SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2
ทฤษฎีหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก สู ต ร ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ไ ด้ เ ป็ น 2 ก ลุ่ ม ใ ห ญ่ ๆ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร(curriculum design) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร(curriculum engineering)
ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ โดยสาขาวิชาศึกษาศาสตร์มีที่มาจากการจัดกลุ่มความรู้ 3
กลุ่มหลัก คือ 1.วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (thenaturalsciences) 2.สังคมศาสตร์ (the socialsciences) และ 3.
มนุษย์ศาสตร์ (the humanities) โดยที่สาขาวิชาต่าง ๆ มีที่มาจากความรู้ทั้งสามกลุ่ม อาทิ แพทย์ศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ รวมถึงศึกษาศาสตร์ เป็นต้น
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร
2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
สาระเนื้อหา(Content)
ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น ร า ก ฐ า น ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ สั ง ค ม
ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ต ร ก าร เรี ย น ก าร ส อ น ที่ เห มาะ ส มกับ ค ว ามต้อ ง ก ารข อ ง ผู้เรี ย น
สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ได้ในชีวิตของผู้เรียนและสามารถนาความรู้ที่ได้รับนั้นไปทาประโยชน์ในด้านต่างๆ
ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี ซึ่ ง ห ลั ก สู ต ร จั ด เ ป็ น หั ว ใ จ ห ลั ก ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ศึ ก ษ า
มีการผสมผสานมโนทัศน์ความคิดรวมยอดเกี่ยวกับแนวทางและความเป็นไปได้ของการจัดการศึกษาที่มีระบบ
และได้นาทฤษฎีทางการศึกษามาปรับประยุกต์ใช้ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการศึกษา
ซึ่ งจะ สะ ท้อน คุณ ค่าของการพัฒ น าทรัพ ยากรมนุ ษย์ใ น แต่ละ สังคมด้วยท ฤษฎี หลักสู ตร
เนื้อหาสาระใน บทนี้ กล่าวถึงทฤษฎีหลักสู ตร การสร้างทฤษฎีหลักสู ตร การพัฒน าหลักสูตร
หลักการพัฒนาหลักสูตร การวางแผนพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
1. ทฤษฎีหลักสูตร
ท ฤ ษ ฎี ต่า ง ๆ เ กิ ด จ าก ข้ อ เท็ จ จ ริ ง ซึ่ ง ค้ น พ บ ไ ด้ จ า ก ก าร ใ ช้ ก า ร พิ สู จ น์
และการใช้ข้อสรุปจากกฎที่ตั้งไว้จากการสังเกต มิใช่อาศัยเหตุและผลและนามาสรุปไว้เป็นกฎและหลักการ
ทฤษฎีเกี่ยวกับการสังเคราะห์และน าไปสู้การสร้างกฎที่ใช้ได้ทั่วไป มีความเป็ นสากล (Universal)
สามารถพิสูจน์ทดลองได้ (Testable) และมีส่วนประกอบ (Element) ที่เหมือนกัน ทฤษฎีทาหน้าที่ อธิบาย
แ ล ะ ค ว า ม ห ม า ย เพื่ อ เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ด า เนิ น ง าน ที่ มี ร ะ เ บี ย บ แ บ บ แ ผ น
น า ไ ป สู่ ก า ร ค า ด ค ะ เ น ข้ อ มู ล ไ ด้ โ ด ย อิ ง ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์
และนาไปสู้การยืนยันว่าทฤษฎีที่ตั้งขึ้นมีความถูกต้องและน่าจะเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด
Smith and others (1957)
มีความเชื่อ ว่าท ฤษ ฎี ห ลัก สู ต รจะ ช่วยส ร้าง และ ใ ห้ เห ตุผล ที่ส นั บ ส นุ น ท าง ก ารศึก ษ า
เ พื่ อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ลื อ ก แ ล ะ จั ด ห า เ นื้ อ ห า ที่ ต่ า ง กั น ข อ ง ผู้ เ รี ย น
นั ก พัฒ น าห ลัก สู ตร จึง ได้น าท ฤ ษ ฎี ห ลัก สู ต รมาใ ช้โด ยการผ ส มผส าน ท ฤ ษ ฎี ต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเข้ามาไว้ด้วยกัน กาห น ดขึ้น เพื่อการน ามาใช้ในการพัฒน าหลักสูตร
ทฤษฎีหลักสูตรจึงเป็นการพิจารณาความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ที่สามารถนามาปรับใช้การวางแผนและ
พัฒนาหลักสูตร รวมถึงการจัดและแยกประเภทของเหตุการณ์ต่างๆ และโยงความสัมพันธ์กับเหตุการณ์
พิ จ าร ณ า โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ เ นื้ อ ห าวิช าที่ เห ม า ะ ส ม น าม า บ ร ร จุ ไ ว้ใ น ห ลัก สู ต ร
คานึงถึงความสอดคล้องตามสภาพการณ์ต่างๆ ทั้งในส่วนของผู้เรียนและในส่วนของสังคม (Kelly.1995)
Beauchamp (1981) ไ ด้ ส รุ ป ว่ า
ท ฤ ษ ฎี เป็ น ข้ อ ค วา ม ที่ ช่ว ย ข ย าย ข อ บ เข ต ค ว า ม รู้ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ ห้ ก ว้าง ข ว า ง ยิ่ ง ขึ้ น
เป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ซึ่ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ท า น า ย แ ล ะ ค า ด ก า ร ณ์ สิ่ ง ต่ า ง ๆ
ที่ ยั ง ไ ม่ เ กิ ด ขึ้ น ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์
ห รื อป้ อง กัน แ ก้ไข เพื่ อ ป ระ โย ช น์ สุ ข ข อง มวล มนุ ษ ย์ช าติ ใ น ที่ สุ ดท ฤษ ฎี ห ลักสู ต ร
จึง เป็ น ก าร ผ ส มผ ส า น ข้อ ค ว ามเพื่ อ ใ ห้ ค วา มห ม าย ซึ่ ง น าไ ป ป ฏิ บั ติ ใ น โ ร ง เรี ย น
โดยการชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบและการชี้แนะให้เห็นวิธีการพัฒนา
ทฤษฎีหลักสู ตรเป็ น คาอธิบายสิ่ งต่างๆ เกี่ยวกับการใช้หลักสู ตร การสร้างห ลักสูตร
ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร
แ ล ะ ก ารน าผ ล ที่ ไ ด้รั บ จ าก ก าร ป ร ะ เมิน ผ ล มาป รับ ป รุ ง แ ก้ไข ห ลัก สู ต ร (Kelly.2009)
โดยเน้นการบรรยายถึงสิ่งต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างจุดมุ่งหมายกับเนื้อหาวิชา
ระหว่างเนื้อหาวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมด ปรัชญาต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการวางจุดมุ่งหมาย
สภ าพ ความจริ ง ใ น สั ง ค ม แล ะ บ ท บ าท ขอ ง การศึ กษ าใ น สั ง ค ม (Gardner and others.2000)
โดยสภาพความจริงแล้วทฤษฎีและปฏิบัติมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดทฤษฎีจะอธิบายให้เข้าใจ
ถึงความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งการปฏิบัติจะดาเนินการอยู่ภายในขอบเขตของทฤษฎีที่กล่าวไว้
ก ล่าวอี ก นั ย ห นึ่ ง ก็คื อ ท ฤ ษ ฎี จะ เป็ น สิ่ ง ที่ ก าห น ด แ น ว ท าง ข อ ง ก าร ป ฏิ บั ติ นั้ น เอ ง
โดยเหตุนี้ทฤษฎีจึงเป็นของคู่กันและจะต้องไปด้วยกันในการสนับสนุนการปฏิบัติงานให้บรรลุความสาเร็จตามเ
ป้าหมาย
2. การสร้างทฤษฎีหลักสูตร
Beauchamp (1981:77) ไ ด้ เส น อ ว่า ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก สู ต ร แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 ลั ก ษ ณ ะ
คือทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร (Design theories) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร (Engineering theories)
2.1 ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร
ก า ร อ อ ก แ บ บ ห ลั ก สู ต ร (Curriculum design) ห ม า ย ถึ ง
การจัดส่วน ประกอบหรื อองค์ประ กอบของห ลักสู ตรซึ่ งได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้ อหา สาระ
กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล (Zais.1976:16) Herrick and Tyler (1950:41)
ได้เสนอแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตรดังภาพ 4.1
จุดประสงค์
เนื้อหาวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน
การประเมินผล
ภาพประกอบ 1ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตร
Taba (1962:422) มี ค ว า ม เห็ น ว่า ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ที่ จ ะ ข า ด เ สี ย
มิได้ก็คือจุดมุ่งหมายทั่วไปและจุดมุ่งหมายเฉพาะเนื้อหาสาระและประสบการณ์การเรียนรู้และการประเมินผล
Beauchamp(1975:107-109) ได้สรุปองค์ประกอบสาคัญซึ่งจะต้องเขียนไว้ในเอกสารหลักสูตร 4
ป ร ะ ก า ร คื อ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ แ ล ะ วิ ธี ก า ร จั ด
จุดมุ่งห มายทั่วไปและจุดมุ่งห มายเฉพ าะแนวทางการน าหลักสูตรไปใช้สู่การเรียน การสอน
และการประเมินผลซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญยิ่งสาหรับหลักสูตร
Zais(1976:431-437) ได้สรุปว่าการออกแบบหลักสูตร ประกอบด้วยแนวคิดหลักสูตร 2
แบบคือ หลักสูตรแห่งความหลุดพ้น (Unencapsulationdesign) และหลักสูตรมนุษยนิยม (Humanistic design)
หลักสูตรแห่งความหลุดพ้นมีความเชื่อว่าคนเราจะมีความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ 4 ทางได้แก่ความมีเหตุผล
(Rationalism) จะนาไปสู่การค้นพบความจริงการสังเกต (Empiricism) รับรู้จากการมอง การได้กลิ่น
ก า ร ไ ด้ ยิ น ก า ร ไ ด้ สั ม ผั ส ฯ ล ฯ สั ญ ช า ต ญ า ณ (Intuition)
ความรู้สึ กต่อสิ่ งห นึ่ ง โดยมิได้มีใครบอกกล่าวก็เป็ น วิธีห นึ่ ง ที่มนุ ษ ย์มีความรู้ใน สิ่ งต่าง ๆ
แ ล ะ ค ว า ม เชื่ อ ใ น สิ่ ง ที่ มี อ า น าจ (Authoritarianism) เ ช่น ค ว า ม เชื่ อ ใ น ท า ง ศ าส น า
ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น สิ่ ง ที่ ป ร า ช ญ์ ผู้ รู้ ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ว้ เ ป็ น ต้ น
ส่วนหลักสูตรมนุษยนิยมก็มีความคล้ายคลึงกับหลักสูตรเพื่อความหลุดพ้นแต่การจัดหลักสูตรแบบนี้จะมุ่งเน้นเนื้
อหา สาระมากกว่ากระบวนการการจัดหลักสูตรจึงยึดเนื้อหาสาระของวิชาเป็นศูนย์กลาง
2.2 ทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร
วิ ศ ว ก ร ร ม ห ลั ก สู ต ร (Curriculum engineering)
หมายถึงกระบวน การทุกอย่างที่จาเป็ น ใน การทาให้ระบบห ลักสู ตรเกิดขึ้น ในโรงเรียนได้แก่
ก า ร ส ร้ า ง ห รื อ จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร
และการประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรและการประเมินระบบหลักสูตร ( Beauchamp.1975:108)
หลักสูตรที่มีคุณภาพและสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ถึงผู้เรียนได้มากที่สุดนั้นมีอยู่หลายรูปแบบได้แก่
รูปแบบการบริห าร รูปแบบ การปฏิบัติการ รูปแบ บการสาธิ ต รู ปแบบการวิจัยเชิง ปฏิบัติ
และรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐานสาหรับการกาหนดหลักสูตร
ทฤษฎีหลักสู ตรจะ ช่วยใน การบ ริหารงาน เกี่ยวกับหลักสู ตรมี หลักเกณฑ์ หลักการ
และระบบมากยิ่งขึ้น เช่น การสร้างหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร และการประเมินหลักสูตรการจัดบุคลากร
เกี่ยวกับหลักสูตร การทาให้องค์ประกอบของหลักสูตรที่จะนาไปใช้ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
3. การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวข้องกับการพิจารณาและการกาหนดเป้าหมายว่าหลักสูตรที่จัดทานั้นมีเป้าหม
ายเพื่ออะไร ทั้งโดยส่วนรวมและส่วนย่อยของหลักสูตรนั้นๆ อย่างชัดเจน การคัดเลือกกิจกรรม
วัสดุประกอบการเรียน การสอน การเลือกสรรเนื้อหาสาระ กิจกรรมทั้งในทั้งนอก ห้องเรียน
การกาหนดระบบการจัดวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนที่เหมาะสมแต่ละวิชาและแต่ละชั้นเรียน
การพัฒนาหลักสูตรเป็ น กระบวน การหรือขั้นตอน ของการตัดสิ นใจเลือกห าทางเลือก
การเรียนการสอนที่เหมาะสมหรือเป็นทางเลือกที่เหมาะสมต่างๆ เข้าด้วยกันจนเป็นระบบที่สามารถปฏิบัติได้
นักพัฒนาหลักสูตรต้องคานึงถึงภูมิหลักขององค์ประกอบต่างๆ อย่างละเอียด และรอบคอบก่อน
ตัดสินใจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ ง และเมื่อตัดสินใจเลือกแล้วก็ต้องคานึงถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ซึ่ ง จ ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สิ่ ง อื่ น ๆ
การพัฒ น าห ลักสู ตรมีข้อควรคานึ ง ห ลายประ การที่นั กพัฒ น าห ลักสู ตรต้ อง ห าคาตอ บ
เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจจัดทาหลักสูตร Tyler (1949) ได้กล่าวถึงแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายการศึกษาของโรงเรียน คืออะไร?
2.การที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษาของโรงเรียนนั้น ต้องใช้ประสบการณ์การศึกษาอะไร?
3. ประสบการณ์การศึกษาดังกล่าวจะจัดอย่างไร?
4. คุณภาพของหลักสูตรได้มาอย่างไร?
