SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
–
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน แผนที่ความคิดสร้างจินตนาการ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว รามาวดี ปัญญา เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาว รามาวดี ปัญญา เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 4
2.นางสาว ทอภัค ชื่นวิไลทรัพย์ เลขที่ 17 ขั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
แผนที่ความคิดสร้างจินตนาการ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Mina Map and imaginations
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว รามาวดี ปัญญา และ นางสาว ทอภัค ชื่นวิไลทรัพย์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
การศึกษาในประเทศไทยปัจจุบันยังเน้นที่การท่องจา และจานวนปริมาณของเนื้อหาในการเรียน ซึ่ง
เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้นักเรียน นักศึกษาต้องอ่านตารา และเรียนอย่างเคร่งเครียด และในฐานะที่ผู้จัดทา
โครงงานยังเป็นเด็กนักเรียนที่ต้องเรียนในระบบการศึกษาเช่นนี้ จึงเกิดแนวคิดที่ว่าเราจะสามารถจดจาเนื้อหา
การเรียนโดยที่ตัวเราไม่เครียดแต่กลับกลายเป็นคนที่สนุกกับการเรียนและได้พัฒนาทักษะสมองในการท่องจา
ได้อย่างไร และ ผู้จัดทาโครงงานก็ได้ศึกษาและพบว่า การเรียนโดยการใช้ความรู้เชื่อมโยงกับ Mind Map หรือ
แผนที่ความคิดนั้น สามารถช่วยให้การเรียนพัฒนาได้ เพราะแผนที่ความคิดจะฝึกให้สมองคิดวิเคราะห์ จัดองค์
ความรู้เป็นหมวดๆ โดยการใช้สีและภาพประกอบ ไม่เพียงแต่พัฒนาสมองและความจา แต่การเรียนของเราก็
จะไม่น่าเบื่ออีกต่อไป ทั้งหมดที่กล่าวมา จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้ เพราะไม่
เพียงแต่ผู้จัดทาจะได้รับความรู้เท่านั้น แต่ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้นี้ต่อนักเรียน นักศึกษาคนอื่นให้ได้
วิธีการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแบบนี้อีกด้วยเช่นกัน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาหาวิธีการเรียนให้ได้ประโยชน์สูงสุด
2.เรียนรู้การใช้สมองอย่างถูกต้อง
3.สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตจริงได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.กลไกในการจดจาของสมอง
2.รู้จักแผนที่ความคิดและวิธีการใช้
3.ปัจจัยในการจดจาของสมอง
4.ระบบการเรียนที่เหมาะกับวัย
หลักการและทฤษฎี
Mind Map คืออะไร
Mind Map หรือ แผนที่ความคิด เป็นวิธีการบันทึกความคิดเพื่อให้เห็นภาพของความคิดที่หลากหลาย
มุมมอง ที่กว้าง และที่ชัดเจน โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ ทั้งสิ้น เป็นการเขียนตามความคิด ที่
เกิดขึ้นขณะนั้น การเขียนมีลักษณะเหมือนต้นไม้แตกกิ่งก้านสาขาออกไปเรื่อยๆ ทาให้สมองได้คิดได้ทางานตาม
ธรรมชาติ และมีการจินตนาการกว้างไกล
แผนที่ความคิด ยังเป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการบันทึกความคิดของการอภิปรายกลุ่ม หรือการระดม
ความคิด โดยให้สมาชิกทุกคนเสนอความคิดเห็น และวิทยากรจะทาการจดบันทึกด้วยคาสั้นๆ คาโตๆ ให้ทุกคน
มองเห็น พร้อมทั้งโยงเข้าหากิ่งก้านที่เกี่ยวข้องกัน เพื่อรวบรวมความคิดที่หลากหลายของทุกคน ไว้ใน
แผ่นกระดาษแผ่นเดียว ทาให้ทุกคนได้เห็นภาพความคิดของผู้อื่นได้ชัดเจน และเกิดความคิดใหม่ต่อไปได้
วิธีการเขียน Mind Map และวิธีการพัฒนาสมองและความจา
Mind map คือ การถ่ายทอดความคิด หรือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสมองลอกลงกระดาษ โดยการใช้
ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิม คนที่คิดเรื่อง Mind map ขึ้นมาคือ 'โทนี่ บูซาน' โทนี่เป็น
คนที่สนใจศึกษาถึงเรื่องการทางานของสมองมนุษย์ เมื่อ 30 ปีก่อนนักวิทยาศาสตร์พบว่าสมองของมนุษย์มี 2
ซีก ซีกซ้ายจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับทฤษฎีต่าง ๆเหตุผล ตัวเลขตรรกะ ลาดับ การวิเคราะห์ จังหวะ ส่วนซีกขวา
คือเรื่อง จินตนาการ ภาพ มิติ ภาพรวม สี แต่ขบวนการการเรียนการสอนในปัจจุบัน ฝึกให้เราใช้สมองซีกซ้าย
เพียงข้างเดียว คือ จาแต่ตัวหนังสือ อ่านแต่ตัวหนังสือ เราจึงไม่ได้ใช้สมองทั้งสองส่วนอย่างเต็มที่
โทนี่ สังเกตว่า คนที่เรียนเก่ง ๆ จะมีวิธีการจดบันทึกที่ไม่เหมือนคนทั่วไป คือแทนที่จะเริ่มเขียนจาก
มุมซ้ายกระดาษเป็นแถว ๆ ไปจนจบบรรทัดแล้วขึ้นบรรทัดใหม่ แต่คนเหล่านี้จะเลือกใช้คา หรือประเด็นหลัก
ๆ หรือภาพแทนประโยคยาว ๆ เขาเลยพัฒนาแนวความคิดขึ้นมา Mind map นี้ก็เป็นที่นิยมไปทั่วโลก มีคนใช้
วิธีการนี้ทั่งในด้านการเรียนและการทางานเป็นล้าน ๆ คน
การใช้ Mind map ในประเทศไทย
ในต่างประเทศ มีหลาย ๆ ประเทศที่นาเรื่อง Mind map มาใช้ในการเรียนหรือการทางานมานาน
แล้ว โดยเฉพาะในบริษัทใหญ่ ๆ ทั่วโลก ส่วนในเอเชียเท่าที่ทราบข้าราชการตารวจในประเทศสิงคโปร์ก็ใช้เรื่อง
นี้มาช่วยในการสืบคดี การเชื่อมโยงข้อมูลของคดีต่าง ๆ การสืบหาตัวคนร้าย ส่วนในประเทศไทย เรื่อง Mind
map เข้ามาค่อนข้างช้า แต่ปัจจุบันนี้ก็เริ่มแพร่หลายมากขึ้นในระดับธุรกิจทราบมาว่า บริษัท AMD
(Thailand) ก็นามาใช้ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยรับมาจาก บริษัทแม่ที่สหรัฐ ในด้านการเรียนการสอน
ก็มีหลายสถาบันศึกษาที่นาเรื่อง Mind map มาใช้ เช่น สถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช โรงเรียนรัตนาธิเบศร์
นนทบุรี เป็นต้น
Tony Buzan “พ่อมดมหัศจรรย์แห่งสมอง”
“ถ้าแกมีมันสมองในหัวสักหน่อย แกคงเป็นคนดีเหมือนใคร ๆ เขา และเป็นคนดีกว่าคนบางคนเสียอีก
ในโลกนี้มันสมองเป็นสิ่งเดียวที่มีค่าไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นกาหรือเป็นคน”
เจ้ากาในหนังสือ “พ่อมดมหัศจรรย์แห่งออซ” บอกกับหุ่นไล่กา ทาให้มันเกิดแรงบันดาลใจและตัดสินใจว่าจะ
พยายามอย่างหนักที่จะหามันสมองให้ได้ มันตัดสินใจร่วมขบวนเดินทางไปเมืองมรกตกับโดโรธีเพื่อขอสมอง
จากออซผู้ยิ่งใหญ่ ตามนิทานที่แฟรงก์ โบม เล่าไว้เมื่อ 109 ปีก่อน
หลังจากแฟรงก์ โบมพิมพ์หนังสือ “พ่อมดมหัศจรรย์แห่งออซ” ออกจาหน่ายได้ประมาณ 70 ปี
นักจิตวิทยาประยุกต์ชาวอังกฤษชื่อ “โทนี บูซาน” (Tony Buzan) ก็ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ BBC ของ
อังกฤษ แนะนาให้โลกได้รู้จักกับเครื่องมือช่วยให้คนเราใช้สมองได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เขาเรียกเครื่องมือ
ที่เปรียบเสมือน “มีดพับอเนกประสงค์ของสมอง” ว่า “Mind Map”
โทนี ยืนยันว่า Mind Map เป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้ได้ ตั้งแต่คนที่คิดว่าในหัวตัวเองมีแต่ “ขี้เลื่อย” แบบหุ่นไล่
กาในนิทานของโบม หรือผู้ที่เป็นอัจฉริยบุคคลอย่างลีโอนาร์โด ดา วินชี เมื่อห้าร้อยปีที่แล้ว มาจนถึงบิล เกตต์
ในยุคปัจจุบัน
“ด้วยเทคนิคนี้ นักเรียนที่เรียนเป็นที่โหล่ของชั้นสามารถก้าวขึ้นมาอยู่แนวหน้า เพราะเด็กกลุ่มนี้รู้
วิธีใช้สมองให้ดีขึ้น”
Mind Map เป็นกระบวนการที่ทาให้เราได้ใช้ทักษะของสมองทุก ๆ ส่วนอย่างเต็มที่ จนทาให้ผู้ที่ใช้มี
อิสระที่จะท่องไปในอาณาบริเวณที่กว้างใหญ่อย่างไม่มีที่สิ้นสุดของสมอง
“ผมมีเซลสมองอยู่นับล้านล้านเซล ในยามที่ผมมีความคิดสร้างสรรค์ผมรู้สึกได้เลยว่าเซลเหล่านี้ทางานอย่างมี
สมรรถนะสูง แต่เมื่อใดที่ผมเครียดหรือเหนื่อย ระดับของมันก็จะตกลงมา มันขึ้นอยู่กับอารมณ์ อาหารและ
เครื่องดื่มที่รับประทานเข้าไป
“จุดมุ่งหมายของผมอยู่ที่การให้การศึกษาผู้คนเรื่องสมองของพวกเขา และสอนให้รู้วิธีใช้สมองอย่างมีแรงจูงใจ
ผมให้เครื่องมือกับผู้คนและสอนวิธีเรียนรู้ให้แก่พวกเขา”
นับตั้งแต่ปีพ.ศ. 2513 เป็นต้นมา โทนี บูซานเดินทางไปบรรยายเรื่องสมอง การเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์และ
Mind Map ให้กับนักเรียน นักศึกษา ข้าราชการ นักธุรกิจ และผู้บริหารระดับบริษัทและระดับประเทศทั่วโลก
ประมาณ 100 ประเทศ เขาจึงว่าเป็น Pro. Trainer ระดับโลกที่ Go Training ภาคภูมิใจที่จะนาเสนอ
ชีวิตวัยเด็ก
จากการที่ผู้เขียนเป็นศิษย์ชาวไทยคนแรกของ โทนี บูซาน ได้มีโอกาสพบเขาครั้งแรกที่สิงคโปร์เมื่อปี
พ.ศ. 2541 ประมาณหนึ่งปีหลังจากที่เดินทางไปรับการอบรมเพื่อมาเป็นวิทยากรฝึกการใช้ Mind Map จาก
แวนดา นอร์ธที่เมืองพูล สหราชอาณาจักร ผู้เขียนได้มีโอกาสฟังโทนี เล่าถึงประวัติของเขาและกาเนิดของ
Mind Map นับครั้งไม่ถ้วน จึงขอประมวลมาแบ่งปันกับให้ผู้อ่าน Go Training ในฉบับนี้
โทนี บูซาน เป็นชาวอังกฤษ เกิดที่ Brookfield Park Nursing Home, Palmers Green, ในกรุง London
เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2485 ชื่อสูติบัตรของเขาตอนแรกเกิดคือ “Anthony Peter Buzan” เป็นบุตรของนาง
จีน (นามสกุลเดิม née Burn) และนาย Gordon Buzan มีนิวาสสถานอยู่ที่ Shangri-la, Western Drive,
Shepperton
อันที่จริงนามสกุลของโทนี ถ้าจะเขียนให้ตรงกับเสียง ต้องเขียนว่า “บิวแซน” แต่ในประเทศไทยได้มี
การใช้ตัวเขียนว่าเป็น “บูซาน” จนเป็นที่นิยมทั่วไป โทนี บูซานสาเร็จการศึกษาด้านจิตวิทยา ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป จาก University of British Colombia ในประเทศแคนาดา ซึ่งเขาได้
พื้นฐานในการคิดนวัตกรรรมใหม่ในการจดบันทึกและรู้วิธีการใช้สมองอย่างเต็มที่ จากการศึกษาค้นคว้าใน
มหาวิทยาลัยแห่งนี้นี่เอง โดยช่วงที่เริ่มฟูมฟักทฤษฎี Mind Map ใหม่ ๆ โทนี จะช่วยเพื่อน เด็ก และนักเรียนที่
มีปัญหาในการจดจาจากบันทึกที่จดไว้ ให้กลายเป็นคนที่เรียนเก่งขึ้นมาได้
โทนีเคยย้อนราลึกว่า บ้านเดิมของเขาชื่อ Shangri-la ซึ่งหมายถึง 'สวรรค์บนดินที่มนุษย์จินตนาการ
ขึ้นมา' ดังนั้นเขาจึงจินตนาการถึงหุบเขาที่เป็นสวรรค์บนดินมาโดยตลอดการเดินทางของชีวิต และซึมซับสิ่งนี้
จนทาให้เป็นคนที่มองโลกในแง่ดี ชอบที่จะส่งเสริมให้ผู้อื่นได้ยกระดับความสามารถจนเต็มศักยภาพของตัวเอง
ช่วงปีพ.ศ. 2485-2450 สมัยที่โทนีเป็นเด็ก ศาสตราจารย์เซอร์เฟเดอริก ทรูบี คิง (Professor Sir Frederick
Truby King) เป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงดูทารกในอังกฤษอย่างมาก หนังสือของเขาชื่อ “Mothercraft”
เป็นเสมือนคัมภีร์การเลี้ยงดูลูกแห่งยุค จีนแม่ของโทนีก็อยู่ในกลุ่มคุณแม่วัยสาวที่เปิดตาราของทรูบีเลี้ยงโทนี
และน้องชายของเขา ดังนั้น โทนีจึงได้รับการสั่งสอนจากแม่แบบค่อนข้างจะจู้จี้มากกว่าแม่ ๆ ในยุคปัจจุบัน
จากหน้าหนึ่งในสมุดบันทึกของแม่ของโทนี เธอสังเกตว่าลูกชายของเธอแสดงความฉลาดเกินวัยมา
ตั้งแต่เล็ก ๆ มีหัวคิดที่เป็นเหตุเป็นผล ติดหนังสือ และมีความจาเป็นเลิศ ของเล่นที่โทนีชอบเป็นพิเศษคือ
ลูกปัดสีและเป็ดไม้ แต่ไม่สู้จะสนใจตุ๊กตาผ้าเท่าไร แต่อันที่จริงโทนีชอบ “ของจริง” มากกว่า “ของเล่น”
ตอนอายุ 8 ขวบเด็กชายโทนีเลี้ยงแมว ชื่อ “แพดดี” และกระต่ายชื่อ “ปองโก้” หนังสือเล่มแรกของ
โทนี เมื่อเขาอายุ 8 ขวบคือ “สัตว์เลี้ยงของฉัน” เขาเขียนถึงกระต่ายน้อยปองโก้ที่ตายไปว่า “เจ้ากระต่ายปอง
โก้ตายไปแล้ว แต่ฉันเก็บเงินไว้ห้าปอนด์เพื่อจะให้คนสต๊าฟมันไว้ให้ฉัน” และโทนีก็มักติดเจ้าปองโก้สต๊าฟเวลา
เดินทางไปไหนมาไหนจนเขาอายุ 40 ปี ปองโก้สต๊าฟก็หมดสภาพ ต้องนาไปฝัง ส่วนเจ้าแมวเหมียวแพดดีนั้น
โทนีก็ผูกพันมากเช่นกัน แม้ว่าเมื่อมันตายลง โทนีจะไม่ได้เอามันไปสต๊าฟ แต่เขาก็แทบจะกลั้นน้าตาไม่อยู่
เพราะ “เจ้าน่ารักมากและฉันรักเจ้าจริง ๆ” ด้วยความรักและผูกพันกับสัตว์เลี้ยง ทาให้ความฝันในชีวิตของ
โทนีในวัยเด็กไปจนถึงอายุ 20 ปีคือ การได้เป็นนักกีฏวิทยา นักสัตววิทยา ผู้ดูแลสัตว์ในสวนสัตว์ สัตวแพทย์
