SlideShare a Scribd company logo
“อินทรียสังวร”
                                      (ตามดู !            ไมตามไป....   )
อินทรียภาวนาชั้นเลิศ
อานนท ! อารมณอันเปนที่ชอบใจ – ไมเปนที่ชอบใจ
เปนที่ชอบใจและไมเปนที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแกภิกษุนั้น
ยอมดับไปเร็วเหมือนการกระพริบตาของคน อุเบกขายังคงดำรงอยู.
อานนท ! นี้แล เราเรียกวา อินทรียภาวนาชั้นเลิศในอริยวินัย…
อุปริ . ม. ๑๔/๕๔๒ – ๕๔๕/๘๕๖ – ๘๖๑.




                     กวา ๖๐ พระสูตร
             แหงความสอดรับกันในคำตถาคต
“ธรรมวาที ย่อมไม่กล่าวขัดแย้งกะใครๆ ในโลก”
     ภิกษุทั้งหลาย ! เราย่อมไม่กล่าวขัดแย้งกะโลก
        แต่โลกต่างหากย่อมกล่าวขัดแย้งต่อเรา
  ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้เป็นธรรมวาที ย่อมไม่กล่าวขัดแย้งกะใครๆ ในโลก
  ภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งใดที่บัณฑิตในโลกสมมติ (รู้เหมือน ๆ กัน) ว่าไม่มี
                        แม้เราก็กล่าวสิ่งนั้นว่าไม่มี
ภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งใดที่บัณฑิตในโลกสมมติว่ามี แม้เราก็กล่าวสิ่งนั้นว่ามี

    ภิกษุทั้งหลาย ! อะไรเล่า ที่บัณฑิตในโลกสมมติว่าไม่มี
                    และเราก็กล่าวว่าไม่มี
     ภิกษุทั้งหลาย ! รูป ที่เที่ยง ที่ยั่งยืน ที่เที่ยงแท้
             ที่ไม่มีการแปรปรวนเป็นธรรมดา
                 บัณฑิตในโลกสมมติว่าไม่มี
                     แม้เราก็กล่าวว่าไม่มี

       ภิกษุทั้งหลาย ! อะไรเล่า ที่บัณฑิตในโลกสมมติว่ามี
                       และเราก็กล่าวว่ามี
          ภิกษุทั้งหลาย ! รูป ที่ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
               มีการแปรปรวนเป็นธรรมดา
                   บัณฑิตในโลกสมมติว่ามี
                      แม้เราก็กล่าวว่ามี
                                            ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๖๙/๒๓๙.
“อินทรียสังวร”
    (ตามดู !   ไม่ต ามไป....   )
พุทธวจน
    “อินทรียสังวร” (ตามดู! ไม่ตามไป....)

 สื่อธรรมะนี้ จัดทำเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน
                           เป็นธรรมทาน
               ลิขสิทธิ์ในต้นฉบับนี้ได้รับการสงวนไว้
     ไม่สงวนสิทธิ์ในการจัดทำจากต้นฉบับเพื่อเผยแผ่ในทุกกรณี
      ในการจัดทำหรือเผยแผ่ โปรดใช้ความละเอียดรอบคอบ
                  เพื่อรักษาความถูกต้องของข้อมูล
ขอคำปรึกษาด้านข้อมูลในการจัดทำเพื่อความสะดวกและประหยัด
         ติดต่อได้ที่ คุณศรชา โทรศัพท์ ๐๘๑-๕๑๓-๑๖๑๑
          หรือ คุณอารีวรรณ โทรศัพท์ ๐๘๕-๐๕๘-๖๘๘๘

   พิมพ์ครั้งที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ จำนวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม
              ออกแบบปก คณะสงฆ์วัดนาป่าพง
                 ศิลปกรรม วิชชุ เสริมสวัสดิ์ศรี
     ที่ปรึกษาศิลปกรรม จำนงค์ ศรีนวล, ธนา วาสิกศิริ

                จัดทำโดย มูลนิธิพุทธโฆษณ์
              (เว็บไซต์ www.buddhakos.org)

  ดำเนินการพิมพ์โดย บริษัท คิว พริ้นท์ แมเนจเม้นท์ จำกัด
    โทรศัพท์ ๐๒-๘๐๐-๒๒๙๒ โทรสาร ๐-๒๘๐๐-๓๖๔๙
ลำดับเนื้อหา

         ผลเสียของการปล่อยจิตให้เพลินกับอารมณ
ตัวอย่างพุทธวจน ที่ทรงตรัสไม่ให้ปล่อยจิตให้เพลินกับอารมณ
จิตทีเพลินกับอารมณ ละได้ดวยการมีอนทรียสังวร (การสํารวมอินทรีย)
     ่                    ้       ิ                           
                ความสําคัญแห่งอินทรียสังวร
        ความหมายและลักษณะของการมีอินทรียสังวร
        รูปแบบการละความเพลินในอารมณโดยวิธีอื่น
           ผลที่สุดของการละความเพลินในอารมณ
                 ข้อย้ำเตือนจากพระตถาคต
สารบัญ

คํานํา                                                       ๑
ผลเสียของการปลอยจิตใหเพลินกับอารมณ                       ๑๕
กอใหเกิดอนุสัยทั้ง ๓                                      ๑๖
ไม อาจที่จะหลุดพ นไปจากทุ กข                             ๒๐
เพลิน อยู กับอายตนะ เทา กับ เพลิน อยูในทุกข             ๒๒
ลั กษณะของการอยูอ ยางมีตัณหาเปนเพื่อน                    ๒๔
ไม อาจถึง ซึ่ง ความเจริญ งอกงาม ไพบูลย ในธรรมวินัย        ๒๙


ตัวอยางพุทธวจน ที่ทรงตรัสไมใหปลอยจิต                    ๓๑
ใหเพลินกับอารมณ
ละความเพลิน จิตหลุ ดพน                                     ๓๒
ความพอใจ เปน เหตุแ ห ง ทุ กข                             ๓๓
เมื่อ คิดถึ ง สิ่งใด แสดงวาพอใจในสิ่ง นั้น                 ๓๔
ภพแม ชั่ วขณะดีดนิ้ว มือ ก็ยัง นา รั ง เกียจ              ๓๕
ตัณ หา คือ “เชื้อ แหง การเกิด”                             ๓๗
เมื่อ มี ความพอใจ ยอ มมีตัณ หา                             ๓๙
ตัณ หา คือ เครื่อ งนําไปสูภพใหม อั น เปน เหตุเกิดทุกข   ๔๑
สิ้น ความอยาก ก็สิ้น ทุกข                                     ๔๓
มี ค วามเพลิน คือ มีอุปาทาน ผูมีอุ ปาทานย อ มไมป รินิพพาน   ๔๕
ในอริ ยมรรคมีอ งค ๘                                           ๔๙
ทรงตรัสวา “เปน เรื่องเรง ดวนที่ตอ งเรง กระทํา”           ๕๑
ต อ งเพียรละความเพลินในทุก ๆ อิริยาบถ                         ๕๔
ความเพียร ๔ ประเภท (นัยที่ ๑)                                  ๕๖
ความเพียร ๔ ประเภท (นัยที่ ๒)                                  ๕๘


จิตที่เพลินกับอารมณ ละไดดวยการมีอินทรียสังวร                ๖๑
(การสํารวมอินทรีย)
เมื่ อ มี สติ ความเพลิ น ยอ มดับ                              ๖๒
กายคตาสติ มี ค วามสํา คัญ ตอ อิ น ทรียสัง วร                  ๖๕
- ลักษณะของผูไ มตั้ง จิตในกายคตาสติ                          ๖๕
- ลักษณะของผูตั้ง จิ ตในกายคตาสติ                             ๖๗
อิ น ทรียสังวร ปดกั้นการเกิดขึ้น แห งบาปอกุ ศล               ๗๐
ความสําคัญแหงอินทรียสังวร                                          ๗๓
อินทรียสังวร เปนเหตุใหไดมาซึ่งวิมุตติญาณทัสสนะ                   ๗๔
ผูไมสํารวมอินทรียคือผูประมาท ผูสํารวมอินทรียคือผูไมประมาท   ๗๕
ความไมประมาท เปนยอดแหงกุศลธรรม                                   ๗๗
ผูมีอินทรียสังวร จึงสามารถเจริญสติปฏฐานทั้ง ๔ ได                 ๗๙
อาสวะบางสวนสามารถละไดดวยการสํารวม                                ๘๐
อาสวะบางสวนสามารถละไดดวยการบรรเทา                                ๘๑
ผลที่ไดเพราะเหตุแหงการปดกั้นอาสวะ                                ๘๒

ความหมายและลักษณะของการมีอินทรียสังวร                               ๘๓
ความหมายแหงอินทรีย                                                ๘๔
ลักษณะของผูสํารวมอินทรีย                                          ๘๕
ผูที่ถึงซึ่ง ความเจริญงอกงาม ไพบูลย ในธรรมวินัย                   ๘๖
รูปแบบการละความเพลินในอารมณโดยวิธีอื่น                                 ๘๙
กระจายซึ่ง ผัสสะ                                                        ๙๐
ตามแนวแหง สัมมาสัง กัปปะ                                               ๙๔
ย อ มยุบ ย อมไมกอ ย อ มขวางทิ้ง ยอ มไมถือ เอา ซึ่ง... ขันธ ๕   ๙๙
เห็ น ประจักษ ตามความเปน จริง                                         ๑๐๖
พึ ง เห็ น วา ชีวิตนั้น แสนสั้น                                        ๑๐๘


ผลที่สุดของการละความเพลินในอารมณ                                       ๑๑๑
ผูไ ด ชื่อ วา อินทรียภ าวนาชั้น เลิศ                                ๑๑๒
ผู เข าไปหาเปนผู ไ ม ห ลุดพน ผูไ มเข าไปหายอมหลุดพน          ๑๑๔
เพราะไมเ พลิน จึง ละอนุสัยทั้ง ๓ ได                                   ๑๑๖
ยอ มหลุดพ นไปจากทุกข                                                 ๑๒๐
ลักษณะของบุคคลสี่ป ระเภทกก                                              ๑๒๕

ขอย้าเตือนจากพระตถาคต
     ํ                                                                  ๑๒๗
ความไม ป ระมาท ยั ง กุศลธรรมทั้งหลายใหเกิดขึ้น                        ๑๒๘
พินัยกรรม ของพระสังฆบิดากกกกกกกกกก                                      ๑๒๙
บั น ทึ กทา ยเลม                                                      ๑๓๑
อิ น ทรี ย สั ง วร ๑

                                           คํานํา

มนุษยเปนสัตวที่สื่อสารกันดวยระบบภาษาที่ซับซอน ทั้งโครงสรางและความหมาย
วจี สั ง ขาร ที่ ม นุ ษย ป รุ ง แต ง ขึ้ น นั้ น มีความวิจิตรเทียบเทาดุจความละเอียดของจิต
ทั้งนี้ เพราะ จิตเปนตัวสรางการหมายรูตาง ๆ (จิต เปนเหตุในการเกิ ด ของนามรูป
และนามรูปซึ่งจิตสรางขึ้นนั้น เปนเหตุในการดํารงอยูไดของจิต)

ถอยคําหนึ่ง ๆ ในภาษาหนึ่ง ๆ เมื่อนําไปวางไวในบริบทตาง ๆ กัน ก็มีความหมายตางกัน
ยิ่งไปกวานั้น ถอยคําหนึ่ง ๆ ในบริบทเดียวกัน สามารถถูกเขาใจตางกันในความหมายได
ขึ้นอยูกับการหมายรูเฉพาะของจิตผูรับสาร ซึ่งก็มีอนุสัยในการปรุงแตงแตกตางกันไป
ความหยาบละเอียดในอารมณ อันมีประมาณตาง ๆ แปรผันไปตามการหมายรูน้ัน ๆ

การสื่อความใหเขาใจตรงกัน จึงไมใชเรื่องงาย แมเรื่องราวในระดับชีวิตประจําวัน
แม ใ นระหว า งบุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ใ กล ชิ ด เช น ในครอบครั ว เดี ย วกั น ก็ ต าม
การผิ ด ใจกั น ที่ มี เ หตุ ม าจากการสื่อ ความหมายที่ ไม ต รง ก็ มี ใ ห เ ห็ น เป น เรื่อ งปกติ

กับกรณีของปรากฏการณทางจิต ซึ่งมีมิติละเอียดปราณีตที่สุดในระบบสังขตธรรม
ใครเลา จะมีความสามารถในการบัญญัติระบบคําพูด ที่ใชถายทอดบอกสอนเรื่องจิตนี้
ใหออกมาไดเปนหลักมาตรฐานเดียว และใชสื่อเขาใจตรงกันได โดยไมจํากัดกาลเวลา
๒ ตามดู ไม ตามไป
“ดู ก ายดู ใ จ” “ดูจิ ต ” “ตามดูต ามรู ”

ปฏิ เ สธไม ไ ด เ ลยว า วลี ข า งต น นั้ น ถู ก ใช พู ด กั น ทั่ ว ไปเป น ปกติ ใ นหมู นั ก ภาวนา
ปกติ จ นเรี ย กได วา เป น หนึ่ ง ในสิ่ งที่ ถู ก มองข า มเพิ ก เฉย (take for granted) ไป
ราวกับวา ใคร ๆ ก็รูกันหมดแลว เหมือนคําที่ใชกันเปนประจํา เชน กินขาว อาบน้ํา ฯ

หากพิ จ ารณาใหดี จะพบจุด สั ง เกตุ ๒ ข อ

๑. เมื่อถูกถามลงไปในขั้นตอนโดยละเอียด วาอะไรอยางไร เกี่ยวกับ ดูกายดูใจ ดูจิต ฯ
  คําตอบที่ได มีความหลากหลายแตกตางกันไป แตมีสิ่งที่เหมือนกันอย า งหนึ่ ง คื อ
  ตางก็อางวา มาจากมหาสติปฏฐานสูตร ซึ่งเปนทางเอก เปนคําสอนของพระพุทธเจา
           

๒. ในแงของความแตกตางดังกลาวนั้น ส ว นมากมั ก จะบอกกั น ว า เป นเรื่ อ งธรรมดา
  “แล ว แต จ ริ ต ” จะปฏิ บั ติ กั นอย างไร สุด ท า ยแล วก็ “ไปถึ ง ที่ ห มายเดี ย วกั น ”

เมื่อมาใครครวญดูแลว จะพบความแปลกประหลาดซอนทับอีกชั้นหนึ่ง คือ ทั้ง ๒ ขอนั้น
เปนสิ่งที่ถูก take for granted อีกเชนกัน เสมือนเปนเรื่องที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลววา
การปฏิบตที่แตกตางกันนั้นเปนเรื่องธรรมดา “แลวแตจริต” และ “ไปถึงที่หมายเดียวกัน”
           ั ิ
โดยละเลยการทําความเขาใจที่ถูกตองชัดเจน วาอะไรอยางไรในความแตกตางนั้น
อิ น ทรี ย สั ง วร ๓

เหตุการณทั้ง ๒ นี้ จะไมมีทางเกิดขึ้นกับอริยสาวก ผูประกอบพรอมดวยโสตาปตติยังคะ ๔

ผูถึงซึ่งศรัทธาอยางไมหวั่นไหว ในการตรัสรูของพระพุทธเจา ในพระธรรม ในพระสงฆ
เปนอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึงการนับวาเปนคนของพระพุทธเจาโดยไมมขอสงสัยแลว
                                                                     ี
ยอมที่จ ะรูด ว ย อสาธารณญาณ โดยไม ต อ งอาศั ยป จ จั ย ภายนอกจากใครอื่ น ว า
ธรรมะที่ถูกบัญญัติโดยพระพุทธเจานั้น จะมีคุณลักษณะคลองเกลียวเชื่อมโยงเปนหนึ่ง

“ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย นับ แตร าตรี ที่ต ถาคตได ต รั ส รู อ นุต ตรสั ม มาโพธิ ญาณ
จนกระทั่ ง ถึ ง ราตรี ที่ ต ถาคตปริ นิ พพานด ว ยอนุ ป ทิ เ สสนิ พ พานธาตุ
ตลอดเวลาระหวา งนั้ น ตถาคตไดก ล า วสอน พร่ํา สอน แสดงออกซึ่ งถ อ ยคํา ใด
ถอยคําเหลานั้น ทั้งหมด ยอมเขากันไดโดยประการเดียวทั้งสิ้นไมแยงกันเปนประการอื่นเลย”
–อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓.
๔ ตามดู ไม ตามไป
กอนพุทธปรินิพพาน ทรงรับสั่งไวกับพระอานนทเถระวา ความสอดคลองเขากันเปนหนึ่งนี้
ใหใชเปนหลักมาตรฐานในการตรวจสอบวาอะไรใช หรือไมใชพระธรรมวินัย (มหาปเทส ๔)
ยิ่งไปกวานั้น ทรงระบุไวดวยวา หากรูแลววาไมใชพระธรรมวินัย ใหเราละทิ้งสิ่งนั้นไปเสีย
                                      

ความสามารถในการใชบทพยัญชนะที่มีอรรถะ(ความหมาย) สอดคลองกันเปนหนึ่งเดียวนี้
เปนพุทธวิสัย มิใชสาวกวิสัย ทั้งนี้ เพราะเหตุคือความตางระดับชั้นกันของบารมีท่ีสรางสมมา
พระตถาคต สรางบารมีมาในระดับพุทธภูมิ เพื่อใหไดมา ซึ่งความเปนอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
พระสาวก สรางบารมีในระดับสาวกภูมิ เพื่อใหไดมา ซึ่งโอกาสในการเปนสาวกในธรรมวินัยนี้
ที่ ม าที่ ไ ปของคํา วา ดู จิ ต หรื อ ตามดู ต ามรูฯ ไม ใ ช เ รื่ อ งลึ ก ลับ ซับซอนที่จะสืบคน
ตั ว สู ต รที่ เ ป น พุ ท ธวจน เพื่ อ ใช ต รวจสอบเที ย บเคี ย งตามหลั ก มหาปเทส ก็ มี อ ยู