ส า ร า ญ ค ง ช ะ วั น ( 2456: 13-14)
ได้สรุปว่าการพัฒนาหลักสูตรเป็ นกระบวนการวางแผนและพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ
ที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียน การเลือกจุดมุ่งหมายเนื้อหาวิชากิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้
ตลอดจนการวัดผลประเมินผล เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดต่อผู้เรียน
(Marsh and Willis. 1995:129)
ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ก า ร ไ ด้ ร ะ ย ะ เว ล า
ซึ่งต้องดาเนินการให้เป็นไปตามความหมายเหมาะสมโดยอาจปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น
ห รื อ ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร ขึ้ น ม า ใ ห ม่โ ด ย ที่ ยัง ไ ม่เ ค ย มี ห ลั ก สู ต ร นั้ น ม า ก่อ น ก็ ไ ด้
ซึ่งผู้พัฒนาสามารถดาเนิ นการได้ทุกระยะเวลา และต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามความเหมาะสม
และกระบวนการวางแผนและพัฒนาประสบการณ์ในการเรียนรู้จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียน
บุ ญ ช ม ศ รี ส ะ อ า ด ( 2546: 21-46)
ได้กล่าวถึงแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาหลักสูตรว่าต้องอาศัยพื้นฐานที่สาคัญ 5ประการ ดังนี้
1.พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ (Historicalfoundation) อิทธิพลขอพื้นฐานดังกล่าวมี 2
ลักษณะ
- ห ลั ก สู ต ร ที่ พั ฒ น า มี ค ว า ม รู้ ผ ล ก า ร ค้ น พ บ
และแนวปฏิบัติที่เคยมีมาในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
-
ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของการจัดการศึกษาในอดีตเป็นบทเรียนในการสร้างหลักสูตรใหม่
2. พื้น ฐาน ทางปรัช ญา (Philosophicalfoundation) ปรัช ญามีส่วน ใ น การสร้างหลักสู ตร
เนื่องจากปรัชญามีส่วนในการช่วยกาหนดจุดประสงค์และการจัดการสอน ซึ่งมีแนวปรัชญาต่างๆ มากมาย
- ปรัชญาสารัตถะนิ ยม (Essentialism) เชื่อว่าแต่ละวัฒ นธรรมมีความรู้ ความเชื่อ ทักษะ
อุดมการณ์ที่เป็นแกนกลาง หลักสูตรที่จัดตามแนวนี้ ได้แก่หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา (Subject curriculum)
และแบบสหสัมพันธ์ (Broadfields curriculum)
- ปรัชญาสัจนิยม (Perenialism) เชื่อว่าสิ่งสาคัญที่สุดคือความสามารถในการใช้ความคิด
ความส ามารถใ น ก ารใ ช้ความคิ ด ความส ามารถใ น การใ ช้เห ตุผล การตัดสิ น แยกแ ยะ
และความเชื่อเกี่ยวกับพระเจ้า การจัดหลักสูตรจึงเน้นความสาคัญของวิชาพื้นฐานได้แก่การอ่าน เขียน
และการคิดคานวณ
- ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) เชื่อว่าผู้เรียนจะเรียนรู้ได้โดยอาศัยประสบการณ์
ผู้สอนแบบประสบการณ์หรือกิจกรรม (Experience or activitycurriculum)
- ป รั ช ญ าป ฏิ รู ป นิ ย ม ( Reconstructionism) เน้ น เ รื่ อ ง ชี วิต แ ล ะ สั ง ค ม ไ ด้ แ ก่
ห ลั ก สู ต ร ที่ ยึ ด ห ลัก สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร ด าร ง ชี วิต ( Socialprocess and life function curriculum)
และหลักสูตรแบบแกน (Core curriculum)
- ปรัชญาสวภาพนิยม (Existentialism) เชื่อว่าแต่ละคนกาหนดของชีวิตของตนเองได้แก่
หลักสูตรแบบเอกัตภาพ (individualized) เน้นการให้เสรีแก่ผู้เรียนมากที่สุด
3.พื้น ฐานจากสังคม (Sociogicalfoundation) หลักสูตรได้รับอิทธิพ ลจากสังคมมากที่สุ ด
ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม เ ป็ น ผู้ ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า โ ร ง เ รี ย น
รากฐานทางสังคมที่มีต่อการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรและการเปลี่ยนแปลงของสังคมก็มีผลทาให้หลักสูตรต้องเ
ปลี่ยนแปลงด้วย
4. พื้ น ฐ า น จ า ก จิ ต วิ ท ย า (Psychologial foundation)
จิตวิทยามีส่วนสาคัญต่อการสร้างหลักสูตรและการสอน โดยเฉพาะจิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาการเรียนรู้
4.1 จิ ต วิ ท ย า พั ฒ น า ก า ร
การที่จะช่วยให้แต่ละบุคคลมีพัฒนาการที่เหมาะสมที่ใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนหลักสูตร ได้แก่
พื้น ฐาน ทางชีววิทยาของความแตกต่างระหว่างบุคคล วุฒิภาวะทางกาย พัฒน าการ และ
สัมฤทธิ์ ผลทางสติปัญญา พัฒน าการทางด้านอารมณ์ และ พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม
ซึ่งผลการวิจัยของนักทฤษฎีพัฒนาการ Hevighurstdevelopment theory กล่าวว่า งานพัฒนาการแต่ละวัยนั้น
ถ้าหากประสบความสาเร็จในการพัฒนาในงานใด ก็จะทาให้มีความสุขและส่งผลต่อความสาเร็จในงานต่างๆ
ม า ก ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร Erikson’s psychosocialtheory
ที่เชื่อว่าพัฒน าการแต่ละชั้น ถ้าได้รับการส่งเสริมตามต้องการจะเกิดความพึงพอใ จและมั่น ใจ
ส าม า ร ถ พั ฒ น าก า ร ขั้ น ต อ น ต่อ ไ ป ไ ด้ อ ย่าง ส ม บู ร ณ์ เ ป็ น ผ ล ใ ห้ มี บุ ค ลิ ก ภ า พ ดี
แต่ถ้าขั้นใดไม่ได้รับการส่งเสริมจะเกิดความคับข้องใจเกิดความไม่พึงพอใจและเป็นผลเสียต่อบุคลิกภาพ
ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า Cognitive development theory
ที่เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กตั้งแต่แรกเกิด จนกระทั่งถึงวัยที่มีสติปัญญาอย่างสมบูรณ์
4.2 จิ ต วิ ท ย า ก า ร เ รี ย น รู้
ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้เป็นพื้นฐานสาคัญของเนื้อหาหลักสูตรและกิจกรรมการสอน ทฤษฎีที่สาคัญ ได้แก่
- ทฤษฎีที่เน้น การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (S-Rcondition) ได้แก่
ทฤษฎีการเสริมแรง และทฤษฎีเงื่อนไข นักจิตวิทยากลุ่มนี้ได้แก่ Pavlov Thorndike และ Skinner
- ท ฤ ษ ฎี ส น า ม ( Field theory) แ น ว คิ ด ข อ ง ท ฤ ษ ฎี นี้ คื อ
ส่วนรวมทั้งหมดเป็นสิ่งสาคัญมากจะต้องมาก่อนส่วนย่อย ทฤษฎีที่สาคัญของกลุ่มนี้คือ ทฤษฎีพุทธินิยม
และทฤษฎีมนุษย์นิยม
- ท ฤ ษ ฎี ผ ส ม ผ ส า น ( lntegrated theory) มี แ น ว คิ ด พื้ น ฐ าน ที่ ส า คั ญ คื อ
การศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ การผสมผสานระหว่างทฤษฎีเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนองและทฤษฎีสนาม
- ทฤษฎีการเรียนรู้ในโรงเรียนของ Bloom เป็นทฤษฏีที่เน้นพื้นฐานเดิมของผู้เรียน และ
คุณลักษณะของแต่ละคน
5. พื้ น ฐ า น จ า ก วิ ช า ก า ร ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ( Disciplines of knowledge foundations)
ความรู้ของวิทยาการและเทคโนโลยีต่างๆ รวมทั้งความรู้ทางอาชีพ เป็นรากฐานของการเรียนรู้ของผู้เรียน
การสร้างหลักสูตรจึงต้องมุ่งให้ผู้เรียนมีความเข้าใจมโนทัศน์ (Concept) และวิธีการของวิชานั้นๆ
นักวิทยาการด้านหลักสูตรหลายท่านได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรไว้หลายรูปแ
บ บ แ ต ก ต่ า ง กั น ซึ่ ง รู ป แ ย ก ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร แ ต่ ล ะ รู ป แ บ บ
ไ ม่ว่า เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ ห ม่ห รื อ ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร เ ก่า ม า พั ฒ น า
ประกอบด้วยขั้นตอนที่คล้ายคลึงกันพอสรุปเป็ นขั้นตอน (ยุทธนา ปฐมวรชาติ.2545 :15-18 ;Saylor and
Aleylor and Alexander. 1974 : 6) ดั ง นี้ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร
(การกาห น ดจุดป ระ ส ง ค์ขอ งห ลักสู ตร การจัดทารายละ เอี ยด เนื้ อ ห าส าระ ก ารเรี ยน รู้
การกาหนดแนวทางการจัดประสบการณ์เรียนรู้กาหนดเวลา(การนาหลักสูตรไปใช้และการประเมินหลักสูตร
Tyler (1949 : 1)
ได้กาหนดกระบวนการวางแผนหลักสูตรและให้ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้บังเกิดผลดีต่อผู้
เ รี ย น โ ด ย เ ส น อ แ น ะ ว่า สิ่ ง ที่ ต้ อ ง ค า นึ ง ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ห ลั ก สู ต ร
อะ ไรคื อจุ ดมุ่ง ห มายข อง การศึ กษ าที่ ต้อ ง การใ ห้ โรง เรี ย น ห รื อ ส ถาน ศึก ษ าป ฏิ บัติ ?
ท าอย่าง ไร จึง จัดป ระ ส บ ก ารณ์ ก ารศึ ก ษ าใ ห้ ส อด ค ล้อ ง กับ จุด ห มาย มุ่ง ก าห น ด ไว้ ?
ทาอย่างไรจึงจะจัดการประเมินประสบการณ์การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ?
Taba ( 1962 : 345-425)
ได้เสนอรูปแบบการวางแผนกระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนตามความเชื่อเกี่ย
วกับผู้เรียนที่มีพื้นฐานแตกต่างกันโดยกาหนดกระบวนการวางแผนพัฒนาหลักสูตรไว้ 7 ขั้นตอนดังนี้
1. ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ เ รี ย น
ต้องเริ่มจากการค้นหาความต้องการของผู้เรียนโดยวิเคราะห์ช่องว่าง จุดบกพร่องและหลังของผู้เรียน
2. การกาห น ดจุดมุ่งห มาย หลัง จากวิเคราะ ห์ ห าความต้อง การของ ผู้เรี ยน แล้ว
ผู้วางแผนพัฒนาหลักสูตร ต้องกาหนดจุดมุ่งหมายที่ต้องการ โดยใช้คาว่าเป้าหมายหรือจุดหมาย
3. การเลือกเนื้อหา เนื้อหาที่กาหนดในแต่ละหัวข้อจะต้องมาจากจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
4. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ เ นื้ อ ห า ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า ใ น แ ต่ ล ะ หั ว ข้ อ
จะต้องตัดสินใจว่าจะจัดลาดับเนื้อหาอย่างไร จึงจะเหมาะสมกับวุฒิภาวะ ความพร้อม และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
5. ก า ร เ ลื อ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้
ผู้วางแผนหลักสูตรจะต้องเลือกหรือกาหนดวิธีการที่จะทาให้ผู้เรียนรู้เนื้อหาที่กาหนดไว้
6. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้
ผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องหาวิธีการที่จัดและเรียงลาดับให้กิจกรรมการเรียนรู้ผสมกลมกลืนกันอย่างมีประสิทธิภา
พ
7.การกาหน ดรู้แบบการประ เมิน ผลและ แน วทาง ใน การปฏิบัติตามจุดมุ่งหมาย
ซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องคานึงถึงการบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น รู้แบบการประเมินที่ดี คือ
การที่ครูผู้สอนใช้เทคนิควิธีการหลายวิธีเหมาะกับผู้เรียน
Stenhouse (1975 :4-5) ได้เสนอหลักการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ 4ประการ ดังนี้
1. ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า ( Selec tof cotent)
เป็นการคัดเลือกเนื้อหาสาระที่จะใช้ในการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตร
2. ก า ร ก า ห น ด ยุ ท ธ วิ ธี ก า ร ส อ น ( Teaching strategy)
เป็นการกาหนดว่าจะทาวิธีการสอนด้วยวิธีใดและมีกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยกระบวนการใด
3.การเรียงลาดับเนื้อหา(Makedecisionse about seqence) เป็นการนาเนื้อหาที่กาหนดในหลักสูตร
มาเรียงลาดับก่อนหลังอย่างเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้
4.การพิจารณาจุดอ่อนจุดแข็งของผู้เรียนรายบุคคลและหลักการที่กาหนดมาแล้ว (Diagnose the
strengths and weakness of individual students and general principles)
ชูศรี สุวรรณโชติ (2542:97-99) ได้หาแนวคิดกระบวนการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ ดังนี้
1. ก า ร ศึ ก ษ า ปั ญ ห า ห รื อ ก า ห น ด ปั ญ ห า
เป็นขั้นแรกของการวางแผนเพื่อพัฒนาหลักสูตรซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรต้องรู้ถึงสภาพปัญหาและความต้องการของ
สังคมในทุกๆ ด้าน
2. ก า ร ก า ห น ด ข้ อ มู ล เ พื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ปั ญ ห า
เป็ น สิ่ งที่ช่วยใน การวางแผน พัฒน าหลักสู ตรให้เป็ น ไปอย่างรวดเร็วและ ถูกต้องแน่น น อน
ข้อมูลที่กาหนดจะต้องเป็นข้อมูลที่สนองตอบปัญหาที่ได้รับจากการศึกษา
3.การกาหนดสมมุติฐาน การวางแผนพัฒนาหลักสูตรทุกครั้งต้องกาหนดสมมุติฐานไว้เสมอว่า
ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง พั ฒ น า จ ะ บั ง เ กิ ด ผ ล อ ย่ า ง ไ ร ต่ อ ผู้ เ รี ย น
สมมุติฐานของการพัฒนาหลักสูตรจะเป็นทางบวกมากกว่าทางลบ
4.
การกาหนดแนวทางในการดาเนินงานเป็นขั้นตอนที่ต้องกาหนดการพัฒนาหลักสูตรโดยกาหนดกระบวนการตั้ง
แต่ต้นจนสาเร็จลุล่วง ขั้นตอนเหล่านี้ต้องกาหนดเวลาที่แน่นอน
5. ก า ร เ ลื อ ก บุ ค ล า ก ร ม า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร
ผู้กาหนดแผนต้องกาหนดตัวบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องนั้นเป็นอย่างดี
4. การพัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนการสอนจะดาเนินไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับผู้บริหารแ
ละครูผู้สอนจะต้องรู้ถึงหลักการของหลักสูตรและวิธีใช้ ด้วยการรู้หลักการจะช่วยให้ครูผู้สอน
อ่านหลักสูตรได้เข้าใจและดียิ่งขึ้นหลักสูตรแบ่งตามแบบต่างๆ
1. ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ช า ติ ห รื อ ห ลั ก สู ต ร แ ม่ บ ท ( Nationai level)
เป็นหลักสูตรแกนที่เขียนไว้กว้างและบรรจุสาระที่จาเป็นต่อทุกคนในประเทศที่จะต้องเรียนรู้เหมือนกัน
เ พื่ อ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ช า ติ ไ ว้
หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายจึงเน้นเป็นวิชาบังคับให้ทุกคนต้องเรียนการพัฒนา
2.หลักสูตรระดับชาติมีหน่วยงานที่พัฒนาหลักสูตร คือ สูตรพัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ
กระทรวงศึกษาธิการศูนย์นี้มีหน้าที่ประสานงานในการบรับปรุงหลักสูตรทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถิ่ น ( Local level)
เป็นการนาเอาหลักสูตรระดับชาติมาใช้พิจารณาถึงลักษณะของท้องถิ่นเพิ่มเติมเพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะพิเศษ
ของแต่ละท้องถิ่นและลักษณะของผู้เรียนและเป็นการเรียนรู้ที่นาไปใช้ในชีวิตจริง
3. ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ห้ อ ง เ รี ย น ( Classroom level)
สั ง ค ม จ ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห รื อ ไ ม่ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ นี้
ผู้สอนส่วนมากมักเข้าใจผิดมักคิดว่าตนเองไม่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรแต่จริงแล้วผู้สอนนาเอาหลัก
สูตรระดับชาติและระดับท้องถิ่นมาใช้ให้เหมาะสมและบรรลุจุดมุ่งหมายตามหลักสูตรที่กาหนดไว้
ผู้สอน แต่ละ คน ใน วิช าต่างๆ ก็จะ ทาให้กระบวน การพัฒน าหลักสู ตรเกิดขึ้น ทั้งระบบ คือ
รู้จักจุดมุ่งหมายการสอนเรื่องวิชานั้นๆ ว่ามีความหมายความจาเป็ นต่อผู้เรียนอย่างไร ทาไมจึงต้องสอน
สามารถใช้วิธีการสอน สื่อการสอน หนังสื อเรียน แบบฝึ กหัด สามารถวัดผลและประเมินผล
เพื่อพิจารณาพฤติกรรมของผู้เรียนว่าได้เปลี่ยนแปลงไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่
การพัฒนาหลักสูตร จาเป็ นต้องมีการดาเนิ นงาน เป็ นระเบียบแบบแผน ต่อเนื่ องกัน ไป
การวางแผนจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานนี้จะต้องคานึงถึงจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาหลักสูตรว่า
จ ะ เ ริ่ ม ต้ น ที่ ใ ด ก่ อ น
และดาเนินการอย่างไรจึงจะเป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ได้สร้างขึ้นมาใหม่อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าหลักสูตรเ
ดิ ม ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น วิ ธี ก า ร ต่ า ง ๆ
รวมทั้ง ห ลักการและ แน วปฏิบัติเพื่ อให้ การพัฒ น าห ลักสู ตรเป็ น ไป อย่างมีประสิ ท ธิภ าพ
มีก ารฝึ ก อบ รม ค รู ป ระ จาก าร ใ ห้ เข้าใ จใ น ห ลัก สู ตรใ ห ม่รวมทั้ ง ทักษ ะ ใ น ด้าน ต่าง ๆ
แล ะ ต้อง คานึ ง ถึ ง ป ระ โยช น์ ใ น ด้าน ก าร พัฒ น าจิต ใ จแ ละ ทัศ น ค ติ ขอ ง ผู้เรี ย น ด้ว ย
ต้องได้รับความร่วมมือและการประสานงานอย่างดีจากเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในทางด้านทางด้านหลักสูตรทุกๆ
ด้าน
ระดับประถมศึกษา การพัฒนาหลักสูตรในระดับนี้ เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง ชุมชน
และสังคม โดยเชื่อว่าหากพัฒนาตนแล้วรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมสามารถอ่านออก เขียนได้คานวณได้
ซึ่งนับว่าเป็ น ทักษะ ที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิตในอน าคต ผู้เรียน รู้จักรักและเข้าใจใน ธรรมชาติ
ส า ม า ร ถ สื่ อ ส า ร ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
รู้จักรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตัวและทาความเข้าใจสุขพลานามัยส่วนร่วมแล้ว ย่อมรู้จักรักทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด จิ ต ภ า พ ต่ อ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ร่ ว ม กั น อ ย่า ง เ ป็ น ป ก ติ สุ ข
แ ล ะ ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ใ ห้ เ กิ ด โ ย ช น์ คุ้ ม ค่ า
วิเ ค ร าะ ห์ เ ห ตุ ผ ล แ ล ะ เส น อ แ น ว ท า ง แ ก้ปั ญ ห า ข อ ง ต น เอ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว
รักการอ่านและแสวงหาความรู้อยู่เสมอทางานร่วมกับคนอื่นได้ไม่เอาเปรียบผู้อื่น รักการทางาน และทางานเป็น
รู้ เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ที่ บ้ า น
สามารถปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของบ้านตลอดจนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรม
ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น
ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ต ร ใ น ร ะ ดับ นี้ มุ่ง เน้ น ใ ห้ ผู้เรี ยน ไ ด้รู้จัก รัก แ ล ะ แ ส วง ห าค วาม รู้
กาแน วทางที่เหมาะสมกับตนในการทาประโยชน์ให้แก่สังคม มีความรู้และทักษะในวิชาสามัญ
เ ข้ า ใ จ ใ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ฐ า น ค ว า ม รู้ ( Knowledge-based society)
และติดตามความเจริญก้าวหน้าวิทยาการต่างๆ รู้จักรักและเอาใจใส่ในสุขภาพของตน บุคคลรอบข้าง
แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ส ริ ม ส ร้ า ง สุ ข ภ า พ อ น า มั ย ส่ ว น ต น แ ล ะ ชุ ม ช น
ทั้งนี้ เพื่อเป็ น การเตรียมความพร้อมพัฒนาการด้าน ต่างๆ สาหรับการเปลี่ยน แปลงของสังคม
ผู้เรียนสามารถเสนอแนะทางเลือกอย่างหลากหลายในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ช่วยเหลือผู้อื่น
ปรับปรุงการปฏิบัติงาน อยู่เสมอ ทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ รักการทางาน และรู้กระบวน การจัดการ
เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง สั ง ค ม ใ น ชุ ม ช น
สามารถเสนอแนวทางการพัฒนาชุมชนภูมิใจในการปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีในชุมชน
สิ่งแวดล้อมศาสนาศิลปะ และวัฒนธรรมซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจคุณค่าตนเอง วัฒนธรรมท้องถิ่นและชุมชน
ตลอดจนเกิดความรู้สึกรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย
การพัฒนาหลักสูตรในระดับนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทาประโยชน์ให้สังคมตามความสามารถของตน
มีความรู้และทักษะในวิชาสามัญเฉพ าะด้าน และรอบรู้ทัน ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโน โลยี
ส่งเสริมการอนามัยชุมชนและการสร้างเสริมสุขภาพ วางแนวปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาของสังคมได้
ช่วยเหลือทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ใช้แนวทางและวิธีการใหม่ๆในการปฏิบัติงานอยู่เสมอทางานร่วมกับผู้อื่นได้
รั ก ก า ร ท า ง า น มี เ จ ต ค ติ ที่ ดี ต่ อ อ า ชี พ สุ จ ริ ต
เข้าใจสภาพและการเปลี่ยนแปลงของสังคมในประเทศและโลกมุ่งมั่นในการพัฒนาประเทศและเข้าใจร่วมกิจกร
รมการพัฒนาสังคมตามบทบาทหน้าที่ของตนตลอดจนอนุรักษ์และส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรมของประเทศ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นตามแนวทางประชาธิปไตย
ก า ร ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ ส อ น เ กิ ด ค ว า ม ช า น า ญ
และมั่นใจในการใช้หรือพัฒนาหลักสูตรนั้นควรจะมีบริการช่วยผู้สอนให้คาปรึกษาหรือวิธีสอนในการจัดบริกา
รหลักสูตรนี้ ซึ่งจะช่วยผู้สอนในการพัฒนาหลักสูตรในการนาหลักสูตรไปใช้โดยเป็นไปอย่างมีเหตุผล
การพัฒนาหลักสูตรจะเกิดขึ้นเมื่อมีวิทยาการต่างๆ ของสังคมและของโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบาย
ปรัชญา และแนวทางการพัฒนาการศึกษา
สรุป(Summary)
ก ารพั ฒ น า ห ลัก สู ต รเป็ น ก า รป รับ ป รุ ง แ ก้ไ ข ห รื อ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร
ในการพัฒนาหลักสูตรนั้นต้องคานึงถึงสังคม ปรัชญาการศึกษา และผู้เรียน ตลอดจนกระบวนการเรียนรู้
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาหลักสูตรจะต้องประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ายร่วมมือร่วมใจกันนับแต่นักการศึกษา
นั ก วิ ช า ก า ร นั ก วิ จั ย ผู้ บ ริ ห า ร ค รู ผู้ ส อ น นั ก เ รี ย น ผู้ ป ก ค ร อ ง ชุ ม ช น
และนักพัฒนาหลักสูตรที่จะให้การหลักสูตรดาเนินไปจนบรรลุผลสูงสุด
ทฤษฎีหลักสูตรที่ได้มาจากศาสตร์สาขาต่างๆ ได้ถูกรวบรวมเป็นองค์รวมเป็นชุดของหลักการต่างๆ เพื่อ
อธิบายเหตุผลการได้มาขององค์ความรู้ การรักษาไว้และการเรียกใช้องค์ความรู้ในแต่ละบุคคลได้อย่างไร
ทฤษฎีหลักสูตรเปิดโอกาสให้นักพัฒนาหลักสูตรกาหนดเบ้าหลอมผู้เรียนและกาหนดคาทานายเกี่ยวกับผลการเรี
ยน รู้ สิ่ ง เห ล่านี้ ส ามารถเป็ น แน วท างช่วยใ ห้ สามารถพัฒ น าห ลักสู ตร การน าหลักวิช า
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน เทคนิค และวิธีการต่างๆ วิธีการที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้
และทาให้นักเรียนบรรลุตามจุดประสงค์ในรายวิชาอย่างมีประสิทธิภาพโดยสมบูรณ์
ตรวจสอบทบทวน(Self-Test)
1. ทฤษฎีหลักสูตร และทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
2. ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ น แ ง่ ข อ ง ป รั ช ญ า
ปรัชญาใดที่สมควรนามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศต
วรรษที่ 21ด้วยเหตุผลใด
กิจกรรม(Activity)
1. สืบค้นจากหนังสือหรือในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่อง นิยาม ความหมาย :ทฤษฎี
ทฤษฎีหลักสูตร ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
2. ศึกษาทาความเข้าใจเพิ่มเติมจาก สุเทพ อ่วมเจริญ การพัฒนาหลักสูตร : ทฤษฎีและการปฏิบัติ
“การพัฒนาหลักสูตร :ทฤษฎีหลักสูตร”
3. แลกเปลี่ยนแนวคิดกับเพื่อนนักศึกษา หรือผู้รู้เกี่ยวกับ ทฤษฎีทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร
และการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่เปิดสอนในสาขาวิชาเอกดังกล่าว

More Related Content

Similar to บทที่ 2

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
kanwan0429
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
kanwan0429
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