และนักจิตวิทยาสัตว์
ในเรื่องการเป็นนักอ่านและนักเขียนเขาเริ่มต้นตอนอายุ 14 ปี โดยก่อนหน้านี้โทนีคิดว่าบทกวีเป็น
เรื่องไร้สาระ แต่เมื่อคุณครูคนหนึ่งอ่านบทกวีชื่อ “The Eagle” ของ “Alfred Lord Tennyson” เขาก็
เปลี่ยนความคิด และกลายเป็นทั้งนักอ่านตัวยงและนักเขียนมือฉกาจ หนังสือที่เขาอ่านเป็นประจาคืองานของ
เช็คสเปียร์ และยังตามอ่านหนังสือที่เด็กติดกันงอมแงมทั้งโลก อย่าง “Lord of the Rings” และ “Harry
Potter” ซึ่งโทนีคิดว่าเต็มไปด้วยอารมณ์ขันและภาพที่สวยงาม นอกจากนี้เขายังเขียนบทกวีไว้เองถึง 1,000
ชิ้น และหนังสือนับร้อยเล่ม
หาคู่มือการใช้สมองไม่ได้ เลยเขียนเสียเอง
โทนีเล่าว่าตอนเรียนอยู่ที่ British Colombia เขาเคยถามบรรณารักษ์ห้องสมุดว่าอยากได้หนังสือที่
สอนวิธีใช้สมอง บรรณารักษ์ชี้ไปทางหมวดแพทย์ศาสตร์ โทนีไปพลิก ๆ ดูแล้วก็กลับมาถามบรรณารักษ์ใหม่ว่า
ต้องการหนังสือที่บอกว่าจะใช้สมองอย่างไรตอนที่มันยังอยู่กับตัว ไม่ใช่ผ่าออกมาดูว่ามันเป็นอย่างไร
บรรณารักษ์จึงสรุปว่าไม่มีหนังสือแบบที่โทนีต้องการ
เขาจึงตัดสินใจว่า เขาจะเขียนหนังสือนี้ขึ้นมาให้ชาวโลกไว้อ่านเล่มหนึ่ง และหนังสือเล่มนั้นก็คือหนังสือชื่อ
“Use Your Head” หรือ “ใช้หัวคิด” ซึ่งนับว่าเป็นหนังสือเล่มแรกที่อุทิศเนื้อหาทั้งเล่มให้กับการใช้สมองอย่าง
ถูกวิธีและให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื้อหาหนึ่งในนั้นก็คือการแนะนาให้โลกรู้จัก Mind Map เป็นครั้งแรก
ด้วย
โทนี กับ Mind Map
โทนีหลงเสน่ห์และชอบหนังสือมาตั้งแต่อยู่อนุบาล เพราะในหนังสือจะใช้ตัวหนังสือขนาดใหญ่และ
เขียนด้วยดินสอสี แต่ยิ่งเรียนมากขึ้นขนาดตัวหนังสือก็ค่อย ๆ ลดลง ความน่าสนใจและความโปรดปรานก็ค่อย
ๆ ลดลงตามไปด้วย แถมเมื่อโตขึ้นเรียนชั้นประถมตัวอักษรที่ครูให้เขาเขียนก็ถูกจองจาอยู่ในบรรทัด แล้วยังให้
ใช้ปากกาหรือดินสอได้เพียงสีเดียว เหมือนกันทั้งชั้นเรียน แม้โทนีจะเป็นเด็กช่างจด แต่เขาก็เริ่มสังเกตว่ายิ่งจด
มากยิ่งจาไม่ได้ พอเข้ามหาวิทยาลัย หนุ่มน้อยโทนีก็เริ่มเรียนรู้และชื่นชมระบบความจาของชาวกรีก ที่ใช้
จินตนาการและการเชื่อมโยงมาช่วยจาสิ่งต่าง ๆ นับพันรายการได้อย่างแม่นยา โดยในวิชาเอกของเขา
จิตวิทยาก็ยืนยันว่า หลักการสองประการที่สาคัญในช่วงของการเรียนรู้คือการเชื่อมโยงข้อมูลและ การใช้
จินตนาการ
โทนีเริ่มทึ่งกับความสามารถของสมอง และพบว่าสมองของคนเรามีพลังที่ยิ่งใหญ่ซ่อนไว้อย่างมหาศาล
เขาเริ่มทุ่มความสนใจให้กับเทคนิคความจา การจดบันทึก และความคิดสร้างสรรค์ ยิ่งได้พบว่า นักคิดผู้
ยิ่งใหญ่ของโลก อย่าง ลีโอนาร์โด ดา วินชิ ใช้รูปภาพและสัญลักษณ์ เป็นสิ่งที่ช่วยในการจดจา ก็ยิ่งเป็นการ
ยืนยันในสิ่งที่เขากาลังทุ่มเทอยู่
โทนีเล่าให้ฟังว่า “ในตอนนั้น สิ่งเดียวที่ผมนึกถึงคือ เครื่องมือทางความคิด ที่จะสามารถประยุกต์ใช้ใน
ทุกรูปแบบกิจกรรมของมนุษย์ และตั้งอยู่บนพื้นฐานการทางานแบบเดียวกันกับสมองของเรา ผมต้องการ
เครื่องมือที่สามารถทางานประสานกับการทางานของสมองตามธรรมชาติ มากกว่าสิ่งที่จะจากัดความคิดของ
มนุษย์ เช่น การบังคับให้เราต้องทางาน ขัดแย้งกับลักษณะที่ธรรมชาติสร้างมา ในที่สุดสิ่งที่ปรากฏขึ้นใน
ความคิดของผม ก็คือเครื่องมือทางความคิดที่มีลักษณะเป็นแฉก ๆ คล้ายรูป ‘ดาว’ มันดูเรียบง่าย สวยงาม
และที่สาคัญเครื่องมือชนิดนี้ มีหลักการสาคัญ คือ ความคิดสร้างสรรค์และกระบวนการคิดแบบแผ่รัศมีอีก
ด้วย”
แม้จะยังไม่ได้พัฒนาเครื่องมือใหม่อย่างเต็มรูปแบบ แต่โทนีก็จบปริญญาตรีโดยได้รับ “เกียรตินิยม”
ห้อยท้าย มหาวิทยาลัย British Columbia จึงตะครุบตัวเขาไว้ให้เป็นอาจารย์ต่อ และมอบหมายให้สอนวิชา
จิตวิทยา 101 ให้กับนักศึกษาปี 1 ซึ่งเขาก็ดาเนินการตามแบบอาจารย์รุ่นพี่ ๆ คือเตรียมสอนเป็นโน้ตแบบเดิม
ๆ แล้วก็อ่านตามแผ่นกระดาษที่จดมา ระหว่างร่ายยาวนักศึกษาก็จดคาบรรยายเป็นบรรทัดๆ ด้วยปากกาหรือ
ดินสอสีเดียว พอถึงเนื้อหาเรื่องช่วงเวลาแห่งการเรียนรู้ที่มีอยู่ 4 ช่วงซึ่งสมองคนจะจาดีที่สุด คือ ช่วงต้น ตอน
จบ ช่วงที่มีจุดเด่น และช่วงที่มีการเชื่อมโยง โทนีก็นึกขึ้นมาได้ว่า
“นี่ผมกาลังสอนนักศึกษาถึงเรื่องการฟื้นความจาและหลักการเรียนรู้ ด้วยวิธีที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่ผมสอนโดย
สิ้นเชิงหรือนี่ !”
จากวันนั้นเป็นต้นมาโทนีก็พัฒนา Mind Map จนตกผลึก และนามาใช้ในการถ่ายทอดความรู้ให้กับ
นักศึกษาของเขา โทนีสรุปว่า “คนเราทุกรูปทุกนามสามารถเป็นคนฉลาดหลักแหลมด้วยกันได้ทั้งนั้น มันขึ้นอยู่
กับว่าเขาได้รับโอกาสนั้นหรือไม่ และเขาได้เครื่องมือพัฒนาสมองไปใช้หรือไม่ ขอย้าว่าการพัฒนาความคิดนั้น
ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมมากกว่ากรรมพันธุ์ ผมชอบระบบการสอนที่ผู้สอนให้นักเรียนรู้วิธีเรียน ไม่ว่าจะเป็นใน
บ้านหรือในโรงเรียน ผมได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งรอบด้าน รวมทั้งจาก ลีโอนาร์โด ดา วินชี ด้วย เพราะเขานา
ศาสตร์และศิลป์มาประยุกต์ใช้ร่วมกันได้อย่างลงตัว”
กฎง่ายๆของการใช้ Mind Map
1. แก่นแกน (ภาพหัวเรื่อง) มีขนาดพอเหมาะ ไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไป
2. ห้ามล้อมแก่นแกนด้วยเส้นรอบวงใด ๆ ทั้งสิ้นเว้นแต่ว่ามีนัยสัมพันธ์กับเรื่องนั้น ๆ
3. เส้นของกิ่งแก้วต้องเชื่อมโยงกับแก่นแกนเสมอ
4. กิ่งก้อยที่แตกออกจากกิ่งแก้วควรมีสีเดียวกับกันเพื่อให้จาง่าย
5. เส้นต้องมีความยาวสัมพันธ์กับคาหรือภาพ
6. ต้องแตกกิ่งที่จุดสุดท้ายของเส้นเสมอ
7. เส้นทุกเส้นของกิ่งแก้วและกิ่งก้อยต้องเชื่อมโยงกัน อย่าเขียนให้ขาดหรือแหว่ง
8. คายิ่งสั้นยิ่งดี
9. เวลาเขียน Mind Map บนกระดาษแผ่นเดียว อย่าหมุนกระดาษจนเป็นวงกลม จนทาให้คาบางคากลับหัว
10. ห้ามเขียนภาพ หรือคาแล้วล้อมด้วยวงกลมหรือรูปเหลี่ยม
11. ห้ามเขียนคา/ภาพปิดท้ายเส้น
12. ห้ามเขียนคาคา/ภาพทั้งบนและใต้กิ่งเดียวกัน
13. ไม่ควรใช้วลีหรือประโยคใน Mind Map เลือกแต่คาที่เป็นประเด็นหลักเท่านั้น
สมองเรียนรู้อย่างไร
ถึงแม้ว่า สมองจะถูกเข้าใจว่าเป็นสิ่งอัศจรรย์ที่สุดในร่างกายมนุษย์มานานแล้ว แต่นักวิทยาศาสตร์เพิ่ง
เริ่มเข้าใจความมหัศจรรย์ของสมองมนุษย์อย่างลึกซึ้งเมื่อช่วงปลายศตวรรษที่ 20 นี้เอง และสามารถให้
คาอธิบายอย่างละเอียดว่า สมองมนุษย์ที่น่าทึ่งนี้มีการทางานอย่างไร
สมองมีการจัดระบบการทางานที่ซับซ้อน และมีความยืดหยุ่นในการพัฒนาปรับเปลี่ยนตัวเองได้ดีไม่น้อยไปกว่า
อวัยวะใดๆ ในร่างกาย
สมองถูกออกแบบมาเพื่อการเรียนรู้ เพื่อ “ความอยู่รอด” เป็นสาคัญ เด็กเล็กๆ เริ่มเรียนรู้ที่จะร้องไห้
ยิ้ม หัวเราะ กินอาหาร คลาน นั่ง เดิน พูด และทากิจกรรมต่างๆ เป็นผลจากการที่สมองรับรู้ เรียนรู้ พัฒนา
และเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อจะมีชีวิตรอด
สมองพัฒนาศักยภาพในการคิด ความจา ผ่านกระบวนการที่เรียนว่า “การเรียนรู้” ซึ่งจะดาเนินไปตามกาหนด
“เวลา” ที่เหมาะสม เราจึงให้ความสาคัญกับ “พัฒนาการตามช่วงวัย”
สมองมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จานวนมหาศาล เด็กแรกเกิดมีเซลล์สมองประมาณหนึ่งแสนล้านเซลล์
(เมื่อเทียบกับ ลิงมีหนึ่งหมื่นล้านเซลล์ หนูมีห้าล้านเซลล์ และแมลงหวี่มีหนึ่งแสนเซลล์) เชื่อมต่อกันด้วยแขนง
ที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ โยงใยเป็นเครือข่ายร่างแหของวงจรขนาดมหึมา
สมองประกอบด้วยเครือข่ายเซลล์สมองที่เชื่อมโยงกัน ซึ่งมีความสาคัญมากต่อการเรียนรู้ มีรายงาน
ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า เด็กอนุบาลสามารถเรียนรู้ภาษาพร้อมกันได้ถึง 7 ภาษา
นักวิทยาศาสตร์ให้ข้อสังเกตว่า เด็กมีศักยภาพที่จะพูดได้กว่า 5,000 ภาษาเท่าที่มีอยู่ในโลก แต่
ความสามารถนี้จะค่อยๆ หมดไป เมื่อเด็กไม่ได้นามาใช้
เมื่อเราอยู่ในกระบวนการเรียนรู้ เซลล์สมองจะสร้างการเชื่อมโยงที่ซับซ้อน จนเกิดเป็นร่างแห
เครือข่ายเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆจานวนเซลล์อาจไม่สาคัญเท่ากับการเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายซึ่งสามารถปรับเปลี่ยน
รูปแบบได้ตลอดเวลาที่เรามีชีวิตอยู่ ความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนนี้เองที่ทาให้สมองมนุษย์สามารถเรียนรู้ได้
ตลอดชีวิต
สมองซีกซ้าย – สมองซีกขวา สอดประสานกันเป็นองค์รวม
สมองซีกซ้าย โดดเด่นในการเรียนรู้และทาความเข้าใจภาษา เหตุผล รายละเอียด
สมองซีกขวา โดดเด่นในการเรียนรู้และทาความเข้าใจมิติ ความรู้สึก ภาพรวม
สมองสองซีกทางานประสานกันแบบองค์รวม ผ่านใยประสาทที่พาดผ่านจากซีกหนึ่งไปยังอีกซีกหนึ่ง เราเรียก
กลุ่มใยประสาทนี้ว่า คอร์ปัส แคลโลซัม การผสานการรับรู้และมุมมองของสมองทั้งสองซึก ทาให้เห็นภาพและ
เข้าใจความหมายของสิ่งต่างๆ ได้อย่างชัดเจน
เมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก เซลล์สมองจะส่งสัญญาณข้อมูลในรูปกระแสไฟฟ้าไปตาม
แขนงใยประสาทที่เรียกว่า แอกซอน ส่งต่อให้แขนงใยประสาทที่ทาหน้าที่รับข้อมูลที่เรียกว่า เดนไดรท์ของอีก
เซลล์หนึ่ง
จุดที่เชื่อมต่อกันของแอกซอน และเดนไดรท์ จะมีการแปลงข้อมูลในรูปสัญญาณไฟฟ้าเป็นสารเคมีที่
เรียกว่า สารสื่อประสาท เราเรียกจุดเชื่อมต่อในการรับส่งสัญญาณข้อมูลนี้ว่า จุดซีนแนปส์ “นาทีแห่งการ
เรียนรู้” เริ่มขึ้น ณ จุดนี้
อารมณ์มีผลต่อกระบวนการเรียนรู้
อารมณ์มีอิทธิพลต่อความสนใจและความตั้งใจ โดยอาจจะกระตุ้นหรือยับยั้งทาให้ความสนใจและ
ความตั้งใจในการเรียนรู้เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ ข้อมูลที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจ ไม่มีความหมายต่อตนเอง หรือสมอง
ไม่เข้าใจความสัมพันธ์ของข้อมูล สมองส่วนที่ทาหน้าที่ส่วนสัญชาตญาณจะเตือนว่า “เลิกคิดได้แล้ว” เสียเวลา
เสียพลังงานสมอง
อารมณ์มีอิทธิพลต่อความจา การผ่านพบสรรพสิ่งหรือเหตุการณ์ที่มีอารมณ์ประทับอยู่ด้วยจะ
กลายเป็นความทรงจาที่แจ่มชัดยืนนานอย่างยิ่ง
อารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ด้วยการเรียนรู้ สมองส่วนอารมณ์สามารถเรียนรู้และปรับเปลี่ยนได้ เมื่อมีการ
บันทึกการตอบสนองอย่างใหม่ต่อสิ่งที่กระตุ้นเร้าลงในสมองส่วนอารมณ์ อารมณ์และความรู้สึกต่อสิ่งต่างๆ
อาจแตกต่างและเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ เช่น เคยเกลียดภาษาอังกฤษ เพราะอายและเสียใจที่ถูกครูดุ แต่
เมื่อได้เรียนกับครูที่ใจดี กลับเปลี่ยนเป็นชอบภาษาอังกฤษ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-100 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง
3.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้
4.ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน
บรรณานุกรม
Mind Map คืออะไร(2551). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=3334 (วันที่ค้นข้อมูล : 24 มกราคม 2560)
วิธีการเขียน Mind Map + วิธีการพัฒนาสมองและความจา(2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.unigang.com/Article/1428 (วันที่ค้นข้อมูล : 24 มกราคม 2560)
Tony Buzan “พ่อมดมหัศจรรย์แห่งสมอง”(2552). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://oknation.nationtv.tv/blog/MindMap/2009/03/22/entry-2 (วันที่ค้นข้อมูล : 6 มกราคม
2560)
ลากเส้นสีเป็นแผนที่ความคิด (Mind Map)(2552). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.manager.co.th (วันที่ค้นข้อมูล : 6 มกราคม 2560)
สมองเรียนรู้อย่างไร(2557). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.okmd.or.th/bbl/documents/342/bbl-brain-learn (วันที่ค้นข้อมูล : 6 มกราคม
2560)

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์paveenacharoensuk
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมPpt Itwc
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์chayanon Atoon
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดmaddemon madden
 
2562 final-project 32-40
2562 final-project 32-402562 final-project 32-40
2562 final-project 32-40Napisx
 

What's hot (6)

โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิด
 
2562 final-project 32-40
2562 final-project 32-402562 final-project 32-40
2562 final-project 32-40
 

Similar to 123pj

2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5Wanwisa Ngoennoi
 
โครงงานคอม13 605
โครงงานคอม13 605โครงงานคอม13 605
โครงงานคอม13 605Nutthakan Wannati
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Polaex Harry
 
Phasin2562 final-project -
Phasin2562 final-project -Phasin2562 final-project -
Phasin2562 final-project -NanCyyy1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์No Zilla
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)Kritsanapong Manoreaung
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project mew46716
 

Similar to 123pj (20)

Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 
2559_project_(1)
2559_project_(1)2559_project_(1)
2559_project_(1)
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Trypophobia
TrypophobiaTrypophobia
Trypophobia
 
โครงงานคอม13 605
โครงงานคอม13 605โครงงานคอม13 605
โครงงานคอม13 605
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project -1 (1)
2559 project -1 (1)2559 project -1 (1)
2559 project -1 (1)
 
Phasin2562 final-project -
Phasin2562 final-project -Phasin2562 final-project -
Phasin2562 final-project -
 
2559 project paradon
2559 project paradon2559 project paradon
2559 project paradon
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
ไบโอมคอม
ไบโอมคอมไบโอมคอม
ไบโอมคอม
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 

123pj

  • 1. – แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน แผนที่ความคิดสร้างจินตนาการ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว รามาวดี ปัญญา เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว รามาวดี ปัญญา เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 4 2.นางสาว ทอภัค ชื่นวิไลทรัพย์ เลขที่ 17 ขั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) แผนที่ความคิดสร้างจินตนาการ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Mina Map and imaginations ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว รามาวดี ปัญญา และ นางสาว ทอภัค ชื่นวิไลทรัพย์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน การศึกษาในประเทศไทยปัจจุบันยังเน้นที่การท่องจา และจานวนปริมาณของเนื้อหาในการเรียน ซึ่ง เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้นักเรียน นักศึกษาต้องอ่านตารา และเรียนอย่างเคร่งเครียด และในฐานะที่ผู้จัดทา โครงงานยังเป็นเด็กนักเรียนที่ต้องเรียนในระบบการศึกษาเช่นนี้ จึงเกิดแนวคิดที่ว่าเราจะสามารถจดจาเนื้อหา การเรียนโดยที่ตัวเราไม่เครียดแต่กลับกลายเป็นคนที่สนุกกับการเรียนและได้พัฒนาทักษะสมองในการท่องจา ได้อย่างไร และ ผู้จัดทาโครงงานก็ได้ศึกษาและพบว่า การเรียนโดยการใช้ความรู้เชื่อมโยงกับ Mind Map หรือ แผนที่ความคิดนั้น สามารถช่วยให้การเรียนพัฒนาได้ เพราะแผนที่ความคิดจะฝึกให้สมองคิดวิเคราะห์ จัดองค์ ความรู้เป็นหมวดๆ โดยการใช้สีและภาพประกอบ ไม่เพียงแต่พัฒนาสมองและความจา แต่การเรียนของเราก็ จะไม่น่าเบื่ออีกต่อไป ทั้งหมดที่กล่าวมา จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้ เพราะไม่ เพียงแต่ผู้จัดทาจะได้รับความรู้เท่านั้น แต่ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้นี้ต่อนักเรียน นักศึกษาคนอื่นให้ได้ วิธีการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแบบนี้อีกด้วยเช่นกัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาหาวิธีการเรียนให้ได้ประโยชน์สูงสุด 2.เรียนรู้การใช้สมองอย่างถูกต้อง 3.สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตจริงได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.กลไกในการจดจาของสมอง 2.รู้จักแผนที่ความคิดและวิธีการใช้ 3.ปัจจัยในการจดจาของสมอง 4.ระบบการเรียนที่เหมาะกับวัย หลักการและทฤษฎี Mind Map คืออะไร
  • 3. Mind Map หรือ แผนที่ความคิด เป็นวิธีการบันทึกความคิดเพื่อให้เห็นภาพของความคิดที่หลากหลาย มุมมอง ที่กว้าง และที่ชัดเจน โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ ทั้งสิ้น เป็นการเขียนตามความคิด ที่ เกิดขึ้นขณะนั้น การเขียนมีลักษณะเหมือนต้นไม้แตกกิ่งก้านสาขาออกไปเรื่อยๆ ทาให้สมองได้คิดได้ทางานตาม ธรรมชาติ และมีการจินตนาการกว้างไกล แผนที่ความคิด ยังเป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการบันทึกความคิดของการอภิปรายกลุ่ม หรือการระดม ความคิด โดยให้สมาชิกทุกคนเสนอความคิดเห็น และวิทยากรจะทาการจดบันทึกด้วยคาสั้นๆ คาโตๆ ให้ทุกคน มองเห็น พร้อมทั้งโยงเข้าหากิ่งก้านที่เกี่ยวข้องกัน เพื่อรวบรวมความคิดที่หลากหลายของทุกคน ไว้ใน แผ่นกระดาษแผ่นเดียว ทาให้ทุกคนได้เห็นภาพความคิดของผู้อื่นได้ชัดเจน และเกิดความคิดใหม่ต่อไปได้ วิธีการเขียน Mind Map และวิธีการพัฒนาสมองและความจา Mind map คือ การถ่ายทอดความคิด หรือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสมองลอกลงกระดาษ โดยการใช้ ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิม คนที่คิดเรื่อง Mind map ขึ้นมาคือ 'โทนี่ บูซาน' โทนี่เป็น คนที่สนใจศึกษาถึงเรื่องการทางานของสมองมนุษย์ เมื่อ 30 ปีก่อนนักวิทยาศาสตร์พบว่าสมองของมนุษย์มี 2 ซีก ซีกซ้ายจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับทฤษฎีต่าง ๆเหตุผล ตัวเลขตรรกะ ลาดับ การวิเคราะห์ จังหวะ ส่วนซีกขวา คือเรื่อง จินตนาการ ภาพ มิติ ภาพรวม สี แต่ขบวนการการเรียนการสอนในปัจจุบัน ฝึกให้เราใช้สมองซีกซ้าย เพียงข้างเดียว คือ จาแต่ตัวหนังสือ อ่านแต่ตัวหนังสือ เราจึงไม่ได้ใช้สมองทั้งสองส่วนอย่างเต็มที่ โทนี่ สังเกตว่า คนที่เรียนเก่ง ๆ จะมีวิธีการจดบันทึกที่ไม่เหมือนคนทั่วไป คือแทนที่จะเริ่มเขียนจาก มุมซ้ายกระดาษเป็นแถว ๆ ไปจนจบบรรทัดแล้วขึ้นบรรทัดใหม่ แต่คนเหล่านี้จะเลือกใช้คา หรือประเด็นหลัก
  • 4. ๆ หรือภาพแทนประโยคยาว ๆ เขาเลยพัฒนาแนวความคิดขึ้นมา Mind map นี้ก็เป็นที่นิยมไปทั่วโลก มีคนใช้ วิธีการนี้ทั่งในด้านการเรียนและการทางานเป็นล้าน ๆ คน การใช้ Mind map ในประเทศไทย ในต่างประเทศ มีหลาย ๆ ประเทศที่นาเรื่อง Mind map มาใช้ในการเรียนหรือการทางานมานาน แล้ว โดยเฉพาะในบริษัทใหญ่ ๆ ทั่วโลก ส่วนในเอเชียเท่าที่ทราบข้าราชการตารวจในประเทศสิงคโปร์ก็ใช้เรื่อง นี้มาช่วยในการสืบคดี การเชื่อมโยงข้อมูลของคดีต่าง ๆ การสืบหาตัวคนร้าย ส่วนในประเทศไทย เรื่อง Mind map เข้ามาค่อนข้างช้า แต่ปัจจุบันนี้ก็เริ่มแพร่หลายมากขึ้นในระดับธุรกิจทราบมาว่า บริษัท AMD (Thailand) ก็นามาใช้ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยรับมาจาก บริษัทแม่ที่สหรัฐ ในด้านการเรียนการสอน ก็มีหลายสถาบันศึกษาที่นาเรื่อง Mind map มาใช้ เช่น สถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ นนทบุรี เป็นต้น Tony Buzan “พ่อมดมหัศจรรย์แห่งสมอง” “ถ้าแกมีมันสมองในหัวสักหน่อย แกคงเป็นคนดีเหมือนใคร ๆ เขา และเป็นคนดีกว่าคนบางคนเสียอีก ในโลกนี้มันสมองเป็นสิ่งเดียวที่มีค่าไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นกาหรือเป็นคน” เจ้ากาในหนังสือ “พ่อมดมหัศจรรย์แห่งออซ” บอกกับหุ่นไล่กา ทาให้มันเกิดแรงบันดาลใจและตัดสินใจว่าจะ พยายามอย่างหนักที่จะหามันสมองให้ได้ มันตัดสินใจร่วมขบวนเดินทางไปเมืองมรกตกับโดโรธีเพื่อขอสมอง จากออซผู้ยิ่งใหญ่ ตามนิทานที่แฟรงก์ โบม เล่าไว้เมื่อ 109 ปีก่อน หลังจากแฟรงก์ โบมพิมพ์หนังสือ “พ่อมดมหัศจรรย์แห่งออซ” ออกจาหน่ายได้ประมาณ 70 ปี นักจิตวิทยาประยุกต์ชาวอังกฤษชื่อ “โทนี บูซาน” (Tony Buzan) ก็ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ BBC ของ อังกฤษ แนะนาให้โลกได้รู้จักกับเครื่องมือช่วยให้คนเราใช้สมองได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เขาเรียกเครื่องมือ ที่เปรียบเสมือน “มีดพับอเนกประสงค์ของสมอง” ว่า “Mind Map” โทนี ยืนยันว่า Mind Map เป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้ได้ ตั้งแต่คนที่คิดว่าในหัวตัวเองมีแต่ “ขี้เลื่อย” แบบหุ่นไล่ กาในนิทานของโบม หรือผู้ที่เป็นอัจฉริยบุคคลอย่างลีโอนาร์โด ดา วินชี เมื่อห้าร้อยปีที่แล้ว มาจนถึงบิล เกตต์ ในยุคปัจจุบัน “ด้วยเทคนิคนี้ นักเรียนที่เรียนเป็นที่โหล่ของชั้นสามารถก้าวขึ้นมาอยู่แนวหน้า เพราะเด็กกลุ่มนี้รู้ วิธีใช้สมองให้ดีขึ้น” Mind Map เป็นกระบวนการที่ทาให้เราได้ใช้ทักษะของสมองทุก ๆ ส่วนอย่างเต็มที่ จนทาให้ผู้ที่ใช้มี อิสระที่จะท่องไปในอาณาบริเวณที่กว้างใหญ่อย่างไม่มีที่สิ้นสุดของสมอง “ผมมีเซลสมองอยู่นับล้านล้านเซล ในยามที่ผมมีความคิดสร้างสรรค์ผมรู้สึกได้เลยว่าเซลเหล่านี้ทางานอย่างมี สมรรถนะสูง แต่เมื่อใดที่ผมเครียดหรือเหนื่อย ระดับของมันก็จะตกลงมา มันขึ้นอยู่กับอารมณ์ อาหารและ เครื่องดื่มที่รับประทานเข้าไป “จุดมุ่งหมายของผมอยู่ที่การให้การศึกษาผู้คนเรื่องสมองของพวกเขา และสอนให้รู้วิธีใช้สมองอย่างมีแรงจูงใจ ผมให้เครื่องมือกับผู้คนและสอนวิธีเรียนรู้ให้แก่พวกเขา” นับตั้งแต่ปีพ.ศ. 2513 เป็นต้นมา โทนี บูซานเดินทางไปบรรยายเรื่องสมอง การเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์และ Mind Map ให้กับนักเรียน นักศึกษา ข้าราชการ นักธุรกิจ และผู้บริหารระดับบริษัทและระดับประเทศทั่วโลก ประมาณ 100 ประเทศ เขาจึงว่าเป็น Pro. Trainer ระดับโลกที่ Go Training ภาคภูมิใจที่จะนาเสนอ ชีวิตวัยเด็ก
  • 5. จากการที่ผู้เขียนเป็นศิษย์ชาวไทยคนแรกของ โทนี บูซาน ได้มีโอกาสพบเขาครั้งแรกที่สิงคโปร์เมื่อปี พ.ศ. 2541 ประมาณหนึ่งปีหลังจากที่เดินทางไปรับการอบรมเพื่อมาเป็นวิทยากรฝึกการใช้ Mind Map จาก แวนดา นอร์ธที่เมืองพูล สหราชอาณาจักร ผู้เขียนได้มีโอกาสฟังโทนี เล่าถึงประวัติของเขาและกาเนิดของ Mind Map นับครั้งไม่ถ้วน จึงขอประมวลมาแบ่งปันกับให้ผู้อ่าน Go Training ในฉบับนี้ โทนี บูซาน เป็นชาวอังกฤษ เกิดที่ Brookfield Park Nursing Home, Palmers Green, ในกรุง London เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2485 ชื่อสูติบัตรของเขาตอนแรกเกิดคือ “Anthony Peter Buzan” เป็นบุตรของนาง จีน (นามสกุลเดิม née Burn) และนาย Gordon Buzan มีนิวาสสถานอยู่ที่ Shangri-la, Western Drive, Shepperton อันที่จริงนามสกุลของโทนี ถ้าจะเขียนให้ตรงกับเสียง ต้องเขียนว่า “บิวแซน” แต่ในประเทศไทยได้มี การใช้ตัวเขียนว่าเป็น “บูซาน” จนเป็นที่นิยมทั่วไป โทนี บูซานสาเร็จการศึกษาด้านจิตวิทยา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป จาก University of British Colombia ในประเทศแคนาดา ซึ่งเขาได้ พื้นฐานในการคิดนวัตกรรรมใหม่ในการจดบันทึกและรู้วิธีการใช้สมองอย่างเต็มที่ จากการศึกษาค้นคว้าใน มหาวิทยาลัยแห่งนี้นี่เอง โดยช่วงที่เริ่มฟูมฟักทฤษฎี Mind Map ใหม่ ๆ โทนี จะช่วยเพื่อน เด็ก และนักเรียนที่ มีปัญหาในการจดจาจากบันทึกที่จดไว้ ให้กลายเป็นคนที่เรียนเก่งขึ้นมาได้ โทนีเคยย้อนราลึกว่า บ้านเดิมของเขาชื่อ Shangri-la ซึ่งหมายถึง 'สวรรค์บนดินที่มนุษย์จินตนาการ ขึ้นมา' ดังนั้นเขาจึงจินตนาการถึงหุบเขาที่เป็นสวรรค์บนดินมาโดยตลอดการเดินทางของชีวิต และซึมซับสิ่งนี้ จนทาให้เป็นคนที่มองโลกในแง่ดี ชอบที่จะส่งเสริมให้ผู้อื่นได้ยกระดับความสามารถจนเต็มศักยภาพของตัวเอง ช่วงปีพ.ศ. 2485-2450 สมัยที่โทนีเป็นเด็ก ศาสตราจารย์เซอร์เฟเดอริก ทรูบี คิง (Professor Sir Frederick Truby King) เป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงดูทารกในอังกฤษอย่างมาก หนังสือของเขาชื่อ “Mothercraft”
  • 6. เป็นเสมือนคัมภีร์การเลี้ยงดูลูกแห่งยุค จีนแม่ของโทนีก็อยู่ในกลุ่มคุณแม่วัยสาวที่เปิดตาราของทรูบีเลี้ยงโทนี และน้องชายของเขา ดังนั้น โทนีจึงได้รับการสั่งสอนจากแม่แบบค่อนข้างจะจู้จี้มากกว่าแม่ ๆ ในยุคปัจจุบัน จากหน้าหนึ่งในสมุดบันทึกของแม่ของโทนี เธอสังเกตว่าลูกชายของเธอแสดงความฉลาดเกินวัยมา ตั้งแต่เล็ก ๆ มีหัวคิดที่เป็นเหตุเป็นผล ติดหนังสือ และมีความจาเป็นเลิศ ของเล่นที่โทนีชอบเป็นพิเศษคือ ลูกปัดสีและเป็ดไม้ แต่ไม่สู้จะสนใจตุ๊กตาผ้าเท่าไร แต่อันที่จริงโทนีชอบ “ของจริง” มากกว่า “ของเล่น” ตอนอายุ 8 ขวบเด็กชายโทนีเลี้ยงแมว ชื่อ “แพดดี” และกระต่ายชื่อ “ปองโก้” หนังสือเล่มแรกของ โทนี เมื่อเขาอายุ 8 ขวบคือ “สัตว์เลี้ยงของฉัน” เขาเขียนถึงกระต่ายน้อยปองโก้ที่ตายไปว่า “เจ้ากระต่ายปอง โก้ตายไปแล้ว แต่ฉันเก็บเงินไว้ห้าปอนด์เพื่อจะให้คนสต๊าฟมันไว้ให้ฉัน” และโทนีก็มักติดเจ้าปองโก้สต๊าฟเวลา เดินทางไปไหนมาไหนจนเขาอายุ 40 ปี ปองโก้สต๊าฟก็หมดสภาพ ต้องนาไปฝัง ส่วนเจ้าแมวเหมียวแพดดีนั้น โทนีก็ผูกพันมากเช่นกัน แม้ว่าเมื่อมันตายลง โทนีจะไม่ได้เอามันไปสต๊าฟ แต่เขาก็แทบจะกลั้นน้าตาไม่อยู่ เพราะ “เจ้าน่ารักมากและฉันรักเจ้าจริง ๆ” ด้วยความรักและผูกพันกับสัตว์เลี้ยง ทาให้ความฝันในชีวิตของ โทนีในวัยเด็กไปจนถึงอายุ 20 ปีคือ การได้เป็นนักกีฏวิทยา นักสัตววิทยา ผู้ดูแลสัตว์ในสวนสัตว์ สัตวแพทย์ และนักจิตวิทยาสัตว์ ในเรื่องการเป็นนักอ่านและนักเขียนเขาเริ่มต้นตอนอายุ 14 ปี โดยก่อนหน้านี้โทนีคิดว่าบทกวีเป็น เรื่องไร้สาระ แต่เมื่อคุณครูคนหนึ่งอ่านบทกวีชื่อ “The Eagle” ของ “Alfred Lord Tennyson” เขาก็ เปลี่ยนความคิด และกลายเป็นทั้งนักอ่านตัวยงและนักเขียนมือฉกาจ หนังสือที่เขาอ่านเป็นประจาคืองานของ เช็คสเปียร์ และยังตามอ่านหนังสือที่เด็กติดกันงอมแงมทั้งโลก อย่าง “Lord of the Rings” และ “Harry Potter” ซึ่งโทนีคิดว่าเต็มไปด้วยอารมณ์ขันและภาพที่สวยงาม นอกจากนี้เขายังเขียนบทกวีไว้เองถึง 1,000 ชิ้น และหนังสือนับร้อยเล่ม หาคู่มือการใช้สมองไม่ได้ เลยเขียนเสียเอง โทนีเล่าว่าตอนเรียนอยู่ที่ British Colombia เขาเคยถามบรรณารักษ์ห้องสมุดว่าอยากได้หนังสือที่ สอนวิธีใช้สมอง บรรณารักษ์ชี้ไปทางหมวดแพทย์ศาสตร์ โทนีไปพลิก ๆ ดูแล้วก็กลับมาถามบรรณารักษ์ใหม่ว่า ต้องการหนังสือที่บอกว่าจะใช้สมองอย่างไรตอนที่มันยังอยู่กับตัว ไม่ใช่ผ่าออกมาดูว่ามันเป็นอย่างไร บรรณารักษ์จึงสรุปว่าไม่มีหนังสือแบบที่โทนีต้องการ เขาจึงตัดสินใจว่า เขาจะเขียนหนังสือนี้ขึ้นมาให้ชาวโลกไว้อ่านเล่มหนึ่ง และหนังสือเล่มนั้นก็คือหนังสือชื่อ “Use Your Head” หรือ “ใช้หัวคิด” ซึ่งนับว่าเป็นหนังสือเล่มแรกที่อุทิศเนื้อหาทั้งเล่มให้กับการใช้สมองอย่าง ถูกวิธีและให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื้อหาหนึ่งในนั้นก็คือการแนะนาให้โลกรู้จัก Mind Map เป็นครั้งแรก ด้วย โทนี กับ Mind Map โทนีหลงเสน่ห์และชอบหนังสือมาตั้งแต่อยู่อนุบาล เพราะในหนังสือจะใช้ตัวหนังสือขนาดใหญ่และ เขียนด้วยดินสอสี แต่ยิ่งเรียนมากขึ้นขนาดตัวหนังสือก็ค่อย ๆ ลดลง ความน่าสนใจและความโปรดปรานก็ค่อย ๆ ลดลงตามไปด้วย แถมเมื่อโตขึ้นเรียนชั้นประถมตัวอักษรที่ครูให้เขาเขียนก็ถูกจองจาอยู่ในบรรทัด แล้วยังให้ ใช้ปากกาหรือดินสอได้เพียงสีเดียว เหมือนกันทั้งชั้นเรียน แม้โทนีจะเป็นเด็กช่างจด แต่เขาก็เริ่มสังเกตว่ายิ่งจด มากยิ่งจาไม่ได้ พอเข้ามหาวิทยาลัย หนุ่มน้อยโทนีก็เริ่มเรียนรู้และชื่นชมระบบความจาของชาวกรีก ที่ใช้ จินตนาการและการเชื่อมโยงมาช่วยจาสิ่งต่าง ๆ นับพันรายการได้อย่างแม่นยา โดยในวิชาเอกของเขา
  • 7. จิตวิทยาก็ยืนยันว่า หลักการสองประการที่สาคัญในช่วงของการเรียนรู้คือการเชื่อมโยงข้อมูลและ การใช้ จินตนาการ โทนีเริ่มทึ่งกับความสามารถของสมอง และพบว่าสมองของคนเรามีพลังที่ยิ่งใหญ่ซ่อนไว้อย่างมหาศาล เขาเริ่มทุ่มความสนใจให้กับเทคนิคความจา การจดบันทึก และความคิดสร้างสรรค์ ยิ่งได้พบว่า นักคิดผู้ ยิ่งใหญ่ของโลก อย่าง ลีโอนาร์โด ดา วินชิ ใช้รูปภาพและสัญลักษณ์ เป็นสิ่งที่ช่วยในการจดจา ก็ยิ่งเป็นการ ยืนยันในสิ่งที่เขากาลังทุ่มเทอยู่ โทนีเล่าให้ฟังว่า “ในตอนนั้น สิ่งเดียวที่ผมนึกถึงคือ เครื่องมือทางความคิด ที่จะสามารถประยุกต์ใช้ใน ทุกรูปแบบกิจกรรมของมนุษย์ และตั้งอยู่บนพื้นฐานการทางานแบบเดียวกันกับสมองของเรา ผมต้องการ เครื่องมือที่สามารถทางานประสานกับการทางานของสมองตามธรรมชาติ มากกว่าสิ่งที่จะจากัดความคิดของ มนุษย์ เช่น การบังคับให้เราต้องทางาน ขัดแย้งกับลักษณะที่ธรรมชาติสร้างมา ในที่สุดสิ่งที่ปรากฏขึ้นใน ความคิดของผม ก็คือเครื่องมือทางความคิดที่มีลักษณะเป็นแฉก ๆ คล้ายรูป ‘ดาว’ มันดูเรียบง่าย สวยงาม และที่สาคัญเครื่องมือชนิดนี้ มีหลักการสาคัญ คือ ความคิดสร้างสรรค์และกระบวนการคิดแบบแผ่รัศมีอีก ด้วย” แม้จะยังไม่ได้พัฒนาเครื่องมือใหม่อย่างเต็มรูปแบบ แต่โทนีก็จบปริญญาตรีโดยได้รับ “เกียรตินิยม” ห้อยท้าย มหาวิทยาลัย British Columbia จึงตะครุบตัวเขาไว้ให้เป็นอาจารย์ต่อ และมอบหมายให้สอนวิชา จิตวิทยา 101 ให้กับนักศึกษาปี 1 ซึ่งเขาก็ดาเนินการตามแบบอาจารย์รุ่นพี่ ๆ คือเตรียมสอนเป็นโน้ตแบบเดิม ๆ แล้วก็อ่านตามแผ่นกระดาษที่จดมา ระหว่างร่ายยาวนักศึกษาก็จดคาบรรยายเป็นบรรทัดๆ ด้วยปากกาหรือ ดินสอสีเดียว พอถึงเนื้อหาเรื่องช่วงเวลาแห่งการเรียนรู้ที่มีอยู่ 4 ช่วงซึ่งสมองคนจะจาดีที่สุด คือ ช่วงต้น ตอน จบ ช่วงที่มีจุดเด่น และช่วงที่มีการเชื่อมโยง โทนีก็นึกขึ้นมาได้ว่า “นี่ผมกาลังสอนนักศึกษาถึงเรื่องการฟื้นความจาและหลักการเรียนรู้ ด้วยวิธีที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่ผมสอนโดย สิ้นเชิงหรือนี่ !” จากวันนั้นเป็นต้นมาโทนีก็พัฒนา Mind Map จนตกผลึก และนามาใช้ในการถ่ายทอดความรู้ให้กับ นักศึกษาของเขา โทนีสรุปว่า “คนเราทุกรูปทุกนามสามารถเป็นคนฉลาดหลักแหลมด้วยกันได้ทั้งนั้น มันขึ้นอยู่ กับว่าเขาได้รับโอกาสนั้นหรือไม่ และเขาได้เครื่องมือพัฒนาสมองไปใช้หรือไม่ ขอย้าว่าการพัฒนาความคิดนั้น ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมมากกว่ากรรมพันธุ์ ผมชอบระบบการสอนที่ผู้สอนให้นักเรียนรู้วิธีเรียน ไม่ว่าจะเป็นใน
  • 8. บ้านหรือในโรงเรียน ผมได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งรอบด้าน รวมทั้งจาก ลีโอนาร์โด ดา วินชี ด้วย เพราะเขานา ศาสตร์และศิลป์มาประยุกต์ใช้ร่วมกันได้อย่างลงตัว” กฎง่ายๆของการใช้ Mind Map 1. แก่นแกน (ภาพหัวเรื่อง) มีขนาดพอเหมาะ ไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไป 2. ห้ามล้อมแก่นแกนด้วยเส้นรอบวงใด ๆ ทั้งสิ้นเว้นแต่ว่ามีนัยสัมพันธ์กับเรื่องนั้น ๆ 3. เส้นของกิ่งแก้วต้องเชื่อมโยงกับแก่นแกนเสมอ 4. กิ่งก้อยที่แตกออกจากกิ่งแก้วควรมีสีเดียวกับกันเพื่อให้จาง่าย 5. เส้นต้องมีความยาวสัมพันธ์กับคาหรือภาพ 6. ต้องแตกกิ่งที่จุดสุดท้ายของเส้นเสมอ 7. เส้นทุกเส้นของกิ่งแก้วและกิ่งก้อยต้องเชื่อมโยงกัน อย่าเขียนให้ขาดหรือแหว่ง 8. คายิ่งสั้นยิ่งดี 9. เวลาเขียน Mind Map บนกระดาษแผ่นเดียว อย่าหมุนกระดาษจนเป็นวงกลม จนทาให้คาบางคากลับหัว 10. ห้ามเขียนภาพ หรือคาแล้วล้อมด้วยวงกลมหรือรูปเหลี่ยม 11. ห้ามเขียนคา/ภาพปิดท้ายเส้น 12. ห้ามเขียนคาคา/ภาพทั้งบนและใต้กิ่งเดียวกัน 13. ไม่ควรใช้วลีหรือประโยคใน Mind Map เลือกแต่คาที่เป็นประเด็นหลักเท่านั้น สมองเรียนรู้อย่างไร ถึงแม้ว่า สมองจะถูกเข้าใจว่าเป็นสิ่งอัศจรรย์ที่สุดในร่างกายมนุษย์มานานแล้ว แต่นักวิทยาศาสตร์เพิ่ง เริ่มเข้าใจความมหัศจรรย์ของสมองมนุษย์อย่างลึกซึ้งเมื่อช่วงปลายศตวรรษที่ 20 นี้เอง และสามารถให้ คาอธิบายอย่างละเอียดว่า สมองมนุษย์ที่น่าทึ่งนี้มีการทางานอย่างไร สมองมีการจัดระบบการทางานที่ซับซ้อน และมีความยืดหยุ่นในการพัฒนาปรับเปลี่ยนตัวเองได้ดีไม่น้อยไปกว่า อวัยวะใดๆ ในร่างกาย สมองถูกออกแบบมาเพื่อการเรียนรู้ เพื่อ “ความอยู่รอด” เป็นสาคัญ เด็กเล็กๆ เริ่มเรียนรู้ที่จะร้องไห้ ยิ้ม หัวเราะ กินอาหาร คลาน นั่ง เดิน พูด และทากิจกรรมต่างๆ เป็นผลจากการที่สมองรับรู้ เรียนรู้ พัฒนา และเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อจะมีชีวิตรอด
  • 9. สมองพัฒนาศักยภาพในการคิด ความจา ผ่านกระบวนการที่เรียนว่า “การเรียนรู้” ซึ่งจะดาเนินไปตามกาหนด “เวลา” ที่เหมาะสม เราจึงให้ความสาคัญกับ “พัฒนาการตามช่วงวัย” สมองมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จานวนมหาศาล เด็กแรกเกิดมีเซลล์สมองประมาณหนึ่งแสนล้านเซลล์ (เมื่อเทียบกับ ลิงมีหนึ่งหมื่นล้านเซลล์ หนูมีห้าล้านเซลล์ และแมลงหวี่มีหนึ่งแสนเซลล์) เชื่อมต่อกันด้วยแขนง ที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ โยงใยเป็นเครือข่ายร่างแหของวงจรขนาดมหึมา สมองประกอบด้วยเครือข่ายเซลล์สมองที่เชื่อมโยงกัน ซึ่งมีความสาคัญมากต่อการเรียนรู้ มีรายงาน ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า เด็กอนุบาลสามารถเรียนรู้ภาษาพร้อมกันได้ถึง 7 ภาษา นักวิทยาศาสตร์ให้ข้อสังเกตว่า เด็กมีศักยภาพที่จะพูดได้กว่า 5,000 ภาษาเท่าที่มีอยู่ในโลก แต่ ความสามารถนี้จะค่อยๆ หมดไป เมื่อเด็กไม่ได้นามาใช้ เมื่อเราอยู่ในกระบวนการเรียนรู้ เซลล์สมองจะสร้างการเชื่อมโยงที่ซับซ้อน จนเกิดเป็นร่างแห เครือข่ายเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆจานวนเซลล์อาจไม่สาคัญเท่ากับการเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายซึ่งสามารถปรับเปลี่ยน รูปแบบได้ตลอดเวลาที่เรามีชีวิตอยู่ ความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนนี้เองที่ทาให้สมองมนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ ตลอดชีวิต สมองซีกซ้าย – สมองซีกขวา สอดประสานกันเป็นองค์รวม สมองซีกซ้าย โดดเด่นในการเรียนรู้และทาความเข้าใจภาษา เหตุผล รายละเอียด สมองซีกขวา โดดเด่นในการเรียนรู้และทาความเข้าใจมิติ ความรู้สึก ภาพรวม สมองสองซีกทางานประสานกันแบบองค์รวม ผ่านใยประสาทที่พาดผ่านจากซีกหนึ่งไปยังอีกซีกหนึ่ง เราเรียก กลุ่มใยประสาทนี้ว่า คอร์ปัส แคลโลซัม การผสานการรับรู้และมุมมองของสมองทั้งสองซึก ทาให้เห็นภาพและ เข้าใจความหมายของสิ่งต่างๆ ได้อย่างชัดเจน
  • 10. เมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก เซลล์สมองจะส่งสัญญาณข้อมูลในรูปกระแสไฟฟ้าไปตาม แขนงใยประสาทที่เรียกว่า แอกซอน ส่งต่อให้แขนงใยประสาทที่ทาหน้าที่รับข้อมูลที่เรียกว่า เดนไดรท์ของอีก เซลล์หนึ่ง จุดที่เชื่อมต่อกันของแอกซอน และเดนไดรท์ จะมีการแปลงข้อมูลในรูปสัญญาณไฟฟ้าเป็นสารเคมีที่ เรียกว่า สารสื่อประสาท เราเรียกจุดเชื่อมต่อในการรับส่งสัญญาณข้อมูลนี้ว่า จุดซีนแนปส์ “นาทีแห่งการ เรียนรู้” เริ่มขึ้น ณ จุดนี้ อารมณ์มีผลต่อกระบวนการเรียนรู้ อารมณ์มีอิทธิพลต่อความสนใจและความตั้งใจ โดยอาจจะกระตุ้นหรือยับยั้งทาให้ความสนใจและ ความตั้งใจในการเรียนรู้เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ ข้อมูลที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจ ไม่มีความหมายต่อตนเอง หรือสมอง ไม่เข้าใจความสัมพันธ์ของข้อมูล สมองส่วนที่ทาหน้าที่ส่วนสัญชาตญาณจะเตือนว่า “เลิกคิดได้แล้ว” เสียเวลา เสียพลังงานสมอง อารมณ์มีอิทธิพลต่อความจา การผ่านพบสรรพสิ่งหรือเหตุการณ์ที่มีอารมณ์ประทับอยู่ด้วยจะ กลายเป็นความทรงจาที่แจ่มชัดยืนนานอย่างยิ่ง อารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ด้วยการเรียนรู้ สมองส่วนอารมณ์สามารถเรียนรู้และปรับเปลี่ยนได้ เมื่อมีการ บันทึกการตอบสนองอย่างใหม่ต่อสิ่งที่กระตุ้นเร้าลงในสมองส่วนอารมณ์ อารมณ์และความรู้สึกต่อสิ่งต่างๆ อาจแตกต่างและเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ เช่น เคยเกลียดภาษาอังกฤษ เพราะอายและเสียใจที่ถูกครูดุ แต่ เมื่อได้เรียนกับครูที่ใจดี กลับเปลี่ยนเป็นชอบภาษาอังกฤษ
  • 11. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -100 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง 3.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้ 4.ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน
  • 12. บรรณานุกรม Mind Map คืออะไร(2551). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=3334 (วันที่ค้นข้อมูล : 24 มกราคม 2560) วิธีการเขียน Mind Map + วิธีการพัฒนาสมองและความจา(2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.unigang.com/Article/1428 (วันที่ค้นข้อมูล : 24 มกราคม 2560) Tony Buzan “พ่อมดมหัศจรรย์แห่งสมอง”(2552). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/MindMap/2009/03/22/entry-2 (วันที่ค้นข้อมูล : 6 มกราคม 2560) ลากเส้นสีเป็นแผนที่ความคิด (Mind Map)(2552). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.manager.co.th (วันที่ค้นข้อมูล : 6 มกราคม 2560) สมองเรียนรู้อย่างไร(2557). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.okmd.or.th/bbl/documents/342/bbl-brain-learn (วันที่ค้นข้อมูล : 6 มกราคม 2560)