ใชหรือไมวา ปญหาที่แทจริงทั้งกับในกรณีนี้ และอื่น ๆทํานองเดียวกันนี้ คือ ความขี้เกียจ
           
ความมักงายของชาวพุทธนั่นเอง ที่ไมอยากเขาไปลงทุนลงแรงศึกษาสืบคนพุทธวจน
แลวไปคาดหวังลม ๆ แลง ๆ วา นาจะมีใครสักคนหนึ่งหรือสองคน ที่มีความสามารถ
พิเศษคิดคนยนยอหลักธรรมที่พระตถาคตบัญญัติไวเปนสวากขาโตแลวนั้น ใหงายสั้นลง
กวาได

การเชื่อเชนนี้ เปนลักษณะความเชื่อของปุถุชนผูมิไดสดับ - มิไดเห็นพระอริยเจา -
ไมฉลาดในธรรมของพระอริยเจา - ไมไดรับการแนะนําในธรรมของพระอริยเจา จึงไมทราบวา
พระสาวกมีภูมิธรรมจํากัดอยูเพียงแคเปนผูเดินตามมรรคที่พระตถาคตบัญญัติไวเทานั้น
(มคฺ ค านุ ค า จ ภิกฺ ข เว เอตรหิ สาวกา วิ ห รนฺ ติ ปจฺฉ า สมนฺ น าคตา)
อิ น ทรี ย สั ง วร ๕

ผูที่สรางบารมีมาในระดับสาวกภูมิ ไมมีความสามารถในการคิดสรางมรรคขึ้นเอง
ไมเวนแมแต พระอรหันตผูหลุดพนดวยปญญา (ปฺาวิมุตฺเตน ภิกฺขุนาติ) ก็ตาม

พระพุทธเจา (อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ) ในฐานะพระศาสดานั้น มีคุณสมบัติเหนือไปกวา คือ
ทรงเปนผูรูมรรค (มคฺคฺู) รูแจงในมรรค (มคฺควิท) และเปนผูฉลาดในมรรค (มคฺคโกวิโท)
                                                   ู

พระพุทธองคจึงทรงรับสั่งปองกันไวลวงหนาแลววา สูตรใด ๆ ก็ตามที่แตงขึ้นใหมในภายหลัง
แมจะมีความสละสลวยวิจิตร เปนของนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก ใหเราไมสําคัญตนวา
เปนสิ่งที่ควรเลาเรียนศึกษา ในทางกลับกัน คํากลาวของตถาคต อันมีความหมายลึกซึ้งนั้น
ใหเราสําคัญตนวาเปนสิ่งที่ควรเลาเรียนศึกษาและใหพากันเลาเรียนศึกษาคําของตถาคตนั้น
แลวใหไตถามทวนถามกันและกันในเรื่องนั้น ๆ วาพระพุทธเจาทรงกลาวเรืองนี้ไวอยางไร
                                                                           ่

ขางตนนี้ คือวิธีการเปดธรรมที่ถูกปดดวยพุทธวจน และชาวพุทธที่มีการศึกษาในลักษณะนี้
(ปฏิปุจฺฉาวินตา ปริสา โน อุกฺกาจิตวินีตา) พระพุทธองคทรงเรียกวาเปนพุทธบริษัทอันเลิศ
              ี

ในมหาสติปฏฐานสูตรนั้น แบงฐานทีตั้งแหงสติออกเปน ๔ ฐาน คือ กาย เวทนา จิต ธรรม
                                 ่
โดยแตละฐาน มีรายละเอียดระบุชัดเจนวาปฏิบติอยางไร ขอบเขตแคไหน และจบลงอยางไร
                                         ั

ผูที่ศึกษาพุทธวจนโดยละเอียดรอบคอบ ยอมที่จะเขาใจแงมุมตาง ๆ โดยลึกซึ้งครบถวน และ
ยอมที่จะรูไดวา ความแตกตางในมรรควิธี มีได แตไมใชมีโดยสะเปะสะปะไรเงื่อนไขขอบเขต
๖ ตามดู ไม ตามไป
หากแตมีได หลากหลายได ภายใตพทธบัญญัติซึ่งมีลักษณะเชื่อมโยงสอดคลองเปนหนึ่ง
                                   ุ
ผลอานิสงสมุงหมายในที่สุด ก็สามารถเขาถึงได ดวยวิธีอันหลากหลายภายใตความเปนหนึ่งนี้

ในวาระนี้ จะขอยกหมวดของ จิตตานุปสสนา คือการตามเห็นในกรณีของจิต ขึ้นเปนตัวอยาง

ปจจุบัน มีผูที่ดจิต หรือดูอาการของจิต โดยใชคําอธิบายสภาวะของจิตซึ่งบัญญัติขึ้นใหมเอง
                  ู
แลวหลงเขาใจไปวา การฝกตามดูตามรูสภาวะนั้น ๆ ไปเรื่อย ๆ คือการเจริญสติ คือการดูจิต
                                       
หากพิจารณาโดยแยบคายแลว คําเรียกอาการของจิต ที่คิดขึ้นใหมเองทั้งหลายเหลานั้น
เปนเพียงการตั้งชื่อเรียกอารมณอันมีประมาณตาง ๆ และการตามเห็นสภาวะนั้น ๆ ไปเรื่อย ๆ
ก็คือการฝกผูกจิตติดกับอารมณดวยอํานาจแหงความเพลิน (ฝกจิตใหมีสัญโญคะ)

จะดวยเหตุอยางไรก็ตามแต ระบบคําเรียกที่ตางกันตรงนี้ อาจดูเหมือนเปนเรื่องเล็กนอย
แตหากเทียบในระดับความละเอียดของจิตแลว องศาทีเ่ บี่ยงเพียงเล็กนอย ณ จุดตรงนี้
สามารถนําไปสูผลลัพธที่สุดในการปฏิบัติ คืออานิสงสมุงหมาย ที่แตกตางกันโดยสิ้นเชิง

นัยยะหนึ่ง ที่พระพุทธองคทรงบัญญัติใหเราตามเห็นจิต (จิตฺตานุปสฺสนา) แทจริงแลวก็เพื่อ
ใหเห็นเหตุเกิดและเสื่อมไป โดยอาศัยการตามเห็น “อาการของจิต” เพียงแค ๘ คูอาการเทานั้น
อิ น ทรี ย สั ง วร ๗

ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุเปนผูมีปกติพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู นั้นเปนอยางไรเลา ?

ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! ภิ ก ษุ ใ นกรณี นี้

(๑)     รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น มีร าคะ วา “จิ ต มีร าคะ”
(๒)     รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั นปราศจากราคะ วา “จิ ต ปราศจากราคะ”
(๓)     รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น มีโ ทสะ ว า “จิ ต มีโ ทสะ”
(๔)     รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั นปราศจากโทสะ ว า “จิ ต ปราศจากโทสะ”
(๕)     รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น มีโ มหะ ว า “จิ ต มีโ มหะ”
(๖)     รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ปราศจากโมหะ ว า “จิ ต ปราศจากโมหะ”
(๗)     รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น หดหู ว า “จิ ต หดหู ”
(๘)     รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ฟุ งซ า น ว า “จิ ต ฟุ ง ซา น”
(๙)     รูชัดซึ่งจิตอันถึงความเปนจิตใหญ วา “จิตถึงแลวซึ่งความเปนจิตใหญ”
(๑๐)    รูชัดซึ่งจิตอันไมถึงความเปนจิตใหญ วา “จิตไมถึงแลวซึ่งความเปนจิตใหญ”
(๑๑)    รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ยั งมี จิ ต อื่ น ยิ่ ง กว า วา “จิ ต ยั ง มี จิ ต อื่ นยิ่ ง กว า ”
(๑๒)    รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ไม มีจิ ต อื่ น ยิ่ ง กว า ว า “จิ ต ไม มี จิ ต อื่ น ยิ่ง กว า ”
(๑๓)    รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ตั้งมั่ น ว า “จิ ต ตั้ง มั่น ”
(๑๔)    รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ไม ต้ัง มั่ น ว า “จิ ต ไม ตั้ง มั่ น ”
(๑๕)    รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น หลุด พ น แล ว ว า “จิ ต หลุ ด พ น แล ว ”
(๑๖)    รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ยั ง ไม ห ลุ ด พ น ว า “จิต ยั ง ไม ห ลุ ด พ น ”
๘ ตามดู ไม ตามไป
ดวยอาการอยางนี้แล ที่ภิกษุเปนผูมีปกติพิจารณาเห็นจิตในจิต (จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ)
อันเปนภายในอยูบาง, ในจิตอันเปนภายนอกอยูบาง, ในจิตทั้งภายในและภายนอกอยูบาง;

และเป น ผู มี ป กติพิ จ ารณาเห็ น ธรรมเป น เหตุ เกิด ขึ้น ในจิ ต อยู บ า ง,
เห็ น ธรรมเป น เหตุ เ สื่ อ มไปในจิ ต อยู บ า ง,
เห็ น ธรรมเป น เหตุ ทั้ ง เกิ ด ขึ้ น และเสื่ อ มไปในจิ ต อยูบ า ง;

ก็ แ หละสติ ( คือ ความระลึ ก ) ว า “จิ ต มี อ ยู ” ดัง นี้ ของเธอนั้ น
เป น สติ ที่ เ ธอดํารงไว เ พี ย งเพื่ อ ความรู เพี ย งเพื่ อ ความอาศั ย ระลึ ก .

ที่ แ ท เ ธอเป น ผู ที่ ตั ณ หาและทิ ฏ ฐิ อ าศั ย ไม ไ ด และเธอไม ยึ ด มั่ น อะไร ๆ ในโลกนี้ .

ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุชื่อวาเปนผูมีปกติตามเห็นจิตในจิตอยู แมดวยอาการอยางนี้.
- มหาสติปฏฐานสูตร มหาวาร. สํ. ๑๐/๓๓๑/๒๘๙.
อิ น ทรี ย สั ง วร ๙

จะเห็น ไดวา พระพุท ธเจา มิไ ดใ หเ ราฝก ตามดูต ามรูเ รื่อ งราวในอารมณไปเรื่อย ๆ
และ การตามดูตามรูซึ่งจิต (จิตฺตานุปสฺสนา) จะตองเปนไปภายใต ๘ คูอาการนี้เทานั้น

สมมุติสถานการณตัวอยาง เชน ในขณะที่เรากําลังโกรธอยู
ในกรณีนี้ หนาที่ของเรา ที่ตองทําใหได คือ “รูชัดซึ่งจิตอันมีโทสะ วา จิตมีโทสะ”
ไมใชไปตามดูตามรูโทสะ (หรือ รูในอารมณที่จิตผูกติดอยู) ในจิตอันมีโทสะขณะนั้น

ปญหามีอยูวา โดยธรรมชาติของจิต มันรูไดอารมณเดียวในเวลาเดียว (one at a time)
ในขณะที่เรากําลังโกรธอยูนั้น เราจึงตองละความเพลินในอารมณที่ทําใหเราโกรธเสียกอน
ไมเชนนั้น เราจะไมมีทาง “รูชัดซึ่งจิตอันมีโทสะ วา จิตมีโทสะ” ไดเลย

มีผัสสะ         จิตรับรูอารมณ        มีสติ         ละความเพลิน           รูชัดซึ่งจิต

ในระหวางขั้นตอนขางตน ถาเราสามารถเห็นธรรมเปนเหตุเกิดขึ้นหรือเสือมไปในจิตได
                                                                            ่
การเห็นตรงนี้ เรียกวา วิปสสนา ซึ่งเปนจุดประสงคของการเจริญสติปฏฐานทั้งสี่
โปรดสังเกตุ สติปฏฐานสี่ ทุกหมวด จบลงดวยการเห็นธรรมอันเปนเหตุเกิดขึ้นและเสื่อมไป
ขั้นตอนของสติท่เขาไปตั้งอาศัยในฐานทั้งสี่ เปนเพียงบันไดขั้นหนึ่งเทานั้น ไมใชจุดหมาย
                ี
๑๐ ตามดู ไมตามไป
เมื่อผัสสะถูกตองแลว ๆ หากเราหลงเพลิน “รูสึก” ตามไปเรื่อย ๆ นี่คือ อนุสัย (ตามนอน)
หากละความเพลินในอารมณแลวมาเห็นจิตโดยอาการ ๘ คูขางตนนี่คืออนุปสสนา(ตามเห็น)
และ ถามีการเห็นแจงในธรรมเปนเหตุเกิดขึ้นและเหตุเสื่อมไปในจิต นี่คอ วิปสสนา (เห็นแจง)
                                                                   ื

ถาหากวา เราไมสามารถรูชัดซึ่งจิตโดยอาการอยางใดอยางหนึ่งใน ๘ คูขางตนได
ใหดึงสติกลับมารูที่ฐานคือกาย เชน อิริยาบถ หรือ ลมหายใจ พลิกกลับเปนกายานุปสสนา
อยามักงายไปคิดคําขึ้นใหม เพื่อมาเรียกอารมณท่จิตหลงอยูในขณะนั้น เพราะนั่นคือจุดเริ่ม
                                                      ี
ของการเบี่ยงออกนอกมรรควิธี (ไปใชคําอธิบายอาการของจิตที่นอกแนวจากพุทธบัญญัติ
เปนผลใหหลงเขาใจไดวา กําลังดูจิต ทั้ง ๆ ที่กําลังเพลินอยูในอารมณ ขาดสติ แตหลงวามีสติ)

นี้ เปนเพียงตัวอยางของการตามเห็นในกรณีจิตตานุปสสนา คือ ใชจิตเปนฐานที่ตั้งของสติ
ในกรณีของ กายานุปสสนา เวทนานุปสสนา ธรรมานุปสสนา พึงศึกษาในลักษณะเดียวกัน
คือปฏิบัติตามพุทธวจนในกรณีนั้น ๆ ใหถูกตองครบถวน ทั้งโดยอรรถะ และโดยพยัญชนะ

พระพุทธเจามองเห็นธรรมชาติในจิตของหมูสัตว ในแบบของผูที่สรางบารมีมาเพื่อบอกสอน
การบัญญัติมรรควิธี จึงเปนพุทธวิสัย หนาที่ของเราในฐานะพุทธสาวกมีเพียงอยางเดียว คือ
ปฏิบัติตามพุทธบัญญัติโดยระมัดระวังอยางที่สุด (มคฺคานุคา จ ภิกฺขเว เอตรหิ สาวกา ฯ)

เมื่อเขาใจความหมายของการตามเห็น (อนุปสฺสนา) และการเห็นแจง (วิปสฺสนา) แลว
ทีน้ี จะมีวธีอยางไร ที่จะทําใหอัตราสวน Ratio ของ วิปสสนา ตอ อนุปสสนา มีคาสูงที่สุด
            ิ
(คื อ เน น การปฏิบั ติ ที่ ไ ดประสิ ท ธิภ าพมากที่ สุ ด เพื่อ ความลั ด สั้ น สู ม รรคผล)
อิ น ทรี ย สั ง วร ๑๑

ตั ว แปรหลั ก ที่ เ ปน กุ ญ แจไขป ญ หานี้ คื อ สมาธิ
ตราบใดที่จิตยังซัดสายไป ๆ มา ๆ ทั้งการอนุปสสนาก็ดี และการวิปสสนาก็ดี ตางก็ทําไดยาก
พระพุทธเจาจึงทรงรับสั่งวา ใหเราเจริญสมาธิ เพื่อใหธรรมทั้งหลายปรากฏตามเปนจริง

ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! เธอทั้ ง หลายจงเจริ ญ สมาธิ .
ภิ ก ษุ มี จิ ต ตั้ง มั่ น แล ว ย อ มรู ชั ด ตามเป น จริ ง .

ก็ ภิ ก ษุ ย อ มรู ชั ด ตามเป น จริ ง อย างไร ?

ย อ มรู ชั ด ซึ่ ง ความเกิ ด และความดั บ แห ง รูป
ความเกิ ด และความดั บ แห ง เวทนา
ความเกิ ด และความดั บ แห ง สั ญ ญา
ความเกิ ด และความดั บ แห ง สั ง ขาร
ความเกิ ด และความดั บ แห ง วิ ญ ญาณ.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗-๑๘//๒๗.
๑๒ ตามดู ไมตามไป
นอกจากนี้แลว พระพุทธองคยังทรงแนะนําเปนกรณีพิเศษ สําหรับกรณีที่จิตตั้งมั่นยาก
เชน คนที่คิดมาก มีเรื่องใหวิตกกังวลมาก ย้ําคิดย้ําทํา คิดอยูตลอดเวลา หยุดคิดไมได
หรือ คนที่เปน hyperactive มีบุคลิกภาพทางจิตแบบ ADHD ซึ่งมีปญหาในการอยูนิ่ง
                                                                     
ทรงแนะนําวิธีแกไขอาการเหลานี้ โดยการเจริญทําใหมาก ซึ่งอานาปานสติสมาธิ

ภิกษุทั้งหลาย ! ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงกายก็ตาม ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงจิตก็ตาม
ย อ มมี ไ ม ไ ด เพราะการเจริ ญ ทํา ให ม ากซึ่ ง อานาปานสติ ส มาธิ
- มหา. สํ. ๑๙/๔๐๐/๑๓๒๕.



เมื่อถึงตรงนี้ แมจะไมเอยถึง เราก็คงจะเห็นไดชัดแลววา ความสงบแหงจิต (สมถะ) นั้น
จะตองดําเนินไปควบคู และเกื้อหนุนกับระดับความสามารถในการเห็นแจง (วิปสสนา)
ซึ่ ง พระพุ ท ธองคเ องได ต รั ส เน น ย้ํา ในเรื่อ งนี้ ไ วโ ดยตรงด ว ย

ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย. ! ธรรมที่ ค วรกระทํา ให เ จริ ญ ด ว ยป ญ ญาอั น ยิ่ ง เป น อย า งไรเล า ?
สมถะ และ วิปสสนา เหลานี้เรากลาววา เปนธรรมที่ควรกระทําใหเจริญดวยปญญาอันยิ่ง.
- จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๔/๒๕๔.
อิ น ทรี ย สั ง วร ๑๓

ธรรมที่ควรกระทําใหเจริญดวยปญญาอันยิ่ง มีสองอยาง คือ ทั้งสมถะ และวิปสสนา
นั่นหมายความวา ทั้งสมถะ และวิปสสนา เปนสิ่งที่ตองอาศัยปญญาอันยิ่งในการไดมา
ดังนั้น ใครก็ตามที่มีความสามารถในการทําจิตใหตั่งมั้นได บุคคลนั้นมีปญญาอันยิ่ง
ใครก็ตามที่จิตตั้งมั่นแลวสามารถเห็นแจงในธรรมอันเปนเหตุ บุคคลนั้นมีปญญาอันยิ่ง

สําหรับบางคนที่อาจจะเขาใจความหมายไดดีกวา จากตัวอยางอุปมาเปรียบเทียบ
พระพุทธองคไดทรงยกอุปมาเปรียบเทียบไวในฌานสูตร วาเหมือนกับการฝกยิงธนู
เมื่อพิจารณาแลว จะพบวา มีตัวแปรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งจะตองปรับใหสมดุลย
เชน ความนิ่งของกาย วิธีการจับธนู การเล็ง น้ําหนัก และจังหวะในการปลอยลูกศร
อุปมานี้ พอจะทําใหเราเห็นภาพไดดี ในการเจริญสมถะวิปสสนา ดวยปญญาอันยิ่ง
วาการเห็นแจงในธรรมอันเปนเหตุนั้น จะตองอาศัยความสมดุลยตาง ๆ อยางไรบาง

หากจะพูดใหสั้นกระชับที่สุด การตามดูไมตามไปนี้ แทจริงแลว คือ การไมตามไป
เพราะเมื่อไมตาม (อารมณอันมีประมาณตาง ๆ) ไป มันก็เหลือแคการตามดูที่ถูกตอง
หลักการไมตามไปนี้ ก็คือ หลักการละนันทิ ซึ่งเปนเรื่องเดียวกันกับหลักอินทรียสังวร
ภิกษุมิคชาละ ฟงธรรมเรื่องการละนันทิ แลวหลีกจากหมูไปอยูผูเดียวก็บรรลุอรหัตผล
ความเร็วในการละนันทิ ยังถูกใชเปนเครื่องวัดความกาวหนาในการปฏิบัติจิตภาวนา
(ดูความเชื่อมโยงไดในเรื่อง อินทรียสังวร, การไมประมาท, อินทรียภาวนาชั้นเลิศ)
๑๔ ตามดู ไมตามไป
หนั ง สื อ ตามดู ไม ต ามไป เล ม นี้ จั ด ทํา ขึ้ น เพื่ อ อํา นวยความสะดวกแก ช าวพุ ท ธ
โดยการคัดเลือกพุทธวจน ที่เกี่ยวของกับการเจริญสติ เปนจํานวนกวา ๖๐ พระสูตร
ซึ่งมีเนื้อหาสอดรับเชื่อมโยงคลองเกลียวถึงกัน เพื่อใหเราไดศึกษาใหเขาใจถึงมรรควิธี
ที่ถูกตองทุกแงมุม ในความหลากหลายภายใตความเปนหนึ่ง จากพุทธบัญญัติโดยตรง

ขอใหบุญบารมีที่ไดสรางมา ของชาวพุทธผูที่กําลังถือหนังสือเลมนี้อยู จงเปนเหตุปจจัย
ใหทานคนพบคําตอบโดยแจมแจง ในขอสงสัยเรื่องการปฏิบัติที่ทานอาจจะติดของอยู
และสําหรับบางทานที่เขาใจคลาดเคลื่อน ปฏิบัติคลาดเคลื่อนไปบาง มาแตทีแรก
ก็ขอใหไดพบ ไดเขาใจในสิ่งที่ถูก และนําไปใชขยับปรับเปลี่ยนใหตรงทางไดโดยเร็ว
สําหรับทานที่ไมเคยรูอะไรมากอนเลย ก็ถือเปนบุญกุศลที่ไดพบแผนที่ฉบับนี้แตแรก

        ------------------------------------------------------------------------------------------

                 คณะผู จั ด พิ ม พ หนั ง สื อ เล ม นี้ ขอนอบน อ มสั ก การะ
                         ต อ ตถาคต ผู อรหั น ตสั ม มาสั ม พุ ท ธะ
                               และ ภิ ก ษุ ส าวกในธรรมวิ นั ย นี้
                         ตั้ ง แตค รั้ ง พุ ทธกาล จนถึ ง ยุ ค ป จ จุบั น
                     ที่ มี ส ว นเกี่ ย วข อ งในการสื บ ทอดพุท ธวจน
            คื อ ธรรม และวิ นัย ที่ ท รงประกาศไว บริ สุ ท ธิ์บ ริ บูร ณ ดี แ ล ว

                                     คณะศิษ ย พ ระตถาคต
ผลเสียของการปล่อยจิต
  ให้เพลินกับอารมณ
๑๖ ตามดู ไมตามไป

                    กอใหเกิดอนุสัยทั้ง ๓

ภิ กษุ ทั้ง หลาย !
เพราะอาศัย ตา ดว ย รู ป ทั้งหลาย ดว ย จึง เกิด จักขุวิญ ญาณ
การประจวบพรอ มแหงธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผั สสะ;
เพราะมี ผั สสะเป น ปจจัย...

เพราะอาศัย หู ดว ย เสียงทั้งหลาย ด ว ย จึง เกิดโสตวิญญาณ
การประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ;
เพราะมี ผัสสะเป น ปจจัย...

เพราะอาศัย จมูก ดว ย กลิ่น ทั้งหลาย ด ว ย จึง เกิดฆานวิญ ญาณ
การประจวบพรอ มแห งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผั สสะ;
เพราะมี ผั สสะเปน ป จจัย...

เพราะอาศัย ลิ้น ด ว ย รสทั้งหลาย ดว ย จึง เกิดชิว หาวิญญาณ
การประจวบพรอ มแห งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผั สสะ;
เพราะมี ผั สสะเปน ป จจัย...
อิ น ทรี ย สัง วร ๑๗

เพราะอาศัย กาย ดว ย โผฏฐัพ พะทั้งหลาย ด ว ย จึง เกิดกายวิญ ญาณ
การประจวบพรอ มแหงธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ;
เพราะมีผั สสะเปน ปจจัย...

เพราะอาศัย ใจ ดว ย ธรรมารมณทั้ง หลาย ด ว ย จึง เกิดมโนวิญญาณ
การประจวบพรอ มแห งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ;
เพราะมีผั สสะเปน ป จจัย
จึงเกิดเวทนา อันเปนสุขบาง เปนทุกขบาง ไมใชทุกขไมใชสุขบาง.

บุ คคลนั้น
เมื่ อ สุ ข เวทนา ถู กตอ งอยู
ยอ มเพลิด เพลิน ยอ มพร่ําสรรเสริญ เมาหมกอยู;
อนุ สัยคื อราคะ ย อมตามนอน แกบุคคลนั้น (ตสฺส ราคานุส โย อนุเสติ)


เมื่ อ ทุ ก ขเวทนา ถู กตอ งอยู
เขายอมเศร าโศก ย อมระทมใจ ยอมคร่ําครวญ
ยอ มตี อ กร่ําไห ย อ มถึ งความหลงใหลอยู;
อนุ สัยคือปฏิฆ ะ ย อมตามนอน (เพิ่มความเคยชิน ให) แกบุ คคลนั้น.
๑๘ ตามดู ไมตามไป

เมื่ อ เวทนาอัน ไมใชทุก ขไมใชสุข ถูกตองอยู
เขายอ มไมรูตามเป น จริง
ซึ่ งสมุทยะ (เหตุ เกิด) ของเวทนานั้น ดว ย
ซึ่ ง อั ตถั งคมะ (ความดับไมเหลือ ) แหงเวทนานั้น ดว ย
ซึ่ง อัสสาทะ (รสอรอ ย) ของเวทนานั้ น ดว ย
ซึ่ ง อาทีนวะ (โทษ) ของเวทนานั้น ด ว ย
ซึ่ ง นิสสรณะ (อุบายเครื่ องออกพนไป) ของเวทนานั้น ดว ย;
อนุ สัยคื ออวิชชา ย อมตามนอน (เพิ่มความเคยชิน ให) แกบุคคลนั้น.

บุ คคลนั้นหนอ
(สุ ข าย เวทนาย ราคานุ สย อปฺป หาย)
ยัง ละราคานุสัย อั นเกิดจากสุข เวทนาไม ได;
(ทุ กฺขาย เวทนาย ปฏิ ฆานุสย อปฺ ป ฏิวิโนเทตฺว า)
ยังบรรเทาปฏิฆ านุสัย อั นเกิด จากทุก ขเวทนาไมไ ด;
(อทุ กฺข มสุขาย เวทนาย อวิชฺชานุสย อสมูห นิตฺว า)
ยั ง ถอนอวิ ชชานุสัย อัน เกิดจากอทุก ขมสุขเวทนาไมไ ด;
อิ น ทรี ย สัง วร ๑๙

(อวิ ชฺช อปฺ ปหาย วิชฺช อนุปฺปาเทตฺว า)
เมื่ อยังละอวิชชาไมไ ด และยั ง ทํา วิชชาใหเ กิด ขึ้น ไมไ ดแลว,
(ทิ ฏเว ธมฺเม ทุกฺข สฺ สนฺตกโร ภวิสฺสตีติ)
เขาจักทําที่สุดแห งทุ ก ข ในทิฏฐธรรม (รู เห็น ไดเลย) นี้ไ ด นั้น;
(เนต าน วิชฺ ชติ ฯ)
ข อนี้ ไมเ ปน ฐานะที่จัก มีไ ด.

อุ ป ริ . ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๒.
๒๐ ตามดู ไมตามไป

                 ไมอาจที่จะหลุดพนไปจากทุกข

ภิ กษุ ทั้ง หลาย !

ผู ใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน รูป
ผู นั้ น เท า กับเพลิ ด เพลิน อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุก ข...

ผูใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน เวทนา
ผู นั้ น เท า กับเพลิ ด เพลิน อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุก ข...

ผู ใ ด เพลิด เพลิน อยู ใน สัญ ญา
ผู นั้ น เท า กั บเพลิด เพลิน อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุ ก ข...

ผู ใ ด เพลิด เพลิน อยู ใน สัง ขารทั้งหลาย
ผู นั้ น เทา กับเพลิด เพลิ น อยู ใน สิ่ง ที่เ ป น ทุ ก ข...

ผูใ ด เพลิด เพลิน อยู ใน วิญญาณ
ผู นั้ น เทา กับเพลิด เพลิน อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุก ข
อิ น ทรี ย สัง วร ๒๑

เรากลา ววา
“ผูใด เพลิดเพลิ น อยู ใน สิ่ง ที่เ ปนทุก ข
ผู นั้น ย อ มไมห ลุ ด พน ไปไดจากทุก ข” ดั ง นี้ .

ขนฺ ธ . สํ . ๑๗/๓๙/๖๔.
๒๒ ตามดู ไมตามไป

   เพลินอยูกับอายตนะ เทากับ เพลินอยูในทุกข

ภิ กษุ ทั้ง หลาย !

ผู ใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน จั ก ษุ
ผู นั้ น เทา กับ เพลิ ด เพลิ น อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุกข...

ผูใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน โสตะ
ผู นั้ น เท า กับ เพลิ ด เพลิ น อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุกข...

ผูใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน ฆานะ
ผู นั้ น เท า กับ เพลิด เพลิ น อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุ กข...

ผู ใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน ชิ ว หา
ผู นั้ น เท า กับ เพลิด เพลิ น อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุ กข ...

ผู ใ ด เพลิด เพลิน อยู ใน กายะ
ผู นั้ น เท า กับ เพลิ ด เพลิน อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุ กข...

ผู ใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน มนะ
ผู นั้ น เท า กับ เพลิ ด เพลิน อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุกข
อิ น ทรี ย สัง วร ๒๓

เรากลา ววา
ผูใด เพลิดเพลิน อยู ใน สิ่งที่ เ ปน ทุก ข
ผู นั้น ย อ มไมห ลุ ด พน ไปไดจากทุก ข ดั ง นี้.

สฬา. สํ . ๑๘/๑๖/๑๙.


(ในพระสู ต รต อ ไป ได ต รั ส ถึ ง ในกรณี แ ห ง อายตนะภายนอก ๖
ซึ่ ง มี ข อ ความเหมื อ นในกรณี แ ห ง อายตนะภายใน ๖ ทุ ก ประการ
โดยลั ก ษณะการตรั ส ตรงนี้ คื อ ทรงตรั ส แยกเป น กรณี ๆ จนครบ
ซึ่ ง ผู อ า นควรจะทํา ความเข า ใจแยกไปตามกรณี จ นครบเช น กั น
การที่ละไวดว ย ... ก็ เพื่อใหรูวา มี ขอความสรุป ที่เ หมือนกัน)
๒๔ ตามดู ไมตามไป

      ลักษณะของการอยูอยางมีตัณหาเปนเพื่อน

“ข า แต พ ระองค ผูเ จริ ญ ! ด ว ยเหตุเ พี ย งเท า ไรหนอ
ภิ ก ษุ จึ ง ชื่ อ ว า เป น ผู มี ก ารอยู อ ย างมี เ พื่ อ นสอง พระเจ า ข า ?”


มิ คชาละ !

รูป ทั้ งหลายอันจะพึงเห็นไดดวยจั กษุ
อั น เป น รูป ที่นาปรารถนา นา รักใคร นา พอใจ มีลัก ษณะนา รัก
เปนที่เขาไปตั้งอาศัยอยูแหงความใคร เปนที่ตั้งแหงความกําหนัดยอมใจ มีอยู.

ถาหากวาภิกษุยอมเพลิดเพลิน พร่ําสรรเสริญ สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร;
แก ภิกษุ ผูเ พลิดเพลิน พร่ําสรรเสริญ สยบมั ว เมา ซึ่ง รูป นั้นอยู นั่ น แหละ,
นั นทิ (ความเพลิน) ย อมเกิดขึ้น

เมื่ อ นั น ทิ มี อ ยู, สาราคะ (ความพอใจอยางยิ่ง) ยอ มมี ;
เมื่ อ สาราคะ มี อ ยู, สั ญ โญคะ (ความผูกจิตติ ดกับอารมณ) ยอ มมี :
อิ น ทรี ย สัง วร ๒๕

มิคชาละ !

ภิกษุผูประกอบพรอมแลว ดวยการผูกจิตติดกับอารมณดวยอํานาจแหงความเพลิน
นั่ น แล เราเรี ยกวา “ผูมีการอยูอยา งมีเ พื่อนสอง”

(ในกรณีแ หง เสียงทั้งหลายอันจะพึงไดยิน ดีดว ยหู,
กลิ่ น ทั้งหลายอัน จะพึงดมดว ยจมูก,
รสทั้ งหลายอันจะพึ ง ลิ้มดว ยลิ้น,
โผฏฐัพ พะทั้งหลายอันจะพึง สัมผัสดว ยผิวกาย,
และธรรมารมณทั้งหลายอันจะพึงรูแจงดวยใจ, ก็ทรงตรัสอยางเดียวกัน).

มิ คชาละ ! ภิ กษุผูมี ก ารอยูดวยอาการอยา งนี้
แมจะสองเสพเสนาสนะอันเปนปาและปาชัฏ ซึ่งเงียบสงัด มีเสียงรบกวนนอย
มีเสียงกึกกองครึกโครมนอย ปราศจากลมจากผิวกายคน เปนที่ทําการลับของมนุษย
เป น ที่สมควรแกการหลีกเรน เชน นี้แ ลว ก็ตาม
ถึงกระนั้น ภิกษุนั้นเราก็ยังคงเรียกวา ผูมีการอยูอยางมีเพื่อนสองอยูนั่นเอง.
๒๖ ตามดู ไมตามไป

ข อ นั้นเพราะเหตุไ รเลา ? ข อ นั้นเพราะเหตุวา
ตัณ หานั่น แล เปน เพื่ อนสองของภิกษุนั้น.
ตั ณหานั้น อันภิ กษุนั้น ยั งละไมไ ด แลว
เพราะเหตุนั้น ภิกษุนั้นเราจึงเรียกวา “ผูมีการอยูอยางมีเพื่อนสอง” ดังนี้.

“ข า แต พ ระองค ผูเ จริ ญ ! ด ว ยเหตุเ พี ย งเท า ไรหนอแล
ภิ ก ษุ จึ ง ชื่ อ ว า เป น ผู มี ก ารอยู อ ย างอยู ผู เ ดี ย ว พระเจ า ข า !”


มิ คชาละ !

รูป ทั้ งหลายอันจะพึงเห็นไดดวยจั กษุ
อั น เป น รูป ที่นาปรารถนา นา รักใคร นา พอใจ มีลัก ษณะนา รัก
เปนที่เขาไปตั้งอาศัยอยูแหงความใคร เปนที่ตั้งแหงความกําหนัดยอมใจ มีอยู.

ถาหากวาภิกษุยอมไมเพลิดเพลิน ไมพร่ําสรรเสริญ ไมสยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร
แกภิกษุผูไมเพลิดเพลิน ไมพร่ําสรรเสริญ ไมสยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้น นั่นแหละ
นันทิ ยอมดับ

เมื่ อ นั น ทิ ไมมีอ ยู , สาราคะ ยอ มไมมี
เมื่ อ สาราคะ ไมมีอ ยู, สัญโญคะ ยอ มไมมี
อิ น ทรี ย สัง วร ๒๗

มิ คชาละ !

ภิกษุผูไมประกอบพรอมแลว ดวยการผูกจิตติดกับอารมณดวยอํานาจแหงความเพลิน
นั่ น แล เราเรี ยกวา “ผูมีการอยูอยา งอยูผูเ ดียว”

(ในกรณี แ ห ง เสียงทั้งหลายอันจะพึงไดยิน ดีดว ยหู,
กลิ่น ทั้งหลายอัน จะพึงดมดว ยจมูก,
รสทั้งหลายอันจะพึง ลิ้มดว ยลิ้น,
โผฏฐัพ พะทั้งหลายอั นจะพึง สัมผัสดว ยผิวกาย,
และธรรมารมณทั้งหลายอันจะพึงรูแจงดวยใจ, ก็ทรงตรัสอยางเดียวกัน)

มิ คชาละ ! ภิกษุผูมีก ารอยูดวยอาการอย า งนี้
แมอยูในหมูบาน อันเกลื่อนกลนไปดวยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย
ดวยพระราชา มหาอํา มาตยของพระราชาทั้งหลาย
ดว ยเดียรถีย สาวกของเดียรถียทั้งหลาย ก็ต าม
ถึง กระนั้น ภิ กษุนั้น เราก็เรียกวา ผูมีก ารอยูอยา งอยูผูเดียวโดยแท
๒๘ ตามดู ไมตามไป

ข อ นั้นเพราะเหตุไ รเลา ? ข อ นั้นเพราะเหตุวา
ตัณ หานั่น แล เปน เพื่ อนสองของภิกษุนั้น;
ตั ณหานั้น อันภิ กษุนั้น ละเสี ย ไดแลว
เพราะเหตุนั้น ภิกษุนั้นเราจึงเรียกวา “ผูมีการอยูอยางอยูผูเดียว” ดังนี้ แล.

สฬา. สํ. ๑๘/๔๓–๔๔/๖๖-๖๗.
อิ น ทรี ย สัง วร ๒๙

      ไมอาจถึงซึ่ง ความเจริญงอกงาม ไพบูลย
                     ในธรรมวินัย

ภิกษุทั้งหลาย ! คนเลี้ยงโคที่ประกอบดวยความบกพรอง ๑๑ อยางเหลานี้แลว
ไมเหมาะที่จะเลี้ยงโคและทําฝูงโคใหเจริญได. ความบกพรองนั้นคืออะไรกันเลา ?
คื อ คนเลี้ยงโคในกรณีน้ี ... เปน ผูไ มเขี่ยไขข าง, เป น ผูไ มปดแผล, ...

ภิกษุทั้งหลาย ! ฉันใดก็ฉันนั้น ภิกษุผูประกอบดวยองคคุณ ๑๑ อยางเหลานี้แลว
ไมควรที่จะถึงความเจริญงอกงามไพบูลย ในธรรมวินัยนี้. องคคุณนั้นคืออะไรกันเลา ?
คื อ ภิกษุในกรณีนี้ ... เปน ผู ไมเขี่ยไขข าง, เป น ผูไ มปดแผล ...

ภิกษุ ทั้ง หลาย ! ภิกษุเปน ผูไ มเขี่ ยไขข าง เปนอยางไรกัน เลา ?
ภิกษุ ทั้ง หลาย ! ภิกษุในกรณีน้ี
ไม อดกลั้น (อธิวาเสติ)
ไม ละ (น ปชหติ)
ไม บรรเทา (น วิโ นเทติ)
ไม ทา ใหสิ้น สุด (น พฺยนฺตีกโรติ)
       ํ
ไม ทา ใหห มดสิ้น (น อนภาวงฺคเมติ)
     ํ
๓๐ ตามดู ไมตามไป

ซึ่ งความตรึ กเกี่ย วดว ยกาม (กามวิตก) ที่เกิดขึ้น แลว
ซึ่งความตรึกเกี่ย วด วยความมุง รา ย (พยาบาทวิตก) ที่เกิดขึ้น แลว
ซึ่ งความตรึกเกี่ย วด วยการเบียดเบียน (วิหิง สาวิตก) ที่เกิ ดขึ้น แลว
ซึ่งบาปอกุศลธรรมทั้ง หลาย ที่เกิดขึ้นแลว
ภิ กษุ ทั้งหลาย ! ภิกษุเปน ผูไ มเขี่ยไขข าง เปนอยา งนี้แ ล.

ภิกษุ ทั้งหลาย ! ภิกษุเปน ผู ไ มปดแผล เปนอยา งไรกัน เลา ?
ภิ กษุ ทั้งหลาย ! ภิกษุในกรณีน้ี
เห็น รูป ดวยตา, ฟ ง เสียงดว ยหู, ดมกลิ่น ดว ยจมูก,
ลิ้ มรสดว ยลิ้น , ถู กตอ งโผฏฐัพพะดว ยกาย, รู ธรรมารมณดวยใจ,
แลวก็มีจิตยึดถือเอา ทั้งโดยลักษณะที่เปนการรวบถือทั้งหมด (โดยนิมิต)
และ การถื อเอาโดยการแยกเปน สวน ๆ (โดยอนุพ ยัญ ชนะ)

สิ่ ง อัน เปน อกุศล คือ อภิชฌาและโทมนัส จะพึง ไหลไปตามผูที่
ไมสํารวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะการไมสํารวมอินทรียใด เปนเหตุ
เธอไม ปฏิบัติเพื่อปด กั้น อินทรียเหลา นั้นไว
เธอไมรั กษา และไมสํา รวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ภิกษุ ทั้ง หลาย ! ภิกษุเป น ผูไ มปดแผล เปนอยา งนี้แ ล.
(ในที่นี้ ยกมาใหเห็นเพียง ๒ จากทั้งหมด ๑๑ คุณสมบัติ)

มู. ม. ๑๒/๔๑๐/๓๘๔-๕.
ตัวอย่างพุทธวจน
ที่ทรงตรัสไม่ให้ปล่อยจิต
    ให้เพลินกับอารมณ
๓๒ ตามดู ไมตามไป

                 ละความเพลิน จิตหลุดพน

สมฺมา ปสฺส นิพฺพินฺ ท ติ
เมื่ อเห็น อยูโดยถูก ตอง ยอ มเบื่อหน า ย

นนฺ ทิ กฺข ยา ราคกฺข โย
เพราะความสิ้ น ไปแหง นันทิ
จึง มีความสิ้นไปแห ง ราคะ

ราคกฺ ข ยา นนฺทิกฺข โย
เพราะความสิ้น ไปแหง ราคะ
จึ ง มีความสิ้นไปแห ง นันทิ

นนฺ ทิ ราคกฺข ยา จิตฺต สุวิมุตฺตนฺติ วุจฺ จตีติ
เพราะความสิ้น ไปแหง นันทิและราคะ
กลาวได วา “จิต หลุด พน แลวดวยดี” ดั ง นี้.

สฬา. สํ . ๑๘/๑๗๙/๒๔๕-๖.
อิ น ทรี ย สัง วร ๓๓

              ความพอใจ เปนเหตุแหงทุกข

“ทุ กขใ ด ๆ ที่เกิ ดขึ้นแลวในอดีต
ทุก ขทั้ง หมดนั้น มีฉั นทะเปน มูล มีฉันทะเป นเหตุ
เพราะวา ฉันทะ (ความพอใจ) เป น มูลเหตุแ หง ทุกข

ทุ กขใ ด ๆ อัน จะเกิ ดขึ้นในอนาคต
ทุ ก ขทั้ง หมดนั้น ก็มีฉัน ทะเป น มูล มีฉันทะเปน เหตุ
เพราะวา ฉันทะ (ความพอใจ) เปน มูลเหตุแ หง ทุกข

และทุ กขใ ด ๆ ที่ เกิดขึ้น
ทุ ก ขทั้ง หมดนั้น ก็มีฉัน ทะเปน มูล มีฉันทะเป น เหตุ
เพราะวา ฉันทะ (ความพอใจ) เป น มูลเหตุแ หง ทุกข”.

สฬา. สํ . ๑๘/๔๐๓/๖๒๗.


(ในเนื้อความพระสูตร ทรงชี้ใหเห็นถึงเหตุของทุกขในปจจุบัน ซึ่งก็คือ ฉันทะ
เปนความรูที่เห็นกันได แลวจึงไดสรุปใหเห็นไปถึงนัยยะโดยอดีตกับอนาคต)
๓๔ ตามดู ไมตามไป

        เมื่อคิดถึงสิ่งใด แสดงวาพอใจในสิ่งนั้น

ภิ กษุ ทั้ง หลาย !

ถา บุ คคลยอ มคิดถึง สิ่ง ใดอยู (เจเตติ)
ยอ มดํา ริ ถึง สิ่งใดอยู (ปกปฺ เ ปติ)
และย อมมีจิ ตฝงลงไปในสิ่งใดอยู (อนุเสติ)
สิ่ง นั้ น ยอมเปนอารมณเพื่ อการตั้ง อยูแ ห ง วิญ ญาณ.

เมื่ออารมณ มีอยู,
ความตั้ ง ขึ้น เฉพาะแห งวิ ญญาณ ยอ มมี ;

เมื่ อวิญ ญาณนั้น ตั้ง ขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว,
ความเกิดขึ้นแหง ภพใหมตอไป ยอ มมี;

เมื่อความเกิดขึนแหงภพใหมตอไป มี,
                ้               
ชาติชรา มรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวนตอไป :
ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี.้
นิทาน. สํ. ๑๖/๗๘/๑๔๕.
อิ น ทรี ย สัง วร ๓๕

        ภพแมชั่วขณะดีดนิวมือก็ยังนารังเกียจ
                         ้

ภิกษุ ทั้ง หลาย !
คู ถ แมนิ ดเดียว ก็เป นของมี กลิ่น เหม็น ฉั น ใด,

ภิกษุ ทั้ง หลาย !
สิ่ง ที่เ รียกวา ภพ ก็ฉันนั้น เหมือนกัน,
แม มีประมาณนอ ยชั่ว ลัดนิ้ว มือ เดียว ก็ไ มมีคุณ อะไรที่พอจะกล า วได.

เอก. อํ . ๒๐/๔๖/๒๐๓.


(พระสูตรตอไป ทรงตรัสถึง มูตร น้ําลาย หนอง โลหิต ดวยขอความเดียวกัน)
อิ น ทรี ย สั ง วร ๓๗

                ตัณหา คือ “เชื้อแหงการเกิด”

วั จฉะ ! เรายอมบัญ ญั ติความบัง เกิดขึ้น
สํา หรับ สัตวผูที่ยัง มีอุ ปาทานอยู (สอุปาทานสฺส)
ไมใ ช สํา หรับ สัตวผูที่ไ มมีอุปาทาน

วัจฉะ ! เปรียบเหมือน ไฟที่มเชื้อ ยอมโพลงขึนได (อคฺคิ สอุปาทาโน ชลติ)
                                    ี      ้
ที่ไ ม มีเชื้อ ก็ โ พลงขึ้นไมไ ด

อุป มานี้ ฉันใด อุ ป ไมยก็ฉัน นั้น

วัจฉะ ! เราย อมบั ญ ญั ติความบัง เกิดขึ้น
สํา หรับ สัตวผูที่ยัง มีอุ ปาทานอยู
ไม ใ ช สํา หรับ สัตว ผูที่ไ มมีอุปาทาน
๓๘ ตามดู ไมตามไป

“พระโคดมผูเจริญ ! ถาสมั ย ใด เปลวไฟ ถู กลมพั ดหลุดปลิวไปไกล,
สมัยนั้น พระโคดมยอมบัญญัติซึ่งอะไรวาเปนเชื้อแกเปลวไฟนั้น ถาถือวามันยังมีเชื้ออยู ?”
วัจฉะ ! สมัย ใด เปลวไฟ ถูกลมพัด หลุด ปลิ ว ไปไกล
เราย อ มบัญ ญัติเปลวไฟนั้น วา มีลมนั่นแหละเป น เชื้อ
วัจฉะ ! เพราะวา สมัยนั้น ลมยอมเปนเชื้อของเปลวไฟนั้น.

“พระโคดมผูเจริญ ! ถาสมัยใด สัตวทอดทิ้งกายนี้ และยังไมบังเกิดขึ้นดวยกายอื่น,
สมัยนั้นพระโคดม ยอมบัญญัติ ซึ่งอะไร วาเปนเชื้อแกสัตวนั้น ถาถือวา มันยังมีเชื้ออยู ?”
วัจฉะ ! สมัย ใด สัต ว ท อดทิ้งกายนี้ และยัง ไม บังเกิด ขึ้นดวยกายอื่น
เรากลา ว สัตวนี้ วา มีตั ณหานั่น แหละเปนเชื้อ
เพราะว า สมัยนั้ น ตัณ หายอ มเปน เชื้อของสัตวนั้น แล.

สฬา. สํ . ๑๘/๔๘๕/๘๐๐.
อิ น ทรี ย สั ง วร ๓๙

               เมื่อมีความพอใจ ยอมมีตัณหา

ภิ กษุ ทั้ง หลาย !

เปรีย บเหมือนไฟกองใหญ พึงลุก โพลงดว ยไมสิบ เลมเกวียนบา ง
ยี่สิบ เลมเกวียนบา ง สามสิบ เลมเกวียนบา ง สี่สิบ เลมเกวียนบา ง.
บุรุษ พึ งเติมหญา แหง บาง มูลโคแหง บา ง ไมแหง บาง
ลงไปในกองไฟนั้น ตลอดเวลาที่ควรเติม อยูเปน ระยะ ๆ.

ภิ กษุ ทั้ง หลาย ! ดว ยอาการ อยา งนี้แ ล ไฟกองใหญ
ซึ่ง มี เครื่องหลอ เลี้ ยง อยา งนั้น
มี เชื้ อ เพลิง อยา งนั้น
ก็ จะพึ ง ลุก โพลง ตลอดกาลยาวนาน

ขอ นี้ฉันใด ภิกษุทั้ง หลาย ! เมื่อ ภิกษุเป น ผู
มี ปกติ เห็นโดยความเปน อัส สาทะ (นา รักน า ยิน ดี)
ใน อุ ป าทานิ ยธรรม (ธรรมทั้งหลายอั นเปนที่ตั้ง แหง อุปาทาน) อยู
ตัณ หาย อมเจริญ อยา งทั่ว ถึง
๔๐ ตามดู ไมตามไป

เพราะมี ตัณ หาเปน ปจจัย จึง มีอุปาทาน
เพราะมี อุปาทานเปน ปจจัย จึงมีภ พ
เพราะมี ภพเปน ปจจั ย จึง มีช าติ
เพราะมีช าติเปน ปจจัย
ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน
ความเกิดขึ้นพร อ มแหง กองทุกขทั้ ง สิ้น นี้ ย อมมี ดว ยอาการอยา งนี้.

นิ ท าน. สํ . ๑๖/๑๐๒/๑๙๖-๑๙๗.
อิ น ทรี ย สั ง วร ๔๑

ตัณหา คือ เครื่องนําไปสูภพใหม อันเปนเหตุเกิดทุกข

ภิ กษุ ทั้ง หลาย !
ถา บุ คคลยอ มคิด ถึง สิ่ง ใดอยู (เจเตติ)
ย อ มดํา ริ ถึง สิ่ง ใดอยู (ปกปฺเปติ)
และยอมมี ใ จฝง ลงไป ในสิ่งใดอยู (อนุ เสติ )

(อารมฺมณเมต โหติ วิฺ าณสฺส ิติยา)
สิ่ง นั้น ย อมเปน อารมณเ พื่อการตั้ง อยูแหงวิญ ญาณ
(อารมฺ มเณ สติ ปติฏา วิ ฺ าณสฺส โหติ)
เมื่ออารมณ มี อยู, ความตั้งขึ้นเฉพาะแหง วิญญาณยอมมี
(ตสฺ มึ ปติ ฏิเต วิ ฺาเณ วิ รูเฬฺห นติ โหติ)
เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว, ยอมมีการนอมไป

(นติ ยา สติ อาคติคติ โหติ)
เมื่ อมีก ารนอมไป, ยอมมีการไปการมา
(อาคติ คติ ยา สติ จุตูปปาโต โหติ)
เมื่ อมีการไปการมา, ยอมมีก ารเคลื่อนการบังเกิด
๔๒ ตามดู ไมตามไป

เมื่อมีการเคลื่อนการบังเกิด, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะ ฯ จึงเกิดขึ้นครบถวน
ความเกิ ดขึ้นพรอ มแหง กองทุกขทั้ง สิ้น นี้ ยอมมี ดว ยอาการอยา งนี้.

ภิ กษุทั้ง หลาย !
ถ า บุคคลยอมไมคิดถึง สิ่ง ใด
ย อ มไม ดํา ริ ถึ ง สิ่ ง ใด
แต เ ขายั ง มีใจปก ลงไปในสิ่ งใดอยู
สิ่ง นั้น ยอมเปน อารมณเ พื่อการตั้ง อยูแหงวิญ ญาณ.

เมื่ออารมณ มีอ ยู, ความตั้ งขึ้น เฉพาะแหง วิญ ญาณยอ มมี
เมื่ อ วิญ ญาณนั้น ตั้ ง ขึ้ นเฉพาะ เจริญ งอกงามแล ว, ย อ มมีการนอมไป
เมื่ อ มี การนอมไป, ย อ มมี การไปการมา
เมื่ อ มีการไปการมา, ยอ มมีการเคลื่อนการบังเกิด
เมื่อมีการเคลื่อนการบังเกิด, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะ ฯ จึงเกิดขึ้นครบถวน
ความเกิดขึ้นพร อ มแหง กองทุกขทั้ง สิ้น นี้ ยอมมี ดว ยอาการอยา งนี้.

