SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 7
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
มโนทัศน์(Concept)
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กาหนดขึ้นเป็นการพัฒนาหลักสูตรครบวงจรคือ เริ่มตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์
ข้อมูลพื้นฐาน การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งการประเมินผล
หลักสูตร โดยหวังว่าขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่สมบรูณ์ที่จะทาให้ได้หลักสูตรมีประสิทธิภาพซึ่งขั้นตอนในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 5 ขั้นตอนที่สาคัญ คือ
1. การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆ
2. การร่างหลักสูตร
3. การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร
4. การนาหลักสูตรไปใช้และ 5. การประเมินผลหลักสูตร
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา
2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง
สาระเนื้อหา(Content)
การจัดการศึกษาเท่าที่ผ่านมา โรงเรียนส่วนใหญ่ที่ใช้ตารา เอกสาร รวมทั้งสื่อต่างๆ ที่จัดพิมพ์จากหน่วยงานกลางเป็นหลักใน
การเรียนการสอน ถึงแม้ว่าสภาพบริบทและแวดล้อมโรงเรียนจะแตกต่างกัน แต่เนื้อหาสาระในการจัดการเรียนการสอนกลับเหมือนกันทั่ว
ประเทศ อย่างไรก็ตามได้มีความพยายามให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรดังที่กาหนดไว้ในคู่มือ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถพัฒนา
หลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถิ่นได้ ทั้งนี้เนื่องจากครูขาดความรู้ความเข้าใจ รวมทั้งทักษะในการพัฒนาหลักสูตร ขาดการ
สนับสนุนจากผู้บริหารและขาดการมีส่วนร่วมของคนในท้องถิ่น การจัดการเรียนการสอนส่วนใหญ่เน้นครูเป็นศูนย์กลาง เน้นการท่องจา
มากกว่าปฏิบัติจริง
1. ความจาเป็นของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
1. ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคมได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลกรวมถึงความรู้เกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2. ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมทั้งความรู้และความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการการบารุงรักษา การ
ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน
3. ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
4. ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาเน้นการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
5. ส่งเสริมการสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมสื่อการเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้ในการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อ
การเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ
6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อ
ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
2. ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
สกิลเบ็ก (Skilbeck, 1984: 2) ได้ให้ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนไว้ว่า หมายถึง การวางแผน การออกแบบ
การนาไปใช้และการประเมินผลการกาหนดการเรียนรู้ของนักเรียนดาเนินการโดยสถานศึกษา เน้นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากร
ภายในสถานศึกษา ไม่ใช่กาหนดจากบุคคลภายนอก
สรุป การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในความหมายต่างๆดังที่กล่าวมาข้างต้นสรุปว่า การพัฒนาหลักสูตรคือ แผน
ประสบการณ์หรือแผนการจัดการเรียนการสอนที่เกิดจากการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากรทั้งภายในและภายนอกของโรงเรียนเพื่อ
กาหนดการเรียนรู้ของนักเรียน มีการวางแผนนาไปใช้และประเมินผลร่วมกัน
3. แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน
(School-BasedManagement - SBM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระและมีความคล่องตัวในการบริหารงานด้านวิชาการด้าน
การเงิน ด้านการบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไป เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจโดยมีความเชื่อว่าการตัดสินใจที่ดี
ที่สุดจากการตัดสินใจของคณะบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดและมีส่วนเกี่ยวข้องกับนักเรียนมากที่สุด(Wohlsletter,1995:22-25) แนวคิดนี้เริ่มใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีแบบของบริหารจัดการแตกต่างกันไปตามมลรัฐและในระหว่าง พ.ศ.2503-2522 วงการศึกษาของ
สหรัฐอเมริกาได้มีการปรับปรุงการดาเนินงานทางการศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยนาความคิดจากความสาเร็จของการ
พัฒนาองค์การทางอุตสาหกรรมที่ทาองค์การให้มีประสิทธิภาพในการทางาน ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีคุณภาพสร้างผลกาไรและสร้าง
ความพึงพอใจแก่ลูกค้าและผู้เกี่ยวข้องดังนั้น แนวทางที่จะทาให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้น ต้องปรับปรุงและพัฒนาองค์การ การบริหาร
โรงเรียนเสียใหม่ มีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้นมีการนาวิชาการบริหารงบประมาณด้วน
ตนเอง (Self-BudgetingSchool) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (School-Based CurriculumDevelopment)การพัฒนาบุคลากรโดยใช้
โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Student Counseling) เข้ามาใช้ (สานักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ,2543:12)
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กาหนดขึ้น เป็นการพัฒนาหลักสูตรครบวงจรคือ เริ่มตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์
ข้อมูลพื้นฐาน การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งการประเมินผล
หลักสูตร โดยหวังว่าขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่สมบูรณ์ทาให้ได้หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพกล่าวโดยสรุปขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ
ขั้นที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆได้แก่
1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพและความต้องการของชุมชน
1.2 การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน
1.3 การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง
ขั้นที่ 2 การร่างหลักสูตร
2.1 การกาหนดจุดประสงค์ของหลักสูตร
2.2 การกาหนดเนื้อหาสาระ
2.3 การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและสื่อต่างๆ
2.4 การกาหนดวิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน
ขั้นที่ 3 การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร
ขั้นที่ 4 การนาหลักสูตรไปใช้
ขั้นที่ 5 การประเมินผลหลักสูตร
สรุป (Summary)
ข้อกฎหมายที่สถานศึกษาต้องไปดาเนินการให้สถานศึกษาหรือโรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตรได้เองภายใต้กรอบของ
หลักสูตรแกนกลางเป็นเรื่องที่จะต้องมี การเตรียมการให้พร้อม ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 ที่
กาหนดให้ “คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทยความเป็นพลเมืองที่ดี
ของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อและในวรรคสองกาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทา
สาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ่ง ในส่วนเกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ” ซึ่งจะเห็นได้ว่าจุดหมายในส่วนของหลักสูตรแกนกลางที่จัดทา
โดยกรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการเป็นไปอย่างกว้างๆ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจะได้นาไปจัดทาสาระของ
หลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมสาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา
นั้นๆ ต่อไป
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอาศัยแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน(School-Based
Management - SBM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระและมีความคล้องในตัวในการบริหารงานด้านวิชาการด้านการเงิน ด้าน
การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไปเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดและมีส่วนเกี่ยวข้องกับ
นักเรียนมากที่สุด แนวทางที่จะทาให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้นใช้กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้นมี
การนาวิธีการบริหารงบประมาณด้วยตนเอง (Self-BudgetingSchool) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (School-BasedCurriculum
Development)และการพัฒนาบุคลากรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-BasedStudent Counseling) เข้ามาใช้
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่นามาใช้ดาเนินการในครั้งนี้ นาแนวความคิดและรูปแบบจากพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 วรรคสอง ที่กาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทาสาระของหลักสูตรที่สอดคล้องกับ
หลักสูตรแกนกลางในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดี
ของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมทั้งแนวคิดและรูปแบบของการพัฒนาหลักสูตรเช่น ไทเลอร์ ทาบา เซย์เลอร์อเล็กซาน
เดอร์และเลวิสโอลิวา สกิลเบ็กมาร์ช และคณะเอ็กเกิลสตันวอล์คเกอร์ และรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทยเช่น กรมวิชาการ และ
กรมการศึกษานอกโรงเรียน มากาหนดเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

More Related Content

What's hot

บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Piyapong Chaichana
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
Totsaporn Inthanin
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Piyapong Chaichana
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Thamonwan Kottapan
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
wanichaya kingchaikerd
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
7 E
7 E7 E
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Pateemoh254
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
NuchanatJaroensree
 

What's hot (15)

บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
7 E
7 E7 E
7 E
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 

Similar to บทที่ 7

การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์Kutjung Rmuti
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai40
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
parkpoom11z
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Dook dik
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
katay sineenart
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
Noawanit Songkram
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
teerayut123
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
benty2443
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
gam030
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
fernfielook
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
poppai041507094142
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Piyapong Chaichana
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
wanitchaya001
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
nattawad147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Theerayut Ponman
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
nattapong147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
parkpoom11z
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 

Similar to บทที่ 7 (20)

การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 

More from wanneemayss

บท11
บท11บท11
บท11
wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
wanneemayss
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
wanneemayss
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
wanneemayss
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
wanneemayss
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
wanneemayss
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanneemayss
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
wanneemayss
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
wanneemayss
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanneemayss
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
wanneemayss
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
wanneemayss
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
wanneemayss
 

More from wanneemayss (19)

บท11
บท11บท11
บท11
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

บทที่ 7

  • 2. มโนทัศน์(Concept) ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กาหนดขึ้นเป็นการพัฒนาหลักสูตรครบวงจรคือ เริ่มตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐาน การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งการประเมินผล หลักสูตร โดยหวังว่าขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่สมบรูณ์ที่จะทาให้ได้หลักสูตรมีประสิทธิภาพซึ่งขั้นตอนในการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 5 ขั้นตอนที่สาคัญ คือ 1. การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆ 2. การร่างหลักสูตร 3. การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร 4. การนาหลักสูตรไปใช้และ 5. การประเมินผลหลักสูตร
  • 3. ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา 2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง
  • 4. สาระเนื้อหา(Content) การจัดการศึกษาเท่าที่ผ่านมา โรงเรียนส่วนใหญ่ที่ใช้ตารา เอกสาร รวมทั้งสื่อต่างๆ ที่จัดพิมพ์จากหน่วยงานกลางเป็นหลักใน การเรียนการสอน ถึงแม้ว่าสภาพบริบทและแวดล้อมโรงเรียนจะแตกต่างกัน แต่เนื้อหาสาระในการจัดการเรียนการสอนกลับเหมือนกันทั่ว ประเทศ อย่างไรก็ตามได้มีความพยายามให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรดังที่กาหนดไว้ในคู่มือ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถพัฒนา หลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถิ่นได้ ทั้งนี้เนื่องจากครูขาดความรู้ความเข้าใจ รวมทั้งทักษะในการพัฒนาหลักสูตร ขาดการ สนับสนุนจากผู้บริหารและขาดการมีส่วนร่วมของคนในท้องถิ่น การจัดการเรียนการสอนส่วนใหญ่เน้นครูเป็นศูนย์กลาง เน้นการท่องจา มากกว่าปฏิบัติจริง
  • 5. 1. ความจาเป็นของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 1. ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคมได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลกรวมถึงความรู้เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมทั้งความรู้และความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการการบารุงรักษา การ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน 3. ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา 4. ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาเน้นการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง 5. ส่งเสริมการสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมสื่อการเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้ในการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อ การเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ 6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อ ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
  • 6. 2. ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สกิลเบ็ก (Skilbeck, 1984: 2) ได้ให้ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนไว้ว่า หมายถึง การวางแผน การออกแบบ การนาไปใช้และการประเมินผลการกาหนดการเรียนรู้ของนักเรียนดาเนินการโดยสถานศึกษา เน้นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากร ภายในสถานศึกษา ไม่ใช่กาหนดจากบุคคลภายนอก สรุป การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในความหมายต่างๆดังที่กล่าวมาข้างต้นสรุปว่า การพัฒนาหลักสูตรคือ แผน ประสบการณ์หรือแผนการจัดการเรียนการสอนที่เกิดจากการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากรทั้งภายในและภายนอกของโรงเรียนเพื่อ กาหนดการเรียนรู้ของนักเรียน มีการวางแผนนาไปใช้และประเมินผลร่วมกัน
  • 7. 3. แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-BasedManagement - SBM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระและมีความคล่องตัวในการบริหารงานด้านวิชาการด้าน การเงิน ด้านการบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไป เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจโดยมีความเชื่อว่าการตัดสินใจที่ดี ที่สุดจากการตัดสินใจของคณะบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดและมีส่วนเกี่ยวข้องกับนักเรียนมากที่สุด(Wohlsletter,1995:22-25) แนวคิดนี้เริ่มใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีแบบของบริหารจัดการแตกต่างกันไปตามมลรัฐและในระหว่าง พ.ศ.2503-2522 วงการศึกษาของ สหรัฐอเมริกาได้มีการปรับปรุงการดาเนินงานทางการศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยนาความคิดจากความสาเร็จของการ พัฒนาองค์การทางอุตสาหกรรมที่ทาองค์การให้มีประสิทธิภาพในการทางาน ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีคุณภาพสร้างผลกาไรและสร้าง ความพึงพอใจแก่ลูกค้าและผู้เกี่ยวข้องดังนั้น แนวทางที่จะทาให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้น ต้องปรับปรุงและพัฒนาองค์การ การบริหาร โรงเรียนเสียใหม่ มีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้นมีการนาวิชาการบริหารงบประมาณด้วน ตนเอง (Self-BudgetingSchool) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (School-Based CurriculumDevelopment)การพัฒนาบุคลากรโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Student Counseling) เข้ามาใช้ (สานักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ,2543:12)
  • 8. ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กาหนดขึ้น เป็นการพัฒนาหลักสูตรครบวงจรคือ เริ่มตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐาน การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งการประเมินผล หลักสูตร โดยหวังว่าขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่สมบูรณ์ทาให้ได้หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพกล่าวโดยสรุปขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ ขั้นที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆได้แก่ 1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพและความต้องการของชุมชน 1.2 การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน 1.3 การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง ขั้นที่ 2 การร่างหลักสูตร 2.1 การกาหนดจุดประสงค์ของหลักสูตร 2.2 การกาหนดเนื้อหาสาระ 2.3 การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและสื่อต่างๆ 2.4 การกาหนดวิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน ขั้นที่ 3 การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร ขั้นที่ 4 การนาหลักสูตรไปใช้ ขั้นที่ 5 การประเมินผลหลักสูตร
  • 9. สรุป (Summary) ข้อกฎหมายที่สถานศึกษาต้องไปดาเนินการให้สถานศึกษาหรือโรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตรได้เองภายใต้กรอบของ หลักสูตรแกนกลางเป็นเรื่องที่จะต้องมี การเตรียมการให้พร้อม ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 ที่ กาหนดให้ “คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทยความเป็นพลเมืองที่ดี ของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อและในวรรคสองกาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทา สาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ่ง ในส่วนเกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ” ซึ่งจะเห็นได้ว่าจุดหมายในส่วนของหลักสูตรแกนกลางที่จัดทา โดยกรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการเป็นไปอย่างกว้างๆ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจะได้นาไปจัดทาสาระของ หลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมสาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา นั้นๆ ต่อไป
  • 10. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอาศัยแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน(School-Based Management - SBM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระและมีความคล้องในตัวในการบริหารงานด้านวิชาการด้านการเงิน ด้าน การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไปเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดและมีส่วนเกี่ยวข้องกับ นักเรียนมากที่สุด แนวทางที่จะทาให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้นใช้กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้นมี การนาวิธีการบริหารงบประมาณด้วยตนเอง (Self-BudgetingSchool) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (School-BasedCurriculum Development)และการพัฒนาบุคลากรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-BasedStudent Counseling) เข้ามาใช้ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่นามาใช้ดาเนินการในครั้งนี้ นาแนวความคิดและรูปแบบจากพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 วรรคสอง ที่กาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทาสาระของหลักสูตรที่สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดี ของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมทั้งแนวคิดและรูปแบบของการพัฒนาหลักสูตรเช่น ไทเลอร์ ทาบา เซย์เลอร์อเล็กซาน เดอร์และเลวิสโอลิวา สกิลเบ็กมาร์ช และคณะเอ็กเกิลสตันวอล์คเกอร์ และรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทยเช่น กรมวิชาการ และ กรมการศึกษานอกโรงเรียน มากาหนดเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา