาสตร์และ การเมืองราชบัณฑิตยสถาน ดังนี้ ความหมายของทฤษฎีโดมิโน คือ ทฤษฎีที่ยกอุทาหรณ์จากเกมไพ่ต่อแต้ม ซึ่งถ้ามีไพ่ล้มหนึ่งใบ ไพ่ใบอื่น ๆ จะ ล้มเป็นแถบติดต่อเป็นลูกโซ่ เกิดจากความเชื่อถือที่ว่า เมื่อประเทศใดตกอยู่ภายใต้ระบอบการปกครองแบบ คอมมิวนิสต์จะทาให้ประเทศอื่น ๆ กลายเป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วย นายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส (John Foster Dulles) อดีตรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีทฤษฎีต่อต้านทฤษฎีโดมิโน คือ ทฤษฎีการสกัด กั้น (Containment Policy) ทฤษฏีโดมิโนใช้กับกรณีการขยายตัวของลัทธิและระบอบคอมมิวนิสต์ในทวีปเอเชีย เมื่อจีน เกาหลีเหนือ และ เวียดนามเหนือ ตกเป็นคอมมิวนิสต์ เชื่อว่าประเทศอื่น ๆ เช่น ลาว เขมร ไทย มาเลเซีย ฯลฯ จะถูกครอบโดยระบบ คอมมิวนิสต์ในที่สุด ในกรณีกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกนั้น อาจกล่าวได้ว่าเป็นทฤษฎีโดมิโนแบบกลับตาลปัตร คือ แทนที่จะเป็น การล้มของระบอบประชาธิปไตยกลับเป็นการคลายตัวและแปรเปลี่ยนจากระบอบการปกครองแบบพรรคเดียว คือ คอมมิวนิสต์ และระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมมาสู่การปกครองแบบหลายพรรค เช่นที่โปแลนด์ หรือการสลายตัวของ พรรคคอมมิวนิสต์ที่ฮังการี การต่อสู้เพื่อเสรีภาพที่โรมาเนีย รวมทั้งการมีท่าทีที่จะใช้ระบบหลายพรรคในสหภาพโซ เวียต ซึ่งแนวโน้มดังกล่าวคงจะดาเนินไปโดยไม่มีหยุดยั้ง อย่างไรก็ตาม ผู้ที่วิเคราะห์ว่าระบบคอมมิวนิสต์ในจีน ในสหภาพโซเวียตและในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก ออกจะแปรเปลี่ยนเป็นทุนนิยมและประชาธิปไตยสมบูรณ์แบบ คงต้องเปิดช่องสาหรับข้อเท็จจริงที่ว่า การ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่น่าจะเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ที่หวังได้คือ การมีระบบผสมผสาน แต่ระบบเดิมคงเหลืออยู่เป็น ฐาน ทฤษฎีโดมิโนเมื่อใช้ในกรณีกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกน่าจะถูกเพียงครึ่งเดียว ซึ่งก็เป็นกรณีเดียวกับที่ใช้กับ กลุ่มประเทศแถบเอเชีย. สงครามเย็น ระเบียบระหว่างประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่รู้จักกันว่าสงครามเย็นถูกก่อตัวขึ้นจากพัฒนาการสาคัญ คือ การแข่งขันระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการทาสงคราม ความ ขัดแย้งทางอุดมการณ์ข้ามชาติ การปฏิรูปและการปฏิสังขรณ์ของระบบทุนนิยมโลก และกระบวนการปลดปล่อย แห่งชาติ การต่อสู้แข่งขันระหว่างสหรัฐและโซเวียตในเรื่องเหล่านี้ได้แบ่งโลกออกเป็น 2 ขั้วการเมืองและการทหาร และแทบไม่มีประเทศใดที่หลุดรอดจากอิทธิพลของสงครามเย็น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้รับผลกระทบอย่างลึกซึ้งจากสงครามเย็น โดยเฉพาะเมื่อสหรัฐมุ่งมั่นจะสกัดกั้นคอมมิวนิสต์ ในเอเชียภายหลังจากชัยชนะของฝ่ายคอมมิวนิสต์ในจีนเมื่อปี ค.ศ. 1949 และสงครามเกาหลีที่ปะทุขึ้นในมิถุนายน ค.ศ. 1950 สหรัฐเห็นว่าจีนซึ่งเป็นพันธมิตรโซเวียตจะเป็นผู้นาการเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเชียและดินแดนที่ตก อยู่ในภัยคุกคามนี้คืออินโดจีนซึ่งมีการต่อสู้เพื่อเอกราชจากฝรั่งเศส ในทัศนะผู้นาอเมริกัน หากอินโดจีนตกเป็นของ
  • 4. 4 ฝ่ายคอมมิวนิสต์ ประเทศอื่นก็จะล้มตามกันไปทั้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงตะวันออกกลางในที่สุด แนวคิดแบบ “ทฤษฎีโดมิโน” ทาให้สหรัฐเข้ามาสกัดกั้นการขยายตัวของฝ่ายคอมมิวนิสต์อย่างจริงจัง โดยเฉพาะหลังจากที่ฝรั่งเศส ถอนตัวออกจาก อินโดจีนในปี ค.ศ. 1954 ประเทศไทยเป็นพันธมิตรที่สาคัญและแข็งขันยิ่งของสหรัฐในการต่อสู้กับฝ่ายคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ในปี ค.ศ. 1950 ไทยได้เข้าร่วมกับสหรัฐในสงครามเกาหลี ต่อมาได้ทาข้อผูกพันทั้งพหุภาคีและทวิภาคีกับสหรัฐคือสนธิสัญญาป้องกัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ค.ศ. 1954) และข้อตกลงร่วมถนัด – รัสค์ (1962) ยิ่งกว่านั้นไทยได้ส่งทหารเข้าร่วมรบกับ สหรัฐในสงครามเวียดนาม รวมทั้งให้สหรัฐมาตั้งฐานทัพและมีกาลังทหารในประเทศไทยซึ่งเคยมีจานวนทหารสูงถึง 50,000 คน และเครื่องบินกว่า 600 เครื่องในฐานทัพ 7 แห่งในไทย นอกจากนี้ สหรัฐยังให้ความช่วยเหลือแก่ไทยซึ่ง คลอบคลุมในแทบทุกด้านตั้งแต่การพัฒนากองทัพ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการปราบปรามการก่อ การร้ายภายใน ความช่วยเหลือเน้นในด้านความมั่นคง เห็นได้ว่าตลอดทศวรรษ 1960 ความช่วยเหลือของสหรัฐสูง เกินกว่า 50% ของงบประมาณการป้องกันประเทศของไทย อีกทั้งกองทัพไทยยังพัฒนาโครงสร้างตามความช่วยเหลือ ที่ให้แก่ด้านการจัดองค์กร การฝึกการวางแผนและการพัฒนากองทัพ รวมทั้งการส่งทหารไปศึกษาและฝึกหัดที่สหรัฐ พันธมิตรไทย – อเมริกันซึ่งส่งผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อสังคมไทยถูกกาหนดจากทั้งสภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ และบริบทการเมืองภายในของไทย ในช่วงที่สงครามเย็นร้อนแรงในทศวรรษ 1950 และ 1960 ระบบระหว่างประเทศ มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อประเทศเล็กเพราะการที่โลกแบ่งเป็น 2 ขั้วอานาจชัดเจนนั้น ทั้งสหรัฐและโซเวียตได้ต่อสู้ ดุเดือดเพื่อแสวงหาพันธมิตรเข้าค่ายตนซึ่งปรากฏชัดจากสงครามตัวแทนทั่วโลก ในบริบทเช่นนี้ ประเทศเล็กมี ทางเลือกจากัดมาก โดยเฉพาะหากตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์สาคัญของมหาอานาจ เห็นได้จากว่าบางประเทศที่ต้องการ ดาเนินนโยบายเป็นกลางก็ไม่เป็นผล เช่น กัมพูชาในทศวรรษ 1960 เป็นต้น ประเทศไทยในช่วงเวลาดังกล่าวมี ความสาคัญอย่างชัดเจนต่อยุทธศาสตร์ของสหรัฐในภูมิภาคนี้ ดังนั้น โอกาสที่ไทยจะดาเนินนโยบายอย่างอิสระอาจ เป็นไปได้ยากยิ่ง พัฒนาการในภูมิภาคที่ส่งผลต่อการกาหนดนโยบายไทย คือ ชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศจีนเมื่อปี ค.ศ. 1949 และการต่อสู้เพื่อเอกราชในเวียดนามที่นาโดยฝ่ายคอมมิวนิสต์ หลักฐานที่มักถูกอ้างเพื่อสนับสนุนภัยคุกคาม จากจีนคือ การโจมตีรัฐบาลไทยผ่านวิทยุปักกิ่ง การแทรกซึมและเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ในหมู่ชาวจีนในประเทศไทย และที่สาคัญคือจนถึงปลายทศวรรษ 1960 รัฐบาลไทยเชื่อว่าจีนเป็นผู้สนับสนุนหลักต่อขบวนการคอมมิวนิสต์ไทย ส่วนภัยคุกคามจากเวียดนามเหนือนั้นถูกระบุว่ามาจากการเข้ามาแทรกซึมเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ในหมู่ชาว เวียดนามที่อาศัยในภาคอีสาน การให้สถานที่ พักพิงและฝึกอบรมแก่กองกาลังคอมมิวนิสต์ไทย และการขยายอิทธิพล เข้ามาในลาว ในความเป็นจริง ดูเหมือนไม่เป็นที่ชัดเจนว่าจีนได้ดาเนินนโยบายเป็นปฏิปักษ์ต่อไทยอย่างไร แน่นอนว่าจีนเห็นว่าไทย เป็นปฏิปักษ์เพราะร่วมมือกับสหรัฐเพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ดังที่ผู้นาจีนกล่าวชัดเจนเมื่อตั้งซีโต้ว่าไทยเป็น ฐานเตรียมพร้อมให้สหรัฐทาสงครามรุกรานจีน ผู้นาจีนบางคนรวมทั้งเหมาเจ๋อตงได้ประกาศเปิดเผยว่าจีนสนับสนุน สงครามต่อต้านสหรัฐและสงครามปลดปล่อยในประเทศเกิดใหม่ทั่วโลกรวมทั้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้จะมิได้ กล่าวชัดเจนว่าสนับสนุนอย่างไร ส่วนการสนับสนุนของจีนต่อพรรคคอมมิวนิสต์ไทยนั้นปรากฏชัดในด้านอุดมการณ์ การให้ขวัญกาลังใจ ที่พักพิง และที่ฝึกอบรมแก่พรรค รวมทั้งด้านยุทธปัจจัย บริบทการเมืองภายในของไทยเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สาคัญยิ่งต่อการเลือกเป็นพันธมิตรอเมริกัน ในช่วงเวลาเกือบ ทั้งหมดตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1973 ประเทศไทยมีการปกครองโดยรัฐบาล เผด็จการทหาร ดังนั้น ระบบพันธมิตรนี้ก็ถูกกาหนดจากแนวคิดผู้นาทหาร รวมทั้งผลประโยชน์ทั้งของกองทัพและคน ในกองทัพ โดยทั่วไปแล้ว ทหารได้รับการศึกษาอบรมให้มีจิตสานึกว่ามีหน้าที่ปกป้องรักษาชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ซึ่ง ทาให้มีความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ต่อลัทธิคอมมิวนิสต์โดยพื้นฐานอยู่แล้ว แต่ยิ่งกว่านั้น หน้าที่นี้ถูกนามาอ้างเพื่อสร้าง ความชอบธรรมต่อการยึดอานาจการเมืองของกลุ่มทหาร เห็นได้จากการใช้สื่อรัฐเผยแพร่โฆษณาอย่างกว้างขวางใน
  • 5. 5 ระหว่างทศวรรษ 1940 ว่าความจาเป็นต้องยึดอานาจการเมืองก็เพราะประเทศตกอยู่ในภัยคุกคามของ “ศัตรู” ร้ายแรงคือคอมมิวนิสต์ที่มุ่งทาลายสถาบันหลักของประเทศ การเน้นย้านี้ปรากฏชัดเจนในคาประกาศคณะปฏิวัติ หลายฉบับตลอดช่วงการปกครองแบบอานาจนิยมของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ หลังรัฐประหารปี 2500 แนวคิดต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ได้นามาซึ่งนโยบายที่ต้องการให้พรมแดนไทยปลอดจากอิทธิพลคอมมิวนิสต์หรือกีด กันศัตรูให้ไกลจากพรมแดนไทยมากที่สุด ในแง่นี้ การเป็นพันธมิตรกับสหรัฐก็สอดคล้องกับทัศนะและความต้องการ ของผู้นาทหารไทยเพราะตั้งแต่ปี ค.ศ. 1954 จนถึงต้นทศวรรษ 1970 สหรัฐให้ความช่วยเหลือไทยโดยมีเป้าหมาย สาคัญคือ การต่อต้านคอมมิวนิสต์จากการรุกรานจากภายนอก และการล้มล้างรัฐบาลจากภายใน และการช่วยพัฒนา ด้านเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนโครงสร้างการเมืองที่ดารงอยู่ ความช่วยเหลือจากสหรัฐนอกจากเป็นประโยชน์ต่อกองทัพ แล้ว นายทหารระดับสูงบางคนก็ใช้อภิสิทธิ์จากตาแหน่งเข้าไปมีส่วนในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโครงการความช่วยเหลืออีก มากมาย ทั้งนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์และเป็นพันธมิตรอเมริกันส่งผลต่อสังคมไทยที่สาคัญคือ ประการแรก ความยั่งยืนของระบอบทหาร รัฐบาลทหารได้ใช้ข้อหามีพฤติกรรมเป็นคอมมิวนิสต์ปราบปราม ประชาชนอย่างกว้างขวางและรุนแรง กฎหมายป้องกันการกระทาอันเป็นคอมมิวนิสต์ทั้งในสมัยรัฐบาลทหาร ล้วนระบุ ความหมาย “การกระทาอันเป็นคอมมิวนิสต์” อย่างกว้างขวางที่สุด และบ่อยครั้งข้อหานี้ถูกใช้เพื่อกวาดล้างฝ่ายตรง ข้ามทางการเมืองด้วย ยิ่งในสมัยที่จอมพลสฤษดิ์ใช้อานาจแบบเบ็ดเสร็จตามมาตรา 17 ของธรรมนูญการปกครอง ราชอาณาจักร พ.ศ. 2502 การลงโทษในข้อหานี้มักได้แก่การประหารชีวิต ขณะเดียวกัน การที่สหรัฐสร้างให้ไทยเป็น ฐานการทาสงครามในอินโดจีน และเป้าหมายที่มุ่งให้ไทยมีเสถียรภาพมั่นคงเพื่อเป็นป้อมปราการต่อต้านคอมมิวนิสต์ นั้น ในที่สุดแล้วก็แยกไม่ออกจากการสร้างรัฐบาลที่มั่นคงด้วย ปัจจัยนี้มีความสาคัญยิ่งที่ทาให้ระบอบทหารไทย สามารถดารงอยู่ได้ยาวนานและสร้างความโกรธแค้นหรือถึงขั้นเกลียดชังสหรัฐในกลุ่มคนไทยที่ต่อต้านรัฐบาลเผด็จ การทหาร ประการที่สอง ยุคสงครามเย็นได้ส่งผลให้เกิดการแพร่หลายของแนวคิดมาร์กซิสต์ในสังคมไทย คือ กลุ่มผู้ใช้ แนวคิดนี้วิพากษ์สังคมเพื่อเรียกร้องสังคมที่เป็นธรรม กลุ่มนี้ประกอบด้วยนักคิดนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ซึ่งได้ ศึกษาจนเกิดความศรัทธาต่อแนวคิดมาร์กซิสต์และนามาใช้วิพากษ์สังคมในช่วงประมาณทศวรรษ 1940 ถึงต้น ทศวรรษ 1950 ประเด็นสาคัญที่ถูกวิพากษ์หรือ “ต่อต้าน” คือ ระบอบเผด็จการทหารที่ใช้อานาจอย่างไม่เป็นธรรม เพื่อมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนกับพวกพ้อง และระบอบจักรวรรดินิยมและทุนนิยมที่นาโดยสหรัฐมีอิทธิพลเหนือ รัฐไทย ดังนั้น “ศัตรูของชาติ” ก็คือจักรวรรดินิยมอเมริกาและกลุ่มทหารกับนายทุนที่สนองผลประโยชน์ของสหรัฐ สหรัฐถูกโจมตีอย่างรุนแรงต่อการทาสงครามที่ไร้ศีลธรรมในอินโดจีน ทั้งได้ชักพาให้ไทยเข้าสู่สงครามและเป็นศัตรูกับ ประเทศเพื่อนบ้าน ยิ่งกว่านั้น ยังได้ตั้งฐานทัพและทหารไว้ รวมทั้งแทรกแซงครอบงากิจการภายในของไทยอย่าง กว้างขวาง สภาพเหล่านี้ได้ทาให้ไทยสูญเสียเอกราชและอธิปไตยไปแล้ว กลุ่มนี้เสนอว่าในท่ามกลางการต่อสู้ดุเดือด ของมหาอานาจ ไทยควรดาเนินนโยบายเป็นกลางและเชิดชูสันติภาพ อย่างไรก็ตาม นักคิดนักเขียนเหล่านี้ได้ถูก ปราบปรามอย่างรุนแรง แต่กระแสความคิดแนวนี้ก็มิได้สูญหายและจะกลับมารุนแรงยิ่งขึ้นโดยเฉพาะในหมู่นักศึกษา ช่วงปลายทศวรรษ 1960 ถึงต้นทศวรรษ 1970 ประการที่สาม การเติบโตของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ในยุคสงครามเย็นจนถึงทศวรรษ 1950 พคท. ยังมิใช่ภัยคุกคามร้ายแรงต่อรัฐบาลไทย แต่การต่อสู้อันยาวนานก่อนหน้านั้นได้ก้าวเข้าสู่จุดเปลี่ยนสาคัญ ในยุครัฐบาลทหารที่ พคท. ได้กาหนดแนวทางการต่อสู้ด้วยอาวุธกับรัฐบาลซึ่งเกิดขึ้นครั้งแรกในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1965 ในปี ค.ศ. 1969 หลายพื้นที่ใน 35 จังหวัดถูกประกาศให้เป็นเขตแทรกซึมของคอมมิวนิสต์ การเติบโตของ พคท. เป็นผลจากหลายปัจจัย ปัจจัยหนึ่งที่สาคัญคือ นโยบายการปราบปรามคอมมิวนิสต์อย่างรุนแรงโดยเน้นด้าน การทหารเป็นหลัก รวมทั้งการใช้ข้อหามีพฤติกรรมเป็นคอมมิวนิสต์ปราบปรามผู้ต่อต้านรัฐบาลซึ่งทาให้ พคท. กลายเป็นทางเลือกของผู้ที่ต่อต้านรัฐบาลทหาร ทั้งนี้ พคท. ยังแสวงหาแนวร่วมโดยชูประเด็นความร่วมมือระหว่าง รัฐบาลทหารกับสหรัฐ ดังปรากฏในยุทธวิธีการทางานของพรรคที่ระบุการต่อสู้กับจักรวรรดินิยมอเมริกาและโค่นล้ม
  • 6. 6 เผด็จการทหารที่เป็นสมุนอเมริกา นอกจากนี้ พคท. ยังได้รับการสนับสนุนจากพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศ อินโดจีน และจีนในด้านการเป็นพื้นที่พักพิงและฝึกกองกาลัง มีการศึกษาที่ชี้ว่าการสนับสนุนจากประเทศเหล่านี้ยังเป็นเพราะ ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลทหารไทยกับสหรัฐในการต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค เมื่อมองย้อนกลับไป นโยบายต่างประเทศและความมั่นคงของไทยในยุคสงครามเย็นอาจประเมินได้หลายแง่มุม ประการแรก จากจุดยืนของผู้ต่อต้านคอมมิวนิสต์ ไทยโชคดีที่เลือกข้างถูก ผู้นาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บางคนเคย กล่าวตรงไปตรงมาภายหลังจากที่โลกได้เห็นการล่มสลายของประเทศคอมมิวนิสต์เกือบทั้งหมดว่า ภูมิภาคนี้ต้อง ขอบคุณสหรัฐที่ได้มาช่วยต่อสู้กับฝ่ายคอมมิวนิสต์ มิฉะนั้น ประเทศแถบนี้ก็ต้องถูกยึดครองโดยฝ่ายคอมมิวนิสต์ไป แล้ว ประการที่สอง การที่ผู้นาไทยผูกมัดความมั่นคงของประเทศไว้กับมหาอานาจเดียวพร้อมกับเป็นศัตรูอย่างชัด แจ้งกับมหาอานาจอื่นและประเทศเพื่อนบ้าน นับเป็นการดาเนินนโยบายที่เสี่ยงสูงยิ่ง ทั้งยั้งหมิ่นเหม่ต่อการนา ประเทศเข้าสู่สงครามด้วย คาถามคือ ไทยมีทางเลือกหรือมีความเป็นไปได้หรือไม่ที่จะใช้นโยบายเป็นกลางใน สถานการณ์ความขัดแย้งร้อนแรงยุคสงครามเย็น คาตอบคืออาจจะไม่ เช่นเดียวกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี้หรือ อื่นๆ ก็ไม่มีทางเลือกนี้ ประการสุดท้าย จากมุมมองด้านศีลธรรมและมนุษยธรรม นโยบายไทยไร้ปัจจัยข้อนี้อย่างสิ้นเชิง ความทุกข์ สาหัสของชาวอินโดจีนและความหายนะของสังคมเหล่านั้นเกินกว่าที่จะใช้ตัวเลขๆ พรรณนาได้ ความโหดร้ายและ ความหายนะของสงครามเย็นเช่นนี้เกิดขึ้นในภูมิภาคอื่นทั่วโลกด้วย ซึ่งปรากฏชัดว่าเป็นผลจากอุดมการณ์การเมือง และการมองผลประโยชน์แห่งชาติอย่างคับแคบ ระบบทุนนิยมและสังคมนิยม 1.ทุนนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่ซึ่งผลิตภัณฑ์และสินค้ามีการจาหน่าย แลกเปลี่ยนซื้อขายโดยทางเอกชน บริษัท หรือกลุ่มธุรกิจ เพื่อสร้างผลกาไรให้กับหน่วยงาน โดยการแลกเปลี่ยนสินค้าและการบริการ ที่มีการรองรับทาง กฎหมายและมีการแข่งขันการในเชิงการค้าเพื่อทากาไรสูงสุด ซึ่งไม่ได้ควบคุมโดยหน่วยงานกลางหรือจากทางรัฐบาล ทุนนิยมจะกล่าวถึง ทุนและที่ดินเป็นสมบัติส่วนบุคคล การตัดสินใจทางเศรษฐกิจเป็นกิจกรรมส่วนบุคคล ไม่ใช่การ ควบคุมบริหารโดยรัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะเป็นตัวกาหนดราคา ควบคุมและระบุทิศทางการผลิต รวมถึงเป็น ที่สร้างรายรับ บางคนกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันของโลกตะวันตกคือระบบทุนนิยม ในขณะที่หลายคนมองว่า ในบางประเทศก็มีระบบเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจแบบผสม กล่าวคือ มีลักษณะเฉพาะของทั้งทุนนิยมและรัฐนิยม แนวคิดทุนนิยม จะมีแนวคิดตรงข้ามกับสังคมนิยม ที่มีความเห็นคัดค้านว่ากาไรที่เกิดขึ้นจะทาให้เกิดช่องว่างทางสังคม ทาให้คนที่มีฐานะมั่งคั่งรวยมากขึ้น โดยกาไรควรจะมีการแบ่งปันให้กับสังคมในชั้นล่างลงมา 2.สังคมนิยมระบบสังคมนิยมในจินตนาการตั้งอยู่บนความคิดที่ต้องการให้ระบบเศรษกิจเป็นไปอย่างยุติธรรม โดยไม่ต้องมีระบบเงิน ทุกคนร่วมกันทางานเพื่อสร้างผลผลิตส่วนรวม และได้รับรัฐสวัสดิการที่ทาได้ยาก เช่น มีโรง อาหารให้รับประทานอาหารฟรี แต่ระบบสังคมนิยมที่เป็นวิทยาศาสตร์จะพยายามกระจายรายได้โดยรัฐให้ประชาชน ให้ทั่วถึงทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน มีรัฐสวัสดิการที่ควรมีอยู่พอสมควร ระบบสังคมนิยมไม่จาเป็นที่จะอยู่ภายใต้ระบอบ การปกครองแบบเผด็จการหรือระบอบใดระบอบหนึ่งแต่สามารถอยู่ได้ทุกระบอบเพราะเป็นเพียงระบบเศรษฐกิจ เท่านั้นไม่ใช่ระบอบการปกครอง ประเภทของสังคมนิยม 1. สังคมนิยมแบบบังคับ เป็นการที่รัฐควบคุมกิจการของเอกชนในประเทศทั้งหมดโดยจะใช้ในประเทศกลุ่ม คอมมิวนิสต์ ได้แก่ จีน เกาหลีเหนือ เวียดนาม ลาว คิวบา 2. สังคมนิยมเสรี เป็นการที่รัฐให้อิสระในการบริหารของเอกชน หรือประชาธิปไตย แต่จะผูกขาดกิจการรัฐวิสาหกิจ ภายในประเทศโดยจะใช้ในประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียและบางประเทศในยุโรป
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3. จัดทาโครงร่างงาน 4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5. ปรับปรุงและทดสอบ 6. การทาเอกสารรายงาน 7. ประเมินผลงาน 8. นาเสนอผลงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - เอกสารประกอบการศึกษา งบประมาณ ไม่ใช้ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. เกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องทฤษฏีโดมิโน 2. ได้ทราบถึงผลกระทบเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ 3. เพื่อเกิดความเข้าใจในอดีต ถึงปัจจุบัน นาไปสู่การพัฒนาในอนาคต สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัด เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - สาระสังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ทฤษฏีโดมิโน.(2562).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0% B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%99 (วันที่ค้นหาข้อมูล 20 ธันวาคม 2562)
  • 8. 8 ทฤษฏีโดมิโน ในศตวรรษที่ 21.(2555).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://www.agrinature.or.th/article/570