นิ ท าน. สํ . ๑๖/๖๘๐/๑๔๙.
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool

More Related Content

What's hot

ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตWataustin Austin
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
Gawewat Dechaapinun
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
Padvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
Padvee Academy
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5krutitirut
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
Sarod Paichayonrittha
 
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
Gawewat Dechaapinun
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Tongsamut vorasan
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
กฤตพร สุดสงวน
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

What's hot (20)

ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 

Viewers also liked

สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘
สุภีร์ ทุมทอง   อริยมรรค ๘สุภีร์ ทุมทอง   อริยมรรค ๘
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘Tongsamut vorasan
 
กลอนวันเด็กแห่งชาติ
กลอนวันเด็กแห่งชาติกลอนวันเด็กแห่งชาติ
กลอนวันเด็กแห่งชาติ
Tongsamut vorasan
 
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557Tongsamut vorasan
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1Tongsamut vorasan
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypracticeTongsamut vorasan
 

Viewers also liked (8)

สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
 
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘
สุภีร์ ทุมทอง   อริยมรรค ๘สุภีร์ ทุมทอง   อริยมรรค ๘
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘
 
กลอนวันเด็กแห่งชาติ
กลอนวันเด็กแห่งชาติกลอนวันเด็กแห่งชาติ
กลอนวันเด็กแห่งชาติ
 
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 

Similar to 9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool

4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapanaTongsamut vorasan
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดานTongsamut vorasan
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
Boonlert Aroonpiboon
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
dentyomaraj
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
Tum Nuttaporn Voonklinhom
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
Kaiwan Hongladaromp
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวPoramate Minsiri
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
krutew Sudarat
 
เสียดาย....
เสียดาย....เสียดาย....
เสียดาย....
Watcharin Namkang
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
Rachabodin Suwannakanthi
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
ThawatchaiArkonkaew
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
Carzanova
 

Similar to 9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool (20)

4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
 
เสียดาย....
เสียดาย....เสียดาย....
เสียดาย....
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
Tongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
Tongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
Tongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
Tongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
Tongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
Tongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

Recently uploaded

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (6)