Weerachat Martluplao
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
teerayut123
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
wanitchaya001
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
fernfielook
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
poppai041507094142
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Theerayut Ponman
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
nattapong147
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
gam030
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
benty2443
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
nattawad147
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Tee Lek
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
E4
E4E4
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
Rathapon Silachan
 

Similar to บทที่ 2 (20)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
E4
E4E4
E4
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 

More from wanneemayss

บท11
บท11บท11
บท11
wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
wanneemayss
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
wanneemayss
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
wanneemayss
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
wanneemayss
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
wanneemayss
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanneemayss
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanneemayss
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
wanneemayss
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
wanneemayss
 

More from wanneemayss (19)

บท11
บท11บท11
บท11
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 ทฤษฎีหลักสูตร มโนทัศน์(Concept) ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก สู ต ร ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ไ ด้ เ ป็ น 2 ก ลุ่ ม ใ ห ญ่ ๆ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร(curriculum design) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร(curriculum engineering) ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ โดยสาขาวิชาศึกษาศาสตร์มีที่มาจากการจัดกลุ่มความรู้ 3 กลุ่มหลัก คือ 1.วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (thenaturalsciences) 2.สังคมศาสตร์ (the socialsciences) และ 3. มนุษย์ศาสตร์ (the humanities) โดยที่สาขาวิชาต่าง ๆ มีที่มาจากความรู้ทั้งสามกลุ่ม อาทิ แพทย์ศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ รวมถึงศึกษาศาสตร์ เป็นต้น ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร 2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สาระเนื้อหา(Content) ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น ร า ก ฐ า น ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ สั ง ค ม ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ต ร ก าร เรี ย น ก าร ส อ น ที่ เห มาะ ส มกับ ค ว ามต้อ ง ก ารข อ ง ผู้เรี ย น สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ได้ในชีวิตของผู้เรียนและสามารถนาความรู้ที่ได้รับนั้นไปทาประโยชน์ในด้านต่างๆ ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี ซึ่ ง ห ลั ก สู ต ร จั ด เ ป็ น หั ว ใ จ ห ลั ก ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ศึ ก ษ า มีการผสมผสานมโนทัศน์ความคิดรวมยอดเกี่ยวกับแนวทางและความเป็นไปได้ของการจัดการศึกษาที่มีระบบ และได้นาทฤษฎีทางการศึกษามาปรับประยุกต์ใช้ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการศึกษา ซึ่ งจะ สะ ท้อน คุณ ค่าของการพัฒ น าทรัพ ยากรมนุ ษย์ใ น แต่ละ สังคมด้วยท ฤษฎี หลักสู ตร
  • 2. เนื้อหาสาระใน บทนี้ กล่าวถึงทฤษฎีหลักสู ตร การสร้างทฤษฎีหลักสู ตร การพัฒน าหลักสูตร หลักการพัฒนาหลักสูตร การวางแผนพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการพัฒนาหลักสูตร 1. ทฤษฎีหลักสูตร ท ฤ ษ ฎี ต่า ง ๆ เ กิ ด จ าก ข้ อ เท็ จ จ ริ ง ซึ่ ง ค้ น พ บ ไ ด้ จ า ก ก าร ใ ช้ ก า ร พิ สู จ น์ และการใช้ข้อสรุปจากกฎที่ตั้งไว้จากการสังเกต มิใช่อาศัยเหตุและผลและนามาสรุปไว้เป็นกฎและหลักการ ทฤษฎีเกี่ยวกับการสังเคราะห์และน าไปสู้การสร้างกฎที่ใช้ได้ทั่วไป มีความเป็ นสากล (Universal) สามารถพิสูจน์ทดลองได้ (Testable) และมีส่วนประกอบ (Element) ที่เหมือนกัน ทฤษฎีทาหน้าที่ อธิบาย แ ล ะ ค ว า ม ห ม า ย เพื่ อ เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ด า เนิ น ง าน ที่ มี ร ะ เ บี ย บ แ บ บ แ ผ น น า ไ ป สู่ ก า ร ค า ด ค ะ เ น ข้ อ มู ล ไ ด้ โ ด ย อิ ง ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ และนาไปสู้การยืนยันว่าทฤษฎีที่ตั้งขึ้นมีความถูกต้องและน่าจะเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด Smith and others (1957) มีความเชื่อ ว่าท ฤษ ฎี ห ลัก สู ต รจะ ช่วยส ร้าง และ ใ ห้ เห ตุผล ที่ส นั บ ส นุ น ท าง ก ารศึก ษ า เ พื่ อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ลื อ ก แ ล ะ จั ด ห า เ นื้ อ ห า ที่ ต่ า ง กั น ข อ ง ผู้ เ รี ย น นั ก พัฒ น าห ลัก สู ตร จึง ได้น าท ฤ ษ ฎี ห ลัก สู ต รมาใ ช้โด ยการผ ส มผส าน ท ฤ ษ ฎี ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเข้ามาไว้ด้วยกัน กาห น ดขึ้น เพื่อการน ามาใช้ในการพัฒน าหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตรจึงเป็นการพิจารณาความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ที่สามารถนามาปรับใช้การวางแผนและ พัฒนาหลักสูตร รวมถึงการจัดและแยกประเภทของเหตุการณ์ต่างๆ และโยงความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ พิ จ าร ณ า โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ เ นื้ อ ห าวิช าที่ เห ม า ะ ส ม น าม า บ ร ร จุ ไ ว้ใ น ห ลัก สู ต ร คานึงถึงความสอดคล้องตามสภาพการณ์ต่างๆ ทั้งในส่วนของผู้เรียนและในส่วนของสังคม (Kelly.1995) Beauchamp (1981) ไ ด้ ส รุ ป ว่ า ท ฤ ษ ฎี เป็ น ข้ อ ค วา ม ที่ ช่ว ย ข ย าย ข อ บ เข ต ค ว า ม รู้ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ ห้ ก ว้าง ข ว า ง ยิ่ ง ขึ้ น เป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ซึ่ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ท า น า ย แ ล ะ ค า ด ก า ร ณ์ สิ่ ง ต่ า ง ๆ ที่ ยั ง ไ ม่ เ กิ ด ขึ้ น ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ห รื อป้ อง กัน แ ก้ไข เพื่ อ ป ระ โย ช น์ สุ ข ข อง มวล มนุ ษ ย์ช าติ ใ น ที่ สุ ดท ฤษ ฎี ห ลักสู ต ร จึง เป็ น ก าร ผ ส มผ ส า น ข้อ ค ว ามเพื่ อ ใ ห้ ค วา มห ม าย ซึ่ ง น าไ ป ป ฏิ บั ติ ใ น โ ร ง เรี ย น โดยการชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบและการชี้แนะให้เห็นวิธีการพัฒนา