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 

9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool

  • 1. “อินทรียสังวร” (ตามดู ! ไมตามไป.... ) อินทรียภาวนาชั้นเลิศ อานนท ! อารมณอันเปนที่ชอบใจ – ไมเปนที่ชอบใจ เปนที่ชอบใจและไมเปนที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแกภิกษุนั้น ยอมดับไปเร็วเหมือนการกระพริบตาของคน อุเบกขายังคงดำรงอยู. อานนท ! นี้แล เราเรียกวา อินทรียภาวนาชั้นเลิศในอริยวินัย… อุปริ . ม. ๑๔/๕๔๒ – ๕๔๕/๘๕๖ – ๘๖๑. กวา ๖๐ พระสูตร แหงความสอดรับกันในคำตถาคต
  • 2. “ธรรมวาที ย่อมไม่กล่าวขัดแย้งกะใครๆ ในโลก” ภิกษุทั้งหลาย ! เราย่อมไม่กล่าวขัดแย้งกะโลก แต่โลกต่างหากย่อมกล่าวขัดแย้งต่อเรา ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้เป็นธรรมวาที ย่อมไม่กล่าวขัดแย้งกะใครๆ ในโลก ภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งใดที่บัณฑิตในโลกสมมติ (รู้เหมือน ๆ กัน) ว่าไม่มี แม้เราก็กล่าวสิ่งนั้นว่าไม่มี ภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งใดที่บัณฑิตในโลกสมมติว่ามี แม้เราก็กล่าวสิ่งนั้นว่ามี ภิกษุทั้งหลาย ! อะไรเล่า ที่บัณฑิตในโลกสมมติว่าไม่มี และเราก็กล่าวว่าไม่มี ภิกษุทั้งหลาย ! รูป ที่เที่ยง ที่ยั่งยืน ที่เที่ยงแท้ ที่ไม่มีการแปรปรวนเป็นธรรมดา บัณฑิตในโลกสมมติว่าไม่มี แม้เราก็กล่าวว่าไม่มี ภิกษุทั้งหลาย ! อะไรเล่า ที่บัณฑิตในโลกสมมติว่ามี และเราก็กล่าวว่ามี ภิกษุทั้งหลาย ! รูป ที่ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีการแปรปรวนเป็นธรรมดา บัณฑิตในโลกสมมติว่ามี แม้เราก็กล่าวว่ามี ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๖๙/๒๓๙.
  • 3. “อินทรียสังวร” (ตามดู ! ไม่ต ามไป.... )
  • 4. พุทธวจน “อินทรียสังวร” (ตามดู! ไม่ตามไป....) สื่อธรรมะนี้ จัดทำเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลิขสิทธิ์ในต้นฉบับนี้ได้รับการสงวนไว้ ไม่สงวนสิทธิ์ในการจัดทำจากต้นฉบับเพื่อเผยแผ่ในทุกกรณี ในการจัดทำหรือเผยแผ่ โปรดใช้ความละเอียดรอบคอบ เพื่อรักษาความถูกต้องของข้อมูล ขอคำปรึกษาด้านข้อมูลในการจัดทำเพื่อความสะดวกและประหยัด ติดต่อได้ที่ คุณศรชา โทรศัพท์ ๐๘๑-๕๑๓-๑๖๑๑ หรือ คุณอารีวรรณ โทรศัพท์ ๐๘๕-๐๕๘-๖๘๘๘ พิมพ์ครั้งที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ จำนวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม ออกแบบปก คณะสงฆ์วัดนาป่าพง ศิลปกรรม วิชชุ เสริมสวัสดิ์ศรี ที่ปรึกษาศิลปกรรม จำนงค์ ศรีนวล, ธนา วาสิกศิริ จัดทำโดย มูลนิธิพุทธโฆษณ์ (เว็บไซต์ www.buddhakos.org) ดำเนินการพิมพ์โดย บริษัท คิว พริ้นท์ แมเนจเม้นท์ จำกัด โทรศัพท์ ๐๒-๘๐๐-๒๒๙๒ โทรสาร ๐-๒๘๐๐-๓๖๔๙
  • 5. ลำดับเนื้อหา ผลเสียของการปล่อยจิตให้เพลินกับอารมณ ตัวอย่างพุทธวจน ที่ทรงตรัสไม่ให้ปล่อยจิตให้เพลินกับอารมณ จิตทีเพลินกับอารมณ ละได้ดวยการมีอนทรียสังวร (การสํารวมอินทรีย) ่ ้ ิ  ความสําคัญแห่งอินทรียสังวร ความหมายและลักษณะของการมีอินทรียสังวร รูปแบบการละความเพลินในอารมณโดยวิธีอื่น ผลที่สุดของการละความเพลินในอารมณ ข้อย้ำเตือนจากพระตถาคต
  • 6.
  • 7. สารบัญ คํานํา ๑ ผลเสียของการปลอยจิตใหเพลินกับอารมณ ๑๕ กอใหเกิดอนุสัยทั้ง ๓ ๑๖ ไม อาจที่จะหลุดพ นไปจากทุ กข ๒๐ เพลิน อยู กับอายตนะ เทา กับ เพลิน อยูในทุกข ๒๒ ลั กษณะของการอยูอ ยางมีตัณหาเปนเพื่อน ๒๔ ไม อาจถึง ซึ่ง ความเจริญ งอกงาม ไพบูลย ในธรรมวินัย ๒๙ ตัวอยางพุทธวจน ที่ทรงตรัสไมใหปลอยจิต ๓๑ ใหเพลินกับอารมณ ละความเพลิน จิตหลุ ดพน ๓๒ ความพอใจ เปน เหตุแ ห ง ทุ กข ๓๓ เมื่อ คิดถึ ง สิ่งใด แสดงวาพอใจในสิ่ง นั้น ๓๔ ภพแม ชั่ วขณะดีดนิ้ว มือ ก็ยัง นา รั ง เกียจ ๓๕ ตัณ หา คือ “เชื้อ แหง การเกิด” ๓๗ เมื่อ มี ความพอใจ ยอ มมีตัณ หา ๓๙ ตัณ หา คือ เครื่อ งนําไปสูภพใหม อั น เปน เหตุเกิดทุกข ๔๑
  • 8. สิ้น ความอยาก ก็สิ้น ทุกข ๔๓ มี ค วามเพลิน คือ มีอุปาทาน ผูมีอุ ปาทานย อ มไมป รินิพพาน ๔๕ ในอริ ยมรรคมีอ งค ๘ ๔๙ ทรงตรัสวา “เปน เรื่องเรง ดวนที่ตอ งเรง กระทํา” ๕๑ ต อ งเพียรละความเพลินในทุก ๆ อิริยาบถ ๕๔ ความเพียร ๔ ประเภท (นัยที่ ๑) ๕๖ ความเพียร ๔ ประเภท (นัยที่ ๒) ๕๘ จิตที่เพลินกับอารมณ ละไดดวยการมีอินทรียสังวร ๖๑ (การสํารวมอินทรีย) เมื่ อ มี สติ ความเพลิ น ยอ มดับ ๖๒ กายคตาสติ มี ค วามสํา คัญ ตอ อิ น ทรียสัง วร ๖๕ - ลักษณะของผูไ มตั้ง จิตในกายคตาสติ ๖๕ - ลักษณะของผูตั้ง จิ ตในกายคตาสติ ๖๗ อิ น ทรียสังวร ปดกั้นการเกิดขึ้น แห งบาปอกุ ศล ๗๐
  • 9. ความสําคัญแหงอินทรียสังวร ๗๓ อินทรียสังวร เปนเหตุใหไดมาซึ่งวิมุตติญาณทัสสนะ ๗๔ ผูไมสํารวมอินทรียคือผูประมาท ผูสํารวมอินทรียคือผูไมประมาท ๗๕ ความไมประมาท เปนยอดแหงกุศลธรรม ๗๗ ผูมีอินทรียสังวร จึงสามารถเจริญสติปฏฐานทั้ง ๔ ได ๗๙ อาสวะบางสวนสามารถละไดดวยการสํารวม ๘๐ อาสวะบางสวนสามารถละไดดวยการบรรเทา ๘๑ ผลที่ไดเพราะเหตุแหงการปดกั้นอาสวะ ๘๒ ความหมายและลักษณะของการมีอินทรียสังวร ๘๓ ความหมายแหงอินทรีย ๘๔ ลักษณะของผูสํารวมอินทรีย ๘๕ ผูที่ถึงซึ่ง ความเจริญงอกงาม ไพบูลย ในธรรมวินัย ๘๖
  • 10. รูปแบบการละความเพลินในอารมณโดยวิธีอื่น ๘๙ กระจายซึ่ง ผัสสะ ๙๐ ตามแนวแหง สัมมาสัง กัปปะ ๙๔ ย อ มยุบ ย อมไมกอ ย อ มขวางทิ้ง ยอ มไมถือ เอา ซึ่ง... ขันธ ๕ ๙๙ เห็ น ประจักษ ตามความเปน จริง ๑๐๖ พึ ง เห็ น วา ชีวิตนั้น แสนสั้น ๑๐๘ ผลที่สุดของการละความเพลินในอารมณ ๑๑๑ ผูไ ด ชื่อ วา อินทรียภ าวนาชั้น เลิศ ๑๑๒ ผู เข าไปหาเปนผู ไ ม ห ลุดพน ผูไ มเข าไปหายอมหลุดพน ๑๑๔ เพราะไมเ พลิน จึง ละอนุสัยทั้ง ๓ ได ๑๑๖ ยอ มหลุดพ นไปจากทุกข ๑๒๐ ลักษณะของบุคคลสี่ป ระเภทกก ๑๒๕ ขอย้าเตือนจากพระตถาคต ํ ๑๒๗ ความไม ป ระมาท ยั ง กุศลธรรมทั้งหลายใหเกิดขึ้น ๑๒๘ พินัยกรรม ของพระสังฆบิดากกกกกกกกกก ๑๒๙ บั น ทึ กทา ยเลม ๑๓๑
  • 11.
  • 12.
  • 13. อิ น ทรี ย สั ง วร ๑ คํานํา มนุษยเปนสัตวที่สื่อสารกันดวยระบบภาษาที่ซับซอน ทั้งโครงสรางและความหมาย วจี สั ง ขาร ที่ ม นุ ษย ป รุ ง แต ง ขึ้ น นั้ น มีความวิจิตรเทียบเทาดุจความละเอียดของจิต ทั้งนี้ เพราะ จิตเปนตัวสรางการหมายรูตาง ๆ (จิต เปนเหตุในการเกิ ด ของนามรูป และนามรูปซึ่งจิตสรางขึ้นนั้น เปนเหตุในการดํารงอยูไดของจิต) ถอยคําหนึ่ง ๆ ในภาษาหนึ่ง ๆ เมื่อนําไปวางไวในบริบทตาง ๆ กัน ก็มีความหมายตางกัน ยิ่งไปกวานั้น ถอยคําหนึ่ง ๆ ในบริบทเดียวกัน สามารถถูกเขาใจตางกันในความหมายได ขึ้นอยูกับการหมายรูเฉพาะของจิตผูรับสาร ซึ่งก็มีอนุสัยในการปรุงแตงแตกตางกันไป ความหยาบละเอียดในอารมณ อันมีประมาณตาง ๆ แปรผันไปตามการหมายรูน้ัน ๆ การสื่อความใหเขาใจตรงกัน จึงไมใชเรื่องงาย แมเรื่องราวในระดับชีวิตประจําวัน แม ใ นระหว า งบุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ใ กล ชิ ด เช น ในครอบครั ว เดี ย วกั น ก็ ต าม การผิ ด ใจกั น ที่ มี เ หตุ ม าจากการสื่อ ความหมายที่ ไม ต รง ก็ มี ใ ห เ ห็ น เป น เรื่อ งปกติ กับกรณีของปรากฏการณทางจิต ซึ่งมีมิติละเอียดปราณีตที่สุดในระบบสังขตธรรม ใครเลา จะมีความสามารถในการบัญญัติระบบคําพูด ที่ใชถายทอดบอกสอนเรื่องจิตนี้ ใหออกมาไดเปนหลักมาตรฐานเดียว และใชสื่อเขาใจตรงกันได โดยไมจํากัดกาลเวลา
  • 14. ๒ ตามดู ไม ตามไป “ดู ก ายดู ใ จ” “ดูจิ ต ” “ตามดูต ามรู ” ปฏิ เ สธไม ไ ด เ ลยว า วลี ข า งต น นั้ น ถู ก ใช พู ด กั น ทั่ ว ไปเป น ปกติ ใ นหมู นั ก ภาวนา ปกติ จ นเรี ย กได วา เป น หนึ่ ง ในสิ่ งที่ ถู ก มองข า มเพิ ก เฉย (take for granted) ไป ราวกับวา ใคร ๆ ก็รูกันหมดแลว เหมือนคําที่ใชกันเปนประจํา เชน กินขาว อาบน้ํา ฯ หากพิ จ ารณาใหดี จะพบจุด สั ง เกตุ ๒ ข อ ๑. เมื่อถูกถามลงไปในขั้นตอนโดยละเอียด วาอะไรอยางไร เกี่ยวกับ ดูกายดูใจ ดูจิต ฯ คําตอบที่ได มีความหลากหลายแตกตางกันไป แตมีสิ่งที่เหมือนกันอย า งหนึ่ ง คื อ ตางก็อางวา มาจากมหาสติปฏฐานสูตร ซึ่งเปนทางเอก เปนคําสอนของพระพุทธเจา  ๒. ในแงของความแตกตางดังกลาวนั้น ส ว นมากมั ก จะบอกกั น ว า เป นเรื่ อ งธรรมดา “แล ว แต จ ริ ต ” จะปฏิ บั ติ กั นอย างไร สุด ท า ยแล วก็ “ไปถึ ง ที่ ห มายเดี ย วกั น ” เมื่อมาใครครวญดูแลว จะพบความแปลกประหลาดซอนทับอีกชั้นหนึ่ง คือ ทั้ง ๒ ขอนั้น เปนสิ่งที่ถูก take for granted อีกเชนกัน เสมือนเปนเรื่องที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลววา การปฏิบตที่แตกตางกันนั้นเปนเรื่องธรรมดา “แลวแตจริต” และ “ไปถึงที่หมายเดียวกัน” ั ิ โดยละเลยการทําความเขาใจที่ถูกตองชัดเจน วาอะไรอยางไรในความแตกตางนั้น
  • 15. อิ น ทรี ย สั ง วร ๓ เหตุการณทั้ง ๒ นี้ จะไมมีทางเกิดขึ้นกับอริยสาวก ผูประกอบพรอมดวยโสตาปตติยังคะ ๔ ผูถึงซึ่งศรัทธาอยางไมหวั่นไหว ในการตรัสรูของพระพุทธเจา ในพระธรรม ในพระสงฆ เปนอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึงการนับวาเปนคนของพระพุทธเจาโดยไมมขอสงสัยแลว ี ยอมที่จ ะรูด ว ย อสาธารณญาณ โดยไม ต อ งอาศั ยป จ จั ย ภายนอกจากใครอื่ น ว า ธรรมะที่ถูกบัญญัติโดยพระพุทธเจานั้น จะมีคุณลักษณะคลองเกลียวเชื่อมโยงเปนหนึ่ง “ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย นับ แตร าตรี ที่ต ถาคตได ต รั ส รู อ นุต ตรสั ม มาโพธิ ญาณ จนกระทั่ ง ถึ ง ราตรี ที่ ต ถาคตปริ นิ พพานด ว ยอนุ ป ทิ เ สสนิ พ พานธาตุ ตลอดเวลาระหวา งนั้ น ตถาคตไดก ล า วสอน พร่ํา สอน แสดงออกซึ่ งถ อ ยคํา ใด ถอยคําเหลานั้น ทั้งหมด ยอมเขากันไดโดยประการเดียวทั้งสิ้นไมแยงกันเปนประการอื่นเลย” –อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓.
  • 16. ๔ ตามดู ไม ตามไป กอนพุทธปรินิพพาน ทรงรับสั่งไวกับพระอานนทเถระวา ความสอดคลองเขากันเปนหนึ่งนี้ ใหใชเปนหลักมาตรฐานในการตรวจสอบวาอะไรใช หรือไมใชพระธรรมวินัย (มหาปเทส ๔) ยิ่งไปกวานั้น ทรงระบุไวดวยวา หากรูแลววาไมใชพระธรรมวินัย ใหเราละทิ้งสิ่งนั้นไปเสีย  ความสามารถในการใชบทพยัญชนะที่มีอรรถะ(ความหมาย) สอดคลองกันเปนหนึ่งเดียวนี้ เปนพุทธวิสัย มิใชสาวกวิสัย ทั้งนี้ เพราะเหตุคือความตางระดับชั้นกันของบารมีท่ีสรางสมมา พระตถาคต สรางบารมีมาในระดับพุทธภูมิ เพื่อใหไดมา ซึ่งความเปนอรหันตสัมมาสัมพุทธะ พระสาวก สรางบารมีในระดับสาวกภูมิ เพื่อใหไดมา ซึ่งโอกาสในการเปนสาวกในธรรมวินัยนี้ ที่ ม าที่ ไ ปของคํา วา ดู จิ ต หรื อ ตามดู ต ามรูฯ ไม ใ ช เ รื่ อ งลึ ก ลับ ซับซอนที่จะสืบคน ตั ว สู ต รที่ เ ป น พุ ท ธวจน เพื่ อ ใช ต รวจสอบเที ย บเคี ย งตามหลั ก มหาปเทส ก็ มี อ ยู ใชหรือไมวา ปญหาที่แทจริงทั้งกับในกรณีนี้ และอื่น ๆทํานองเดียวกันนี้ คือ ความขี้เกียจ  ความมักงายของชาวพุทธนั่นเอง ที่ไมอยากเขาไปลงทุนลงแรงศึกษาสืบคนพุทธวจน แลวไปคาดหวังลม ๆ แลง ๆ วา นาจะมีใครสักคนหนึ่งหรือสองคน ที่มีความสามารถ พิเศษคิดคนยนยอหลักธรรมที่พระตถาคตบัญญัติไวเปนสวากขาโตแลวนั้น ใหงายสั้นลง กวาได การเชื่อเชนนี้ เปนลักษณะความเชื่อของปุถุชนผูมิไดสดับ - มิไดเห็นพระอริยเจา - ไมฉลาดในธรรมของพระอริยเจา - ไมไดรับการแนะนําในธรรมของพระอริยเจา จึงไมทราบวา พระสาวกมีภูมิธรรมจํากัดอยูเพียงแคเปนผูเดินตามมรรคที่พระตถาคตบัญญัติไวเทานั้น (มคฺ ค านุ ค า จ ภิกฺ ข เว เอตรหิ สาวกา วิ ห รนฺ ติ ปจฺฉ า สมนฺ น าคตา)
  • 17. อิ น ทรี ย สั ง วร ๕ ผูที่สรางบารมีมาในระดับสาวกภูมิ ไมมีความสามารถในการคิดสรางมรรคขึ้นเอง ไมเวนแมแต พระอรหันตผูหลุดพนดวยปญญา (ปฺาวิมุตฺเตน ภิกฺขุนาติ) ก็ตาม พระพุทธเจา (อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ) ในฐานะพระศาสดานั้น มีคุณสมบัติเหนือไปกวา คือ ทรงเปนผูรูมรรค (มคฺคฺู) รูแจงในมรรค (มคฺควิท) และเปนผูฉลาดในมรรค (มคฺคโกวิโท) ู พระพุทธองคจึงทรงรับสั่งปองกันไวลวงหนาแลววา สูตรใด ๆ ก็ตามที่แตงขึ้นใหมในภายหลัง แมจะมีความสละสลวยวิจิตร เปนของนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก ใหเราไมสําคัญตนวา เปนสิ่งที่ควรเลาเรียนศึกษา ในทางกลับกัน คํากลาวของตถาคต อันมีความหมายลึกซึ้งนั้น ใหเราสําคัญตนวาเปนสิ่งที่ควรเลาเรียนศึกษาและใหพากันเลาเรียนศึกษาคําของตถาคตนั้น แลวใหไตถามทวนถามกันและกันในเรื่องนั้น ๆ วาพระพุทธเจาทรงกลาวเรืองนี้ไวอยางไร ่ ขางตนนี้ คือวิธีการเปดธรรมที่ถูกปดดวยพุทธวจน และชาวพุทธที่มีการศึกษาในลักษณะนี้ (ปฏิปุจฺฉาวินตา ปริสา โน อุกฺกาจิตวินีตา) พระพุทธองคทรงเรียกวาเปนพุทธบริษัทอันเลิศ ี ในมหาสติปฏฐานสูตรนั้น แบงฐานทีตั้งแหงสติออกเปน ๔ ฐาน คือ กาย เวทนา จิต ธรรม ่ โดยแตละฐาน มีรายละเอียดระบุชัดเจนวาปฏิบติอยางไร ขอบเขตแคไหน และจบลงอยางไร ั ผูที่ศึกษาพุทธวจนโดยละเอียดรอบคอบ ยอมที่จะเขาใจแงมุมตาง ๆ โดยลึกซึ้งครบถวน และ ยอมที่จะรูไดวา ความแตกตางในมรรควิธี มีได แตไมใชมีโดยสะเปะสะปะไรเงื่อนไขขอบเขต
  • 18. ๖ ตามดู ไม ตามไป หากแตมีได หลากหลายได ภายใตพทธบัญญัติซึ่งมีลักษณะเชื่อมโยงสอดคลองเปนหนึ่ง ุ ผลอานิสงสมุงหมายในที่สุด ก็สามารถเขาถึงได ดวยวิธีอันหลากหลายภายใตความเปนหนึ่งนี้ ในวาระนี้ จะขอยกหมวดของ จิตตานุปสสนา คือการตามเห็นในกรณีของจิต ขึ้นเปนตัวอยาง ปจจุบัน มีผูที่ดจิต หรือดูอาการของจิต โดยใชคําอธิบายสภาวะของจิตซึ่งบัญญัติขึ้นใหมเอง ู แลวหลงเขาใจไปวา การฝกตามดูตามรูสภาวะนั้น ๆ ไปเรื่อย ๆ คือการเจริญสติ คือการดูจิต  หากพิจารณาโดยแยบคายแลว คําเรียกอาการของจิต ที่คิดขึ้นใหมเองทั้งหลายเหลานั้น เปนเพียงการตั้งชื่อเรียกอารมณอันมีประมาณตาง ๆ และการตามเห็นสภาวะนั้น ๆ ไปเรื่อย ๆ ก็คือการฝกผูกจิตติดกับอารมณดวยอํานาจแหงความเพลิน (ฝกจิตใหมีสัญโญคะ) จะดวยเหตุอยางไรก็ตามแต ระบบคําเรียกที่ตางกันตรงนี้ อาจดูเหมือนเปนเรื่องเล็กนอย แตหากเทียบในระดับความละเอียดของจิตแลว องศาทีเ่ บี่ยงเพียงเล็กนอย ณ จุดตรงนี้ สามารถนําไปสูผลลัพธที่สุดในการปฏิบัติ คืออานิสงสมุงหมาย ที่แตกตางกันโดยสิ้นเชิง นัยยะหนึ่ง ที่พระพุทธองคทรงบัญญัติใหเราตามเห็นจิต (จิตฺตานุปสฺสนา) แทจริงแลวก็เพื่อ ใหเห็นเหตุเกิดและเสื่อมไป โดยอาศัยการตามเห็น “อาการของจิต” เพียงแค ๘ คูอาการเทานั้น
  • 19. อิ น ทรี ย สั ง วร ๗ ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุเปนผูมีปกติพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู นั้นเปนอยางไรเลา ? ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! ภิ ก ษุ ใ นกรณี นี้ (๑) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น มีร าคะ วา “จิ ต มีร าคะ” (๒) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั นปราศจากราคะ วา “จิ ต ปราศจากราคะ” (๓) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น มีโ ทสะ ว า “จิ ต มีโ ทสะ” (๔) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั นปราศจากโทสะ ว า “จิ ต ปราศจากโทสะ” (๕) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น มีโ มหะ ว า “จิ ต มีโ มหะ” (๖) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ปราศจากโมหะ ว า “จิ ต ปราศจากโมหะ” (๗) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น หดหู ว า “จิ ต หดหู ” (๘) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ฟุ งซ า น ว า “จิ ต ฟุ ง ซา น” (๙) รูชัดซึ่งจิตอันถึงความเปนจิตใหญ วา “จิตถึงแลวซึ่งความเปนจิตใหญ” (๑๐) รูชัดซึ่งจิตอันไมถึงความเปนจิตใหญ วา “จิตไมถึงแลวซึ่งความเปนจิตใหญ” (๑๑) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ยั งมี จิ ต อื่ น ยิ่ ง กว า วา “จิ ต ยั ง มี จิ ต อื่ นยิ่ ง กว า ” (๑๒) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ไม มีจิ ต อื่ น ยิ่ ง กว า ว า “จิ ต ไม มี จิ ต อื่ น ยิ่ง กว า ” (๑๓) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ตั้งมั่ น ว า “จิ ต ตั้ง มั่น ” (๑๔) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ไม ต้ัง มั่ น ว า “จิ ต ไม ตั้ง มั่ น ” (๑๕) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น หลุด พ น แล ว ว า “จิ ต หลุ ด พ น แล ว ” (๑๖) รู ชั ด ซึ่ ง จิ ต อั น ยั ง ไม ห ลุ ด พ น ว า “จิต ยั ง ไม ห ลุ ด พ น ”
  • 20. ๘ ตามดู ไม ตามไป ดวยอาการอยางนี้แล ที่ภิกษุเปนผูมีปกติพิจารณาเห็นจิตในจิต (จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ) อันเปนภายในอยูบาง, ในจิตอันเปนภายนอกอยูบาง, ในจิตทั้งภายในและภายนอกอยูบาง; และเป น ผู มี ป กติพิ จ ารณาเห็ น ธรรมเป น เหตุ เกิด ขึ้น ในจิ ต อยู บ า ง, เห็ น ธรรมเป น เหตุ เ สื่ อ มไปในจิ ต อยู บ า ง, เห็ น ธรรมเป น เหตุ ทั้ ง เกิ ด ขึ้ น และเสื่ อ มไปในจิ ต อยูบ า ง; ก็ แ หละสติ ( คือ ความระลึ ก ) ว า “จิ ต มี อ ยู ” ดัง นี้ ของเธอนั้ น เป น สติ ที่ เ ธอดํารงไว เ พี ย งเพื่ อ ความรู เพี ย งเพื่ อ ความอาศั ย ระลึ ก . ที่ แ ท เ ธอเป น ผู ที่ ตั ณ หาและทิ ฏ ฐิ อ าศั ย ไม ไ ด และเธอไม ยึ ด มั่ น อะไร ๆ ในโลกนี้ . ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุชื่อวาเปนผูมีปกติตามเห็นจิตในจิตอยู แมดวยอาการอยางนี้. - มหาสติปฏฐานสูตร มหาวาร. สํ. ๑๐/๓๓๑/๒๘๙.
  • 21. อิ น ทรี ย สั ง วร ๙ จะเห็น ไดวา พระพุท ธเจา มิไ ดใ หเ ราฝก ตามดูต ามรูเ รื่อ งราวในอารมณไปเรื่อย ๆ และ การตามดูตามรูซึ่งจิต (จิตฺตานุปสฺสนา) จะตองเปนไปภายใต ๘ คูอาการนี้เทานั้น สมมุติสถานการณตัวอยาง เชน ในขณะที่เรากําลังโกรธอยู ในกรณีนี้ หนาที่ของเรา ที่ตองทําใหได คือ “รูชัดซึ่งจิตอันมีโทสะ วา จิตมีโทสะ” ไมใชไปตามดูตามรูโทสะ (หรือ รูในอารมณที่จิตผูกติดอยู) ในจิตอันมีโทสะขณะนั้น ปญหามีอยูวา โดยธรรมชาติของจิต มันรูไดอารมณเดียวในเวลาเดียว (one at a time) ในขณะที่เรากําลังโกรธอยูนั้น เราจึงตองละความเพลินในอารมณที่ทําใหเราโกรธเสียกอน ไมเชนนั้น เราจะไมมีทาง “รูชัดซึ่งจิตอันมีโทสะ วา จิตมีโทสะ” ไดเลย มีผัสสะ จิตรับรูอารมณ มีสติ ละความเพลิน รูชัดซึ่งจิต ในระหวางขั้นตอนขางตน ถาเราสามารถเห็นธรรมเปนเหตุเกิดขึ้นหรือเสือมไปในจิตได ่ การเห็นตรงนี้ เรียกวา วิปสสนา ซึ่งเปนจุดประสงคของการเจริญสติปฏฐานทั้งสี่ โปรดสังเกตุ สติปฏฐานสี่ ทุกหมวด จบลงดวยการเห็นธรรมอันเปนเหตุเกิดขึ้นและเสื่อมไป ขั้นตอนของสติท่เขาไปตั้งอาศัยในฐานทั้งสี่ เปนเพียงบันไดขั้นหนึ่งเทานั้น ไมใชจุดหมาย ี
  • 22. ๑๐ ตามดู ไมตามไป เมื่อผัสสะถูกตองแลว ๆ หากเราหลงเพลิน “รูสึก” ตามไปเรื่อย ๆ นี่คือ อนุสัย (ตามนอน) หากละความเพลินในอารมณแลวมาเห็นจิตโดยอาการ ๘ คูขางตนนี่คืออนุปสสนา(ตามเห็น) และ ถามีการเห็นแจงในธรรมเปนเหตุเกิดขึ้นและเหตุเสื่อมไปในจิต นี่คอ วิปสสนา (เห็นแจง) ื ถาหากวา เราไมสามารถรูชัดซึ่งจิตโดยอาการอยางใดอยางหนึ่งใน ๘ คูขางตนได ใหดึงสติกลับมารูที่ฐานคือกาย เชน อิริยาบถ หรือ ลมหายใจ พลิกกลับเปนกายานุปสสนา อยามักงายไปคิดคําขึ้นใหม เพื่อมาเรียกอารมณท่จิตหลงอยูในขณะนั้น เพราะนั่นคือจุดเริ่ม ี ของการเบี่ยงออกนอกมรรควิธี (ไปใชคําอธิบายอาการของจิตที่นอกแนวจากพุทธบัญญัติ เปนผลใหหลงเขาใจไดวา กําลังดูจิต ทั้ง ๆ ที่กําลังเพลินอยูในอารมณ ขาดสติ แตหลงวามีสติ) นี้ เปนเพียงตัวอยางของการตามเห็นในกรณีจิตตานุปสสนา คือ ใชจิตเปนฐานที่ตั้งของสติ ในกรณีของ กายานุปสสนา เวทนานุปสสนา ธรรมานุปสสนา พึงศึกษาในลักษณะเดียวกัน คือปฏิบัติตามพุทธวจนในกรณีนั้น ๆ ใหถูกตองครบถวน ทั้งโดยอรรถะ และโดยพยัญชนะ พระพุทธเจามองเห็นธรรมชาติในจิตของหมูสัตว ในแบบของผูที่สรางบารมีมาเพื่อบอกสอน การบัญญัติมรรควิธี จึงเปนพุทธวิสัย หนาที่ของเราในฐานะพุทธสาวกมีเพียงอยางเดียว คือ ปฏิบัติตามพุทธบัญญัติโดยระมัดระวังอยางที่สุด (มคฺคานุคา จ ภิกฺขเว เอตรหิ สาวกา ฯ) เมื่อเขาใจความหมายของการตามเห็น (อนุปสฺสนา) และการเห็นแจง (วิปสฺสนา) แลว ทีน้ี จะมีวธีอยางไร ที่จะทําใหอัตราสวน Ratio ของ วิปสสนา ตอ อนุปสสนา มีคาสูงที่สุด ิ (คื อ เน น การปฏิบั ติ ที่ ไ ดประสิ ท ธิภ าพมากที่ สุ ด เพื่อ ความลั ด สั้ น สู ม รรคผล)
  • 23. อิ น ทรี ย สั ง วร ๑๑ ตั ว แปรหลั ก ที่ เ ปน กุ ญ แจไขป ญ หานี้ คื อ สมาธิ ตราบใดที่จิตยังซัดสายไป ๆ มา ๆ ทั้งการอนุปสสนาก็ดี และการวิปสสนาก็ดี ตางก็ทําไดยาก พระพุทธเจาจึงทรงรับสั่งวา ใหเราเจริญสมาธิ เพื่อใหธรรมทั้งหลายปรากฏตามเปนจริง ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ! เธอทั้ ง หลายจงเจริ ญ สมาธิ . ภิ ก ษุ มี จิ ต ตั้ง มั่ น แล ว ย อ มรู ชั ด ตามเป น จริ ง . ก็ ภิ ก ษุ ย อ มรู ชั ด ตามเป น จริ ง อย างไร ? ย อ มรู ชั ด ซึ่ ง ความเกิ ด และความดั บ แห ง รูป ความเกิ ด และความดั บ แห ง เวทนา ความเกิ ด และความดั บ แห ง สั ญ ญา ความเกิ ด และความดั บ แห ง สั ง ขาร ความเกิ ด และความดั บ แห ง วิ ญ ญาณ. - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗-๑๘//๒๗.
  • 24. ๑๒ ตามดู ไมตามไป นอกจากนี้แลว พระพุทธองคยังทรงแนะนําเปนกรณีพิเศษ สําหรับกรณีที่จิตตั้งมั่นยาก เชน คนที่คิดมาก มีเรื่องใหวิตกกังวลมาก ย้ําคิดย้ําทํา คิดอยูตลอดเวลา หยุดคิดไมได หรือ คนที่เปน hyperactive มีบุคลิกภาพทางจิตแบบ ADHD ซึ่งมีปญหาในการอยูนิ่ง  ทรงแนะนําวิธีแกไขอาการเหลานี้ โดยการเจริญทําใหมาก ซึ่งอานาปานสติสมาธิ ภิกษุทั้งหลาย ! ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงกายก็ตาม ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงจิตก็ตาม ย อ มมี ไ ม ไ ด เพราะการเจริ ญ ทํา ให ม ากซึ่ ง อานาปานสติ ส มาธิ - มหา. สํ. ๑๙/๔๐๐/๑๓๒๕. เมื่อถึงตรงนี้ แมจะไมเอยถึง เราก็คงจะเห็นไดชัดแลววา ความสงบแหงจิต (สมถะ) นั้น จะตองดําเนินไปควบคู และเกื้อหนุนกับระดับความสามารถในการเห็นแจง (วิปสสนา) ซึ่ ง พระพุ ท ธองคเ องได ต รั ส เน น ย้ํา ในเรื่อ งนี้ ไ วโ ดยตรงด ว ย ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย. ! ธรรมที่ ค วรกระทํา ให เ จริ ญ ด ว ยป ญ ญาอั น ยิ่ ง เป น อย า งไรเล า ? สมถะ และ วิปสสนา เหลานี้เรากลาววา เปนธรรมที่ควรกระทําใหเจริญดวยปญญาอันยิ่ง. - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๔/๒๕๔.
  • 25. อิ น ทรี ย สั ง วร ๑๓ ธรรมที่ควรกระทําใหเจริญดวยปญญาอันยิ่ง มีสองอยาง คือ ทั้งสมถะ และวิปสสนา นั่นหมายความวา ทั้งสมถะ และวิปสสนา เปนสิ่งที่ตองอาศัยปญญาอันยิ่งในการไดมา ดังนั้น ใครก็ตามที่มีความสามารถในการทําจิตใหตั่งมั้นได บุคคลนั้นมีปญญาอันยิ่ง ใครก็ตามที่จิตตั้งมั่นแลวสามารถเห็นแจงในธรรมอันเปนเหตุ บุคคลนั้นมีปญญาอันยิ่ง สําหรับบางคนที่อาจจะเขาใจความหมายไดดีกวา จากตัวอยางอุปมาเปรียบเทียบ พระพุทธองคไดทรงยกอุปมาเปรียบเทียบไวในฌานสูตร วาเหมือนกับการฝกยิงธนู เมื่อพิจารณาแลว จะพบวา มีตัวแปรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งจะตองปรับใหสมดุลย เชน ความนิ่งของกาย วิธีการจับธนู การเล็ง น้ําหนัก และจังหวะในการปลอยลูกศร อุปมานี้ พอจะทําใหเราเห็นภาพไดดี ในการเจริญสมถะวิปสสนา ดวยปญญาอันยิ่ง วาการเห็นแจงในธรรมอันเปนเหตุนั้น จะตองอาศัยความสมดุลยตาง ๆ อยางไรบาง หากจะพูดใหสั้นกระชับที่สุด การตามดูไมตามไปนี้ แทจริงแลว คือ การไมตามไป เพราะเมื่อไมตาม (อารมณอันมีประมาณตาง ๆ) ไป มันก็เหลือแคการตามดูที่ถูกตอง หลักการไมตามไปนี้ ก็คือ หลักการละนันทิ ซึ่งเปนเรื่องเดียวกันกับหลักอินทรียสังวร ภิกษุมิคชาละ ฟงธรรมเรื่องการละนันทิ แลวหลีกจากหมูไปอยูผูเดียวก็บรรลุอรหัตผล ความเร็วในการละนันทิ ยังถูกใชเปนเครื่องวัดความกาวหนาในการปฏิบัติจิตภาวนา (ดูความเชื่อมโยงไดในเรื่อง อินทรียสังวร, การไมประมาท, อินทรียภาวนาชั้นเลิศ)
  • 26. ๑๔ ตามดู ไมตามไป หนั ง สื อ ตามดู ไม ต ามไป เล ม นี้ จั ด ทํา ขึ้ น เพื่ อ อํา นวยความสะดวกแก ช าวพุ ท ธ โดยการคัดเลือกพุทธวจน ที่เกี่ยวของกับการเจริญสติ เปนจํานวนกวา ๖๐ พระสูตร ซึ่งมีเนื้อหาสอดรับเชื่อมโยงคลองเกลียวถึงกัน เพื่อใหเราไดศึกษาใหเขาใจถึงมรรควิธี ที่ถูกตองทุกแงมุม ในความหลากหลายภายใตความเปนหนึ่ง จากพุทธบัญญัติโดยตรง ขอใหบุญบารมีที่ไดสรางมา ของชาวพุทธผูที่กําลังถือหนังสือเลมนี้อยู จงเปนเหตุปจจัย ใหทานคนพบคําตอบโดยแจมแจง ในขอสงสัยเรื่องการปฏิบัติที่ทานอาจจะติดของอยู และสําหรับบางทานที่เขาใจคลาดเคลื่อน ปฏิบัติคลาดเคลื่อนไปบาง มาแตทีแรก ก็ขอใหไดพบ ไดเขาใจในสิ่งที่ถูก และนําไปใชขยับปรับเปลี่ยนใหตรงทางไดโดยเร็ว สําหรับทานที่ไมเคยรูอะไรมากอนเลย ก็ถือเปนบุญกุศลที่ไดพบแผนที่ฉบับนี้แตแรก ------------------------------------------------------------------------------------------ คณะผู จั ด พิ ม พ หนั ง สื อ เล ม นี้ ขอนอบน อ มสั ก การะ ต อ ตถาคต ผู อรหั น ตสั ม มาสั ม พุ ท ธะ และ ภิ ก ษุ ส าวกในธรรมวิ นั ย นี้ ตั้ ง แตค รั้ ง พุ ทธกาล จนถึ ง ยุ ค ป จ จุบั น ที่ มี ส ว นเกี่ ย วข อ งในการสื บ ทอดพุท ธวจน คื อ ธรรม และวิ นัย ที่ ท รงประกาศไว บริ สุ ท ธิ์บ ริ บูร ณ ดี แ ล ว คณะศิษ ย พ ระตถาคต
  • 28. ๑๖ ตามดู ไมตามไป กอใหเกิดอนุสัยทั้ง ๓ ภิ กษุ ทั้ง หลาย ! เพราะอาศัย ตา ดว ย รู ป ทั้งหลาย ดว ย จึง เกิด จักขุวิญ ญาณ การประจวบพรอ มแหงธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป น ปจจัย... เพราะอาศัย หู ดว ย เสียงทั้งหลาย ด ว ย จึง เกิดโสตวิญญาณ การประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ; เพราะมี ผัสสะเป น ปจจัย... เพราะอาศัย จมูก ดว ย กลิ่น ทั้งหลาย ด ว ย จึง เกิดฆานวิญ ญาณ การประจวบพรอ มแห งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเปน ป จจัย... เพราะอาศัย ลิ้น ด ว ย รสทั้งหลาย ดว ย จึง เกิดชิว หาวิญญาณ การประจวบพรอ มแห งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเปน ป จจัย...
  • 29. อิ น ทรี ย สัง วร ๑๗ เพราะอาศัย กาย ดว ย โผฏฐัพ พะทั้งหลาย ด ว ย จึง เกิดกายวิญ ญาณ การประจวบพรอ มแหงธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ; เพราะมีผั สสะเปน ปจจัย... เพราะอาศัย ใจ ดว ย ธรรมารมณทั้ง หลาย ด ว ย จึง เกิดมโนวิญญาณ การประจวบพรอ มแห งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ; เพราะมีผั สสะเปน ป จจัย จึงเกิดเวทนา อันเปนสุขบาง เปนทุกขบาง ไมใชทุกขไมใชสุขบาง. บุ คคลนั้น เมื่ อ สุ ข เวทนา ถู กตอ งอยู ยอ มเพลิด เพลิน ยอ มพร่ําสรรเสริญ เมาหมกอยู; อนุ สัยคื อราคะ ย อมตามนอน แกบุคคลนั้น (ตสฺส ราคานุส โย อนุเสติ) เมื่ อ ทุ ก ขเวทนา ถู กตอ งอยู เขายอมเศร าโศก ย อมระทมใจ ยอมคร่ําครวญ ยอ มตี อ กร่ําไห ย อ มถึ งความหลงใหลอยู; อนุ สัยคือปฏิฆ ะ ย อมตามนอน (เพิ่มความเคยชิน ให) แกบุ คคลนั้น.
  • 30. ๑๘ ตามดู ไมตามไป เมื่ อ เวทนาอัน ไมใชทุก ขไมใชสุข ถูกตองอยู เขายอ มไมรูตามเป น จริง ซึ่ งสมุทยะ (เหตุ เกิด) ของเวทนานั้น ดว ย ซึ่ ง อั ตถั งคมะ (ความดับไมเหลือ ) แหงเวทนานั้น ดว ย ซึ่ง อัสสาทะ (รสอรอ ย) ของเวทนานั้ น ดว ย ซึ่ ง อาทีนวะ (โทษ) ของเวทนานั้น ด ว ย ซึ่ ง นิสสรณะ (อุบายเครื่ องออกพนไป) ของเวทนานั้น ดว ย; อนุ สัยคื ออวิชชา ย อมตามนอน (เพิ่มความเคยชิน ให) แกบุคคลนั้น. บุ คคลนั้นหนอ (สุ ข าย เวทนาย ราคานุ สย อปฺป หาย) ยัง ละราคานุสัย อั นเกิดจากสุข เวทนาไม ได; (ทุ กฺขาย เวทนาย ปฏิ ฆานุสย อปฺ ป ฏิวิโนเทตฺว า) ยังบรรเทาปฏิฆ านุสัย อั นเกิด จากทุก ขเวทนาไมไ ด; (อทุ กฺข มสุขาย เวทนาย อวิชฺชานุสย อสมูห นิตฺว า) ยั ง ถอนอวิ ชชานุสัย อัน เกิดจากอทุก ขมสุขเวทนาไมไ ด;
  • 31. อิ น ทรี ย สัง วร ๑๙ (อวิ ชฺช อปฺ ปหาย วิชฺช อนุปฺปาเทตฺว า) เมื่ อยังละอวิชชาไมไ ด และยั ง ทํา วิชชาใหเ กิด ขึ้น ไมไ ดแลว, (ทิ ฏเว ธมฺเม ทุกฺข สฺ สนฺตกโร ภวิสฺสตีติ) เขาจักทําที่สุดแห งทุ ก ข ในทิฏฐธรรม (รู เห็น ไดเลย) นี้ไ ด นั้น; (เนต าน วิชฺ ชติ ฯ) ข อนี้ ไมเ ปน ฐานะที่จัก มีไ ด. อุ ป ริ . ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๒.
  • 32. ๒๐ ตามดู ไมตามไป ไมอาจที่จะหลุดพนไปจากทุกข ภิ กษุ ทั้ง หลาย ! ผู ใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน รูป ผู นั้ น เท า กับเพลิ ด เพลิน อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุก ข... ผูใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน เวทนา ผู นั้ น เท า กับเพลิ ด เพลิน อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุก ข... ผู ใ ด เพลิด เพลิน อยู ใน สัญ ญา ผู นั้ น เท า กั บเพลิด เพลิน อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุ ก ข... ผู ใ ด เพลิด เพลิน อยู ใน สัง ขารทั้งหลาย ผู นั้ น เทา กับเพลิด เพลิ น อยู ใน สิ่ง ที่เ ป น ทุ ก ข... ผูใ ด เพลิด เพลิน อยู ใน วิญญาณ ผู นั้ น เทา กับเพลิด เพลิน อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุก ข
  • 33. อิ น ทรี ย สัง วร ๒๑ เรากลา ววา “ผูใด เพลิดเพลิ น อยู ใน สิ่ง ที่เ ปนทุก ข ผู นั้น ย อ มไมห ลุ ด พน ไปไดจากทุก ข” ดั ง นี้ . ขนฺ ธ . สํ . ๑๗/๓๙/๖๔.
  • 34. ๒๒ ตามดู ไมตามไป เพลินอยูกับอายตนะ เทากับ เพลินอยูในทุกข ภิ กษุ ทั้ง หลาย ! ผู ใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน จั ก ษุ ผู นั้ น เทา กับ เพลิ ด เพลิ น อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุกข... ผูใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน โสตะ ผู นั้ น เท า กับ เพลิ ด เพลิ น อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุกข... ผูใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน ฆานะ ผู นั้ น เท า กับ เพลิด เพลิ น อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุ กข... ผู ใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน ชิ ว หา ผู นั้ น เท า กับ เพลิด เพลิ น อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุ กข ... ผู ใ ด เพลิด เพลิน อยู ใน กายะ ผู นั้ น เท า กับ เพลิ ด เพลิน อยู ใน สิ่ง ที่เ ปน ทุ กข... ผู ใ ด เพลิ ด เพลิน อยู ใน มนะ ผู นั้ น เท า กับ เพลิ ด เพลิน อยู ใน สิ่ ง ที่เ ปน ทุกข
  • 35. อิ น ทรี ย สัง วร ๒๓ เรากลา ววา ผูใด เพลิดเพลิน อยู ใน สิ่งที่ เ ปน ทุก ข ผู นั้น ย อ มไมห ลุ ด พน ไปไดจากทุก ข ดั ง นี้. สฬา. สํ . ๑๘/๑๖/๑๙. (ในพระสู ต รต อ ไป ได ต รั ส ถึ ง ในกรณี แ ห ง อายตนะภายนอก ๖ ซึ่ ง มี ข อ ความเหมื อ นในกรณี แ ห ง อายตนะภายใน ๖ ทุ ก ประการ โดยลั ก ษณะการตรั ส ตรงนี้ คื อ ทรงตรั ส แยกเป น กรณี ๆ จนครบ ซึ่ ง ผู อ า นควรจะทํา ความเข า ใจแยกไปตามกรณี จ นครบเช น กั น การที่ละไวดว ย ... ก็ เพื่อใหรูวา มี ขอความสรุป ที่เ หมือนกัน)
  • 36. ๒๔ ตามดู ไมตามไป ลักษณะของการอยูอยางมีตัณหาเปนเพื่อน “ข า แต พ ระองค ผูเ จริ ญ ! ด ว ยเหตุเ พี ย งเท า ไรหนอ ภิ ก ษุ จึ ง ชื่ อ ว า เป น ผู มี ก ารอยู อ ย างมี เ พื่ อ นสอง พระเจ า ข า ?” มิ คชาละ ! รูป ทั้ งหลายอันจะพึงเห็นไดดวยจั กษุ อั น เป น รูป ที่นาปรารถนา นา รักใคร นา พอใจ มีลัก ษณะนา รัก เปนที่เขาไปตั้งอาศัยอยูแหงความใคร เปนที่ตั้งแหงความกําหนัดยอมใจ มีอยู. ถาหากวาภิกษุยอมเพลิดเพลิน พร่ําสรรเสริญ สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร; แก ภิกษุ ผูเ พลิดเพลิน พร่ําสรรเสริญ สยบมั ว เมา ซึ่ง รูป นั้นอยู นั่ น แหละ, นั นทิ (ความเพลิน) ย อมเกิดขึ้น เมื่ อ นั น ทิ มี อ ยู, สาราคะ (ความพอใจอยางยิ่ง) ยอ มมี ; เมื่ อ สาราคะ มี อ ยู, สั ญ โญคะ (ความผูกจิตติ ดกับอารมณ) ยอ มมี :
  • 37. อิ น ทรี ย สัง วร ๒๕ มิคชาละ ! ภิกษุผูประกอบพรอมแลว ดวยการผูกจิตติดกับอารมณดวยอํานาจแหงความเพลิน นั่ น แล เราเรี ยกวา “ผูมีการอยูอยา งมีเ พื่อนสอง” (ในกรณีแ หง เสียงทั้งหลายอันจะพึงไดยิน ดีดว ยหู, กลิ่ น ทั้งหลายอัน จะพึงดมดว ยจมูก, รสทั้ งหลายอันจะพึ ง ลิ้มดว ยลิ้น, โผฏฐัพ พะทั้งหลายอันจะพึง สัมผัสดว ยผิวกาย, และธรรมารมณทั้งหลายอันจะพึงรูแจงดวยใจ, ก็ทรงตรัสอยางเดียวกัน). มิ คชาละ ! ภิ กษุผูมี ก ารอยูดวยอาการอยา งนี้ แมจะสองเสพเสนาสนะอันเปนปาและปาชัฏ ซึ่งเงียบสงัด มีเสียงรบกวนนอย มีเสียงกึกกองครึกโครมนอย ปราศจากลมจากผิวกายคน เปนที่ทําการลับของมนุษย เป น ที่สมควรแกการหลีกเรน เชน นี้แ ลว ก็ตาม ถึงกระนั้น ภิกษุนั้นเราก็ยังคงเรียกวา ผูมีการอยูอยางมีเพื่อนสองอยูนั่นเอง.
  • 38. ๒๖ ตามดู ไมตามไป ข อ นั้นเพราะเหตุไ รเลา ? ข อ นั้นเพราะเหตุวา ตัณ หานั่น แล เปน เพื่ อนสองของภิกษุนั้น. ตั ณหานั้น อันภิ กษุนั้น ยั งละไมไ ด แลว เพราะเหตุนั้น ภิกษุนั้นเราจึงเรียกวา “ผูมีการอยูอยางมีเพื่อนสอง” ดังนี้. “ข า แต พ ระองค ผูเ จริ ญ ! ด ว ยเหตุเ พี ย งเท า ไรหนอแล ภิ ก ษุ จึ ง ชื่ อ ว า เป น ผู มี ก ารอยู อ ย างอยู ผู เ ดี ย ว พระเจ า ข า !” มิ คชาละ ! รูป ทั้ งหลายอันจะพึงเห็นไดดวยจั กษุ อั น เป น รูป ที่นาปรารถนา นา รักใคร นา พอใจ มีลัก ษณะนา รัก เปนที่เขาไปตั้งอาศัยอยูแหงความใคร เปนที่ตั้งแหงความกําหนัดยอมใจ มีอยู. ถาหากวาภิกษุยอมไมเพลิดเพลิน ไมพร่ําสรรเสริญ ไมสยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร แกภิกษุผูไมเพลิดเพลิน ไมพร่ําสรรเสริญ ไมสยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้น นั่นแหละ นันทิ ยอมดับ เมื่ อ นั น ทิ ไมมีอ ยู , สาราคะ ยอ มไมมี เมื่ อ สาราคะ ไมมีอ ยู, สัญโญคะ ยอ มไมมี
  • 39. อิ น ทรี ย สัง วร ๒๗ มิ คชาละ ! ภิกษุผูไมประกอบพรอมแลว ดวยการผูกจิตติดกับอารมณดวยอํานาจแหงความเพลิน นั่ น แล เราเรี ยกวา “ผูมีการอยูอยา งอยูผูเ ดียว” (ในกรณี แ ห ง เสียงทั้งหลายอันจะพึงไดยิน ดีดว ยหู, กลิ่น ทั้งหลายอัน จะพึงดมดว ยจมูก, รสทั้งหลายอันจะพึง ลิ้มดว ยลิ้น, โผฏฐัพ พะทั้งหลายอั นจะพึง สัมผัสดว ยผิวกาย, และธรรมารมณทั้งหลายอันจะพึงรูแจงดวยใจ, ก็ทรงตรัสอยางเดียวกัน) มิ คชาละ ! ภิกษุผูมีก ารอยูดวยอาการอย า งนี้ แมอยูในหมูบาน อันเกลื่อนกลนไปดวยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย ดวยพระราชา มหาอํา มาตยของพระราชาทั้งหลาย ดว ยเดียรถีย สาวกของเดียรถียทั้งหลาย ก็ต าม ถึง กระนั้น ภิ กษุนั้น เราก็เรียกวา ผูมีก ารอยูอยา งอยูผูเดียวโดยแท
  • 40. ๒๘ ตามดู ไมตามไป ข อ นั้นเพราะเหตุไ รเลา ? ข อ นั้นเพราะเหตุวา ตัณ หานั่น แล เปน เพื่ อนสองของภิกษุนั้น; ตั ณหานั้น อันภิ กษุนั้น ละเสี ย ไดแลว เพราะเหตุนั้น ภิกษุนั้นเราจึงเรียกวา “ผูมีการอยูอยางอยูผูเดียว” ดังนี้ แล. สฬา. สํ. ๑๘/๔๓–๔๔/๖๖-๖๗.
  • 41. อิ น ทรี ย สัง วร ๒๙ ไมอาจถึงซึ่ง ความเจริญงอกงาม ไพบูลย ในธรรมวินัย ภิกษุทั้งหลาย ! คนเลี้ยงโคที่ประกอบดวยความบกพรอง ๑๑ อยางเหลานี้แลว ไมเหมาะที่จะเลี้ยงโคและทําฝูงโคใหเจริญได. ความบกพรองนั้นคืออะไรกันเลา ? คื อ คนเลี้ยงโคในกรณีน้ี ... เปน ผูไ มเขี่ยไขข าง, เป น ผูไ มปดแผล, ... ภิกษุทั้งหลาย ! ฉันใดก็ฉันนั้น ภิกษุผูประกอบดวยองคคุณ ๑๑ อยางเหลานี้แลว ไมควรที่จะถึงความเจริญงอกงามไพบูลย ในธรรมวินัยนี้. องคคุณนั้นคืออะไรกันเลา ? คื อ ภิกษุในกรณีนี้ ... เปน ผู ไมเขี่ยไขข าง, เป น ผูไ มปดแผล ... ภิกษุ ทั้ง หลาย ! ภิกษุเปน ผูไ มเขี่ ยไขข าง เปนอยางไรกัน เลา ? ภิกษุ ทั้ง หลาย ! ภิกษุในกรณีน้ี ไม อดกลั้น (อธิวาเสติ) ไม ละ (น ปชหติ) ไม บรรเทา (น วิโ นเทติ) ไม ทา ใหสิ้น สุด (น พฺยนฺตีกโรติ) ํ ไม ทา ใหห มดสิ้น (น อนภาวงฺคเมติ) ํ
  • 42. ๓๐ ตามดู ไมตามไป ซึ่ งความตรึ กเกี่ย วดว ยกาม (กามวิตก) ที่เกิดขึ้น แลว ซึ่งความตรึกเกี่ย วด วยความมุง รา ย (พยาบาทวิตก) ที่เกิดขึ้น แลว ซึ่ งความตรึกเกี่ย วด วยการเบียดเบียน (วิหิง สาวิตก) ที่เกิ ดขึ้น แลว ซึ่งบาปอกุศลธรรมทั้ง หลาย ที่เกิดขึ้นแลว ภิ กษุ ทั้งหลาย ! ภิกษุเปน ผูไ มเขี่ยไขข าง เปนอยา งนี้แ ล. ภิกษุ ทั้งหลาย ! ภิกษุเปน ผู ไ มปดแผล เปนอยา งไรกัน เลา ? ภิ กษุ ทั้งหลาย ! ภิกษุในกรณีน้ี เห็น รูป ดวยตา, ฟ ง เสียงดว ยหู, ดมกลิ่น ดว ยจมูก, ลิ้ มรสดว ยลิ้น , ถู กตอ งโผฏฐัพพะดว ยกาย, รู ธรรมารมณดวยใจ, แลวก็มีจิตยึดถือเอา ทั้งโดยลักษณะที่เปนการรวบถือทั้งหมด (โดยนิมิต) และ การถื อเอาโดยการแยกเปน สวน ๆ (โดยอนุพ ยัญ ชนะ) สิ่ ง อัน เปน อกุศล คือ อภิชฌาและโทมนัส จะพึง ไหลไปตามผูที่ ไมสํารวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะการไมสํารวมอินทรียใด เปนเหตุ เธอไม ปฏิบัติเพื่อปด กั้น อินทรียเหลา นั้นไว เธอไมรั กษา และไมสํา รวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ภิกษุ ทั้ง หลาย ! ภิกษุเป น ผูไ มปดแผล เปนอยา งนี้แ ล. (ในที่นี้ ยกมาใหเห็นเพียง ๒ จากทั้งหมด ๑๑ คุณสมบัติ) มู. ม. ๑๒/๔๑๐/๓๘๔-๕.
  • 44. ๓๒ ตามดู ไมตามไป ละความเพลิน จิตหลุดพน สมฺมา ปสฺส นิพฺพินฺ ท ติ เมื่ อเห็น อยูโดยถูก ตอง ยอ มเบื่อหน า ย นนฺ ทิ กฺข ยา ราคกฺข โย เพราะความสิ้ น ไปแหง นันทิ จึง มีความสิ้นไปแห ง ราคะ ราคกฺ ข ยา นนฺทิกฺข โย เพราะความสิ้น ไปแหง ราคะ จึ ง มีความสิ้นไปแห ง นันทิ นนฺ ทิ ราคกฺข ยา จิตฺต สุวิมุตฺตนฺติ วุจฺ จตีติ เพราะความสิ้น ไปแหง นันทิและราคะ กลาวได วา “จิต หลุด พน แลวดวยดี” ดั ง นี้. สฬา. สํ . ๑๘/๑๗๙/๒๔๕-๖.
  • 45. อิ น ทรี ย สัง วร ๓๓ ความพอใจ เปนเหตุแหงทุกข “ทุ กขใ ด ๆ ที่เกิ ดขึ้นแลวในอดีต ทุก ขทั้ง หมดนั้น มีฉั นทะเปน มูล มีฉันทะเป นเหตุ เพราะวา ฉันทะ (ความพอใจ) เป น มูลเหตุแ หง ทุกข ทุ กขใ ด ๆ อัน จะเกิ ดขึ้นในอนาคต ทุ ก ขทั้ง หมดนั้น ก็มีฉัน ทะเป น มูล มีฉันทะเปน เหตุ เพราะวา ฉันทะ (ความพอใจ) เปน มูลเหตุแ หง ทุกข และทุ กขใ ด ๆ ที่ เกิดขึ้น ทุ ก ขทั้ง หมดนั้น ก็มีฉัน ทะเปน มูล มีฉันทะเป น เหตุ เพราะวา ฉันทะ (ความพอใจ) เป น มูลเหตุแ หง ทุกข”. สฬา. สํ . ๑๘/๔๐๓/๖๒๗. (ในเนื้อความพระสูตร ทรงชี้ใหเห็นถึงเหตุของทุกขในปจจุบัน ซึ่งก็คือ ฉันทะ เปนความรูที่เห็นกันได แลวจึงไดสรุปใหเห็นไปถึงนัยยะโดยอดีตกับอนาคต)
  • 46. ๓๔ ตามดู ไมตามไป เมื่อคิดถึงสิ่งใด แสดงวาพอใจในสิ่งนั้น ภิ กษุ ทั้ง หลาย ! ถา บุ คคลยอ มคิดถึง สิ่ง ใดอยู (เจเตติ) ยอ มดํา ริ ถึง สิ่งใดอยู (ปกปฺ เ ปติ) และย อมมีจิ ตฝงลงไปในสิ่งใดอยู (อนุเสติ) สิ่ง นั้ น ยอมเปนอารมณเพื่ อการตั้ง อยูแ ห ง วิญ ญาณ. เมื่ออารมณ มีอยู, ความตั้ ง ขึ้น เฉพาะแห งวิ ญญาณ ยอ มมี ; เมื่ อวิญ ญาณนั้น ตั้ง ขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว, ความเกิดขึ้นแหง ภพใหมตอไป ยอ มมี; เมื่อความเกิดขึนแหงภพใหมตอไป มี, ้  ชาติชรา มรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวนตอไป : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี.้ นิทาน. สํ. ๑๖/๗๘/๑๔๕.
  • 47. อิ น ทรี ย สัง วร ๓๕ ภพแมชั่วขณะดีดนิวมือก็ยังนารังเกียจ ้ ภิกษุ ทั้ง หลาย ! คู ถ แมนิ ดเดียว ก็เป นของมี กลิ่น เหม็น ฉั น ใด, ภิกษุ ทั้ง หลาย ! สิ่ง ที่เ รียกวา ภพ ก็ฉันนั้น เหมือนกัน, แม มีประมาณนอ ยชั่ว ลัดนิ้ว มือ เดียว ก็ไ มมีคุณ อะไรที่พอจะกล า วได. เอก. อํ . ๒๐/๔๖/๒๐๓. (พระสูตรตอไป ทรงตรัสถึง มูตร น้ําลาย หนอง โลหิต ดวยขอความเดียวกัน)
  • 48.
  • 49. อิ น ทรี ย สั ง วร ๓๗ ตัณหา คือ “เชื้อแหงการเกิด” วั จฉะ ! เรายอมบัญ ญั ติความบัง เกิดขึ้น สํา หรับ สัตวผูที่ยัง มีอุ ปาทานอยู (สอุปาทานสฺส) ไมใ ช สํา หรับ สัตวผูที่ไ มมีอุปาทาน วัจฉะ ! เปรียบเหมือน ไฟที่มเชื้อ ยอมโพลงขึนได (อคฺคิ สอุปาทาโน ชลติ) ี ้ ที่ไ ม มีเชื้อ ก็ โ พลงขึ้นไมไ ด อุป มานี้ ฉันใด อุ ป ไมยก็ฉัน นั้น วัจฉะ ! เราย อมบั ญ ญั ติความบัง เกิดขึ้น สํา หรับ สัตวผูที่ยัง มีอุ ปาทานอยู ไม ใ ช สํา หรับ สัตว ผูที่ไ มมีอุปาทาน
  • 50. ๓๘ ตามดู ไมตามไป “พระโคดมผูเจริญ ! ถาสมั ย ใด เปลวไฟ ถู กลมพั ดหลุดปลิวไปไกล, สมัยนั้น พระโคดมยอมบัญญัติซึ่งอะไรวาเปนเชื้อแกเปลวไฟนั้น ถาถือวามันยังมีเชื้ออยู ?” วัจฉะ ! สมัย ใด เปลวไฟ ถูกลมพัด หลุด ปลิ ว ไปไกล เราย อ มบัญ ญัติเปลวไฟนั้น วา มีลมนั่นแหละเป น เชื้อ วัจฉะ ! เพราะวา สมัยนั้น ลมยอมเปนเชื้อของเปลวไฟนั้น. “พระโคดมผูเจริญ ! ถาสมัยใด สัตวทอดทิ้งกายนี้ และยังไมบังเกิดขึ้นดวยกายอื่น, สมัยนั้นพระโคดม ยอมบัญญัติ ซึ่งอะไร วาเปนเชื้อแกสัตวนั้น ถาถือวา มันยังมีเชื้ออยู ?” วัจฉะ ! สมัย ใด สัต ว ท อดทิ้งกายนี้ และยัง ไม บังเกิด ขึ้นดวยกายอื่น เรากลา ว สัตวนี้ วา มีตั ณหานั่น แหละเปนเชื้อ เพราะว า สมัยนั้ น ตัณ หายอ มเปน เชื้อของสัตวนั้น แล. สฬา. สํ . ๑๘/๔๘๕/๘๐๐.
  • 51. อิ น ทรี ย สั ง วร ๓๙ เมื่อมีความพอใจ ยอมมีตัณหา ภิ กษุ ทั้ง หลาย ! เปรีย บเหมือนไฟกองใหญ พึงลุก โพลงดว ยไมสิบ เลมเกวียนบา ง ยี่สิบ เลมเกวียนบา ง สามสิบ เลมเกวียนบา ง สี่สิบ เลมเกวียนบา ง. บุรุษ พึ งเติมหญา แหง บาง มูลโคแหง บา ง ไมแหง บาง ลงไปในกองไฟนั้น ตลอดเวลาที่ควรเติม อยูเปน ระยะ ๆ. ภิ กษุ ทั้ง หลาย ! ดว ยอาการ อยา งนี้แ ล ไฟกองใหญ ซึ่ง มี เครื่องหลอ เลี้ ยง อยา งนั้น มี เชื้ อ เพลิง อยา งนั้น ก็ จะพึ ง ลุก โพลง ตลอดกาลยาวนาน ขอ นี้ฉันใด ภิกษุทั้ง หลาย ! เมื่อ ภิกษุเป น ผู มี ปกติ เห็นโดยความเปน อัส สาทะ (นา รักน า ยิน ดี) ใน อุ ป าทานิ ยธรรม (ธรรมทั้งหลายอั นเปนที่ตั้ง แหง อุปาทาน) อยู ตัณ หาย อมเจริญ อยา งทั่ว ถึง
  • 52. ๔๐ ตามดู ไมตามไป เพราะมี ตัณ หาเปน ปจจัย จึง มีอุปาทาน เพราะมี อุปาทานเปน ปจจัย จึงมีภ พ เพราะมี ภพเปน ปจจั ย จึง มีช าติ เพราะมีช าติเปน ปจจัย ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน ความเกิดขึ้นพร อ มแหง กองทุกขทั้ ง สิ้น นี้ ย อมมี ดว ยอาการอยา งนี้. นิ ท าน. สํ . ๑๖/๑๐๒/๑๙๖-๑๙๗.
  • 53. อิ น ทรี ย สั ง วร ๔๑ ตัณหา คือ เครื่องนําไปสูภพใหม อันเปนเหตุเกิดทุกข ภิ กษุ ทั้ง หลาย ! ถา บุ คคลยอ มคิด ถึง สิ่ง ใดอยู (เจเตติ) ย อ มดํา ริ ถึง สิ่ง ใดอยู (ปกปฺเปติ) และยอมมี ใ จฝง ลงไป ในสิ่งใดอยู (อนุ เสติ ) (อารมฺมณเมต โหติ วิฺ าณสฺส ิติยา) สิ่ง นั้น ย อมเปน อารมณเ พื่อการตั้ง อยูแหงวิญ ญาณ (อารมฺ มเณ สติ ปติฏา วิ ฺ าณสฺส โหติ) เมื่ออารมณ มี อยู, ความตั้งขึ้นเฉพาะแหง วิญญาณยอมมี (ตสฺ มึ ปติ ฏิเต วิ ฺาเณ วิ รูเฬฺห นติ โหติ) เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว, ยอมมีการนอมไป (นติ ยา สติ อาคติคติ โหติ) เมื่ อมีก ารนอมไป, ยอมมีการไปการมา (อาคติ คติ ยา สติ จุตูปปาโต โหติ) เมื่ อมีการไปการมา, ยอมมีก ารเคลื่อนการบังเกิด
  • 54. ๔๒ ตามดู ไมตามไป เมื่อมีการเคลื่อนการบังเกิด, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะ ฯ จึงเกิดขึ้นครบถวน ความเกิ ดขึ้นพรอ มแหง กองทุกขทั้ง สิ้น นี้ ยอมมี ดว ยอาการอยา งนี้. ภิ กษุทั้ง หลาย ! ถ า บุคคลยอมไมคิดถึง สิ่ง ใด ย อ มไม ดํา ริ ถึ ง สิ่ ง ใด แต เ ขายั ง มีใจปก ลงไปในสิ่ งใดอยู สิ่ง นั้น ยอมเปน อารมณเ พื่อการตั้ง อยูแหงวิญ ญาณ. เมื่ออารมณ มีอ ยู, ความตั้ งขึ้น เฉพาะแหง วิญ ญาณยอ มมี เมื่ อ วิญ ญาณนั้น ตั้ ง ขึ้ นเฉพาะ เจริญ งอกงามแล ว, ย อ มมีการนอมไป เมื่ อ มี การนอมไป, ย อ มมี การไปการมา เมื่ อ มีการไปการมา, ยอ มมีการเคลื่อนการบังเกิด เมื่อมีการเคลื่อนการบังเกิด, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะ ฯ จึงเกิดขึ้นครบถวน ความเกิดขึ้นพร อ มแหง กองทุกขทั้ง สิ้น นี้ ยอมมี ดว ยอาการอยา งนี้. นิ ท าน. สํ . ๑๖/๖๘๐/๑๔๙.