  • 3. ทฤษฎีหลักสู ตรเป็ น คาอธิบายสิ่ งต่างๆ เกี่ยวกับการใช้หลักสู ตร การสร้างห ลักสูตร ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก ารน าผ ล ที่ ไ ด้รั บ จ าก ก าร ป ร ะ เมิน ผ ล มาป รับ ป รุ ง แ ก้ไข ห ลัก สู ต ร (Kelly.2009) โดยเน้นการบรรยายถึงสิ่งต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างจุดมุ่งหมายกับเนื้อหาวิชา ระหว่างเนื้อหาวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมด ปรัชญาต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการวางจุดมุ่งหมาย สภ าพ ความจริ ง ใ น สั ง ค ม แล ะ บ ท บ าท ขอ ง การศึ กษ าใ น สั ง ค ม (Gardner and others.2000) โดยสภาพความจริงแล้วทฤษฎีและปฏิบัติมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดทฤษฎีจะอธิบายให้เข้าใจ ถึงความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งการปฏิบัติจะดาเนินการอยู่ภายในขอบเขตของทฤษฎีที่กล่าวไว้ ก ล่าวอี ก นั ย ห นึ่ ง ก็คื อ ท ฤ ษ ฎี จะ เป็ น สิ่ ง ที่ ก าห น ด แ น ว ท าง ข อ ง ก าร ป ฏิ บั ติ นั้ น เอ ง โดยเหตุนี้ทฤษฎีจึงเป็นของคู่กันและจะต้องไปด้วยกันในการสนับสนุนการปฏิบัติงานให้บรรลุความสาเร็จตามเ ป้าหมาย 2. การสร้างทฤษฎีหลักสูตร Beauchamp (1981:77) ไ ด้ เส น อ ว่า ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก สู ต ร แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 ลั ก ษ ณ ะ คือทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร (Design theories) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร (Engineering theories) 2.1 ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร ก า ร อ อ ก แ บ บ ห ลั ก สู ต ร (Curriculum design) ห ม า ย ถึ ง การจัดส่วน ประกอบหรื อองค์ประ กอบของห ลักสู ตรซึ่ งได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้ อหา สาระ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล (Zais.1976:16) Herrick and Tyler (1950:41) ได้เสนอแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตรดังภาพ 4.1 จุดประสงค์ เนื้อหาวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล ภาพประกอบ 1ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตร
  • 4. Taba (1962:422) มี ค ว า ม เห็ น ว่า ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ที่ จ ะ ข า ด เ สี ย มิได้ก็คือจุดมุ่งหมายทั่วไปและจุดมุ่งหมายเฉพาะเนื้อหาสาระและประสบการณ์การเรียนรู้และการประเมินผล Beauchamp(1975:107-109) ได้สรุปองค์ประกอบสาคัญซึ่งจะต้องเขียนไว้ในเอกสารหลักสูตร 4 ป ร ะ ก า ร คื อ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ แ ล ะ วิ ธี ก า ร จั ด จุดมุ่งห มายทั่วไปและจุดมุ่งห มายเฉพ าะแนวทางการน าหลักสูตรไปใช้สู่การเรียน การสอน และการประเมินผลซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญยิ่งสาหรับหลักสูตร Zais(1976:431-437) ได้สรุปว่าการออกแบบหลักสูตร ประกอบด้วยแนวคิดหลักสูตร 2 แบบคือ หลักสูตรแห่งความหลุดพ้น (Unencapsulationdesign) และหลักสูตรมนุษยนิยม (Humanistic design) หลักสูตรแห่งความหลุดพ้นมีความเชื่อว่าคนเราจะมีความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ 4 ทางได้แก่ความมีเหตุผล (Rationalism) จะนาไปสู่การค้นพบความจริงการสังเกต (Empiricism) รับรู้จากการมอง การได้กลิ่น ก า ร ไ ด้ ยิ น ก า ร ไ ด้ สั ม ผั ส ฯ ล ฯ สั ญ ช า ต ญ า ณ (Intuition) ความรู้สึ กต่อสิ่ งห นึ่ ง โดยมิได้มีใครบอกกล่าวก็เป็ น วิธีห นึ่ ง ที่มนุ ษ ย์มีความรู้ใน สิ่ งต่าง ๆ แ ล ะ ค ว า ม เชื่ อ ใ น สิ่ ง ที่ มี อ า น าจ (Authoritarianism) เ ช่น ค ว า ม เชื่ อ ใ น ท า ง ศ าส น า ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น สิ่ ง ที่ ป ร า ช ญ์ ผู้ รู้ ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ว้ เ ป็ น ต้ น ส่วนหลักสูตรมนุษยนิยมก็มีความคล้ายคลึงกับหลักสูตรเพื่อความหลุดพ้นแต่การจัดหลักสูตรแบบนี้จะมุ่งเน้นเนื้ อหา สาระมากกว่ากระบวนการการจัดหลักสูตรจึงยึดเนื้อหาสาระของวิชาเป็นศูนย์กลาง 2.2 ทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร วิ ศ ว ก ร ร ม ห ลั ก สู ต ร (Curriculum engineering) หมายถึงกระบวน การทุกอย่างที่จาเป็ น ใน การทาให้ระบบห ลักสู ตรเกิดขึ้น ในโรงเรียนได้แก่ ก า ร ส ร้ า ง ห รื อ จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร และการประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรและการประเมินระบบหลักสูตร ( Beauchamp.1975:108) หลักสูตรที่มีคุณภาพและสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ถึงผู้เรียนได้มากที่สุดนั้นมีอยู่หลายรูปแบบได้แก่ รูปแบบการบริห าร รูปแบบ การปฏิบัติการ รูปแบ บการสาธิ ต รู ปแบบการวิจัยเชิง ปฏิบัติ และรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐานสาหรับการกาหนดหลักสูตร ทฤษฎีหลักสู ตรจะ ช่วยใน การบ ริหารงาน เกี่ยวกับหลักสู ตรมี หลักเกณฑ์ หลักการ และระบบมากยิ่งขึ้น เช่น การสร้างหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร และการประเมินหลักสูตรการจัดบุคลากร เกี่ยวกับหลักสูตร การทาให้องค์ประกอบของหลักสูตรที่จะนาไปใช้ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
  • 5. 3. การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวข้องกับการพิจารณาและการกาหนดเป้าหมายว่าหลักสูตรที่จัดทานั้นมีเป้าหม ายเพื่ออะไร ทั้งโดยส่วนรวมและส่วนย่อยของหลักสูตรนั้นๆ อย่างชัดเจน การคัดเลือกกิจกรรม วัสดุประกอบการเรียน การสอน การเลือกสรรเนื้อหาสาระ กิจกรรมทั้งในทั้งนอก ห้องเรียน การกาหนดระบบการจัดวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนที่เหมาะสมแต่ละวิชาและแต่ละชั้นเรียน การพัฒนาหลักสูตรเป็ น กระบวน การหรือขั้นตอน ของการตัดสิ นใจเลือกห าทางเลือก การเรียนการสอนที่เหมาะสมหรือเป็นทางเลือกที่เหมาะสมต่างๆ เข้าด้วยกันจนเป็นระบบที่สามารถปฏิบัติได้ นักพัฒนาหลักสูตรต้องคานึงถึงภูมิหลักขององค์ประกอบต่างๆ อย่างละเอียด และรอบคอบก่อน ตัดสินใจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ ง และเมื่อตัดสินใจเลือกแล้วก็ต้องคานึงถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ซึ่ ง จ ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สิ่ ง อื่ น ๆ การพัฒ น าห ลักสู ตรมีข้อควรคานึ ง ห ลายประ การที่นั กพัฒ น าห ลักสู ตรต้ อง ห าคาตอ บ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจจัดทาหลักสูตร Tyler (1949) ได้กล่าวถึงแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้ 1. จุดมุ่งหมายการศึกษาของโรงเรียน คืออะไร? 2.การที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษาของโรงเรียนนั้น ต้องใช้ประสบการณ์การศึกษาอะไร? 3. ประสบการณ์การศึกษาดังกล่าวจะจัดอย่างไร? 4. คุณภาพของหลักสูตรได้มาอย่างไร? ส า ร า ญ ค ง ช ะ วั น ( 2456: 13-14) ได้สรุปว่าการพัฒนาหลักสูตรเป็ นกระบวนการวางแผนและพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียน การเลือกจุดมุ่งหมายเนื้อหาวิชากิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ ตลอดจนการวัดผลประเมินผล เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดต่อผู้เรียน (Marsh and Willis. 1995:129) ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ก า ร ไ ด้ ร ะ ย ะ เว ล า ซึ่งต้องดาเนินการให้เป็นไปตามความหมายเหมาะสมโดยอาจปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ห รื อ ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร ขึ้ น ม า ใ ห ม่โ ด ย ที่ ยัง ไ ม่เ ค ย มี ห ลั ก สู ต ร นั้ น ม า ก่อ น ก็ ไ ด้ ซึ่งผู้พัฒนาสามารถดาเนิ นการได้ทุกระยะเวลา และต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามความเหมาะสม และกระบวนการวางแผนและพัฒนาประสบการณ์ในการเรียนรู้จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียน บุ ญ ช ม ศ รี ส ะ อ า ด ( 2546: 21-46) ได้กล่าวถึงแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาหลักสูตรว่าต้องอาศัยพื้นฐานที่สาคัญ 5ประการ ดังนี้
  • 6. 1.พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ (Historicalfoundation) อิทธิพลขอพื้นฐานดังกล่าวมี 2 ลักษณะ - ห ลั ก สู ต ร ที่ พั ฒ น า มี ค ว า ม รู้ ผ ล ก า ร ค้ น พ บ และแนวปฏิบัติที่เคยมีมาในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร - ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของการจัดการศึกษาในอดีตเป็นบทเรียนในการสร้างหลักสูตรใหม่ 2. พื้น ฐาน ทางปรัช ญา (Philosophicalfoundation) ปรัช ญามีส่วน ใ น การสร้างหลักสู ตร เนื่องจากปรัชญามีส่วนในการช่วยกาหนดจุดประสงค์และการจัดการสอน ซึ่งมีแนวปรัชญาต่างๆ มากมาย - ปรัชญาสารัตถะนิ ยม (Essentialism) เชื่อว่าแต่ละวัฒ นธรรมมีความรู้ ความเชื่อ ทักษะ อุดมการณ์ที่เป็นแกนกลาง หลักสูตรที่จัดตามแนวนี้ ได้แก่หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา (Subject curriculum) และแบบสหสัมพันธ์ (Broadfields curriculum) - ปรัชญาสัจนิยม (Perenialism) เชื่อว่าสิ่งสาคัญที่สุดคือความสามารถในการใช้ความคิด ความส ามารถใ น ก ารใ ช้ความคิ ด ความส ามารถใ น การใ ช้เห ตุผล การตัดสิ น แยกแ ยะ และความเชื่อเกี่ยวกับพระเจ้า การจัดหลักสูตรจึงเน้นความสาคัญของวิชาพื้นฐานได้แก่การอ่าน เขียน และการคิดคานวณ - ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) เชื่อว่าผู้เรียนจะเรียนรู้ได้โดยอาศัยประสบการณ์ ผู้สอนแบบประสบการณ์หรือกิจกรรม (Experience or activitycurriculum) - ป รั ช ญ าป ฏิ รู ป นิ ย ม ( Reconstructionism) เน้ น เ รื่ อ ง ชี วิต แ ล ะ สั ง ค ม ไ ด้ แ ก่ ห ลั ก สู ต ร ที่ ยึ ด ห ลัก สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร ด าร ง ชี วิต ( Socialprocess and life function curriculum) และหลักสูตรแบบแกน (Core curriculum) - ปรัชญาสวภาพนิยม (Existentialism) เชื่อว่าแต่ละคนกาหนดของชีวิตของตนเองได้แก่ หลักสูตรแบบเอกัตภาพ (individualized) เน้นการให้เสรีแก่ผู้เรียนมากที่สุด 3.พื้น ฐานจากสังคม (Sociogicalfoundation) หลักสูตรได้รับอิทธิพ ลจากสังคมมากที่สุ ด ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม เ ป็ น ผู้ ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า โ ร ง เ รี ย น รากฐานทางสังคมที่มีต่อการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรและการเปลี่ยนแปลงของสังคมก็มีผลทาให้หลักสูตรต้องเ ปลี่ยนแปลงด้วย 4. พื้ น ฐ า น จ า ก จิ ต วิ ท ย า (Psychologial foundation) จิตวิทยามีส่วนสาคัญต่อการสร้างหลักสูตรและการสอน โดยเฉพาะจิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาการเรียนรู้
  • 7. 4.1 จิ ต วิ ท ย า พั ฒ น า ก า ร การที่จะช่วยให้แต่ละบุคคลมีพัฒนาการที่เหมาะสมที่ใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนหลักสูตร ได้แก่ พื้น ฐาน ทางชีววิทยาของความแตกต่างระหว่างบุคคล วุฒิภาวะทางกาย พัฒน าการ และ สัมฤทธิ์ ผลทางสติปัญญา พัฒน าการทางด้านอารมณ์ และ พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งผลการวิจัยของนักทฤษฎีพัฒนาการ Hevighurstdevelopment theory กล่าวว่า งานพัฒนาการแต่ละวัยนั้น ถ้าหากประสบความสาเร็จในการพัฒนาในงานใด ก็จะทาให้มีความสุขและส่งผลต่อความสาเร็จในงานต่างๆ ม า ก ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร Erikson’s psychosocialtheory ที่เชื่อว่าพัฒน าการแต่ละชั้น ถ้าได้รับการส่งเสริมตามต้องการจะเกิดความพึงพอใ จและมั่น ใจ ส าม า ร ถ พั ฒ น าก า ร ขั้ น ต อ น ต่อ ไ ป ไ ด้ อ ย่าง ส ม บู ร ณ์ เ ป็ น ผ ล ใ ห้ มี บุ ค ลิ ก ภ า พ ดี แต่ถ้าขั้นใดไม่ได้รับการส่งเสริมจะเกิดความคับข้องใจเกิดความไม่พึงพอใจและเป็นผลเสียต่อบุคลิกภาพ ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า Cognitive development theory ที่เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กตั้งแต่แรกเกิด จนกระทั่งถึงวัยที่มีสติปัญญาอย่างสมบูรณ์ 4.2 จิ ต วิ ท ย า ก า ร เ รี ย น รู้ ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้เป็นพื้นฐานสาคัญของเนื้อหาหลักสูตรและกิจกรรมการสอน ทฤษฎีที่สาคัญ ได้แก่ - ทฤษฎีที่เน้น การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (S-Rcondition) ได้แก่ ทฤษฎีการเสริมแรง และทฤษฎีเงื่อนไข นักจิตวิทยากลุ่มนี้ได้แก่ Pavlov Thorndike และ Skinner - ท ฤ ษ ฎี ส น า ม ( Field theory) แ น ว คิ ด ข อ ง ท ฤ ษ ฎี นี้ คื อ ส่วนรวมทั้งหมดเป็นสิ่งสาคัญมากจะต้องมาก่อนส่วนย่อย ทฤษฎีที่สาคัญของกลุ่มนี้คือ ทฤษฎีพุทธินิยม และทฤษฎีมนุษย์นิยม - ท ฤ ษ ฎี ผ ส ม ผ ส า น ( lntegrated theory) มี แ น ว คิ ด พื้ น ฐ าน ที่ ส า คั ญ คื อ การศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ การผสมผสานระหว่างทฤษฎีเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนองและทฤษฎีสนาม - ทฤษฎีการเรียนรู้ในโรงเรียนของ Bloom เป็นทฤษฏีที่เน้นพื้นฐานเดิมของผู้เรียน และ คุณลักษณะของแต่ละคน 5. พื้ น ฐ า น จ า ก วิ ช า ก า ร ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ( Disciplines of knowledge foundations) ความรู้ของวิทยาการและเทคโนโลยีต่างๆ รวมทั้งความรู้ทางอาชีพ เป็นรากฐานของการเรียนรู้ของผู้เรียน การสร้างหลักสูตรจึงต้องมุ่งให้ผู้เรียนมีความเข้าใจมโนทัศน์ (Concept) และวิธีการของวิชานั้นๆ นักวิทยาการด้านหลักสูตรหลายท่านได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรไว้หลายรูปแ บ บ แ ต ก ต่ า ง กั น ซึ่ ง รู ป แ ย ก ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร แ ต่ ล ะ รู ป แ บ บ ไ ม่ว่า เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ ห ม่ห รื อ ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร เ ก่า ม า พั ฒ น า
  • 8. ประกอบด้วยขั้นตอนที่คล้ายคลึงกันพอสรุปเป็ นขั้นตอน (ยุทธนา ปฐมวรชาติ.2545 :15-18 ;Saylor and Aleylor and Alexander. 1974 : 6) ดั ง นี้ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร (การกาห น ดจุดป ระ ส ง ค์ขอ งห ลักสู ตร การจัดทารายละ เอี ยด เนื้ อ ห าส าระ ก ารเรี ยน รู้ การกาหนดแนวทางการจัดประสบการณ์เรียนรู้กาหนดเวลา(การนาหลักสูตรไปใช้และการประเมินหลักสูตร Tyler (1949 : 1) ได้กาหนดกระบวนการวางแผนหลักสูตรและให้ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้บังเกิดผลดีต่อผู้ เ รี ย น โ ด ย เ ส น อ แ น ะ ว่า สิ่ ง ที่ ต้ อ ง ค า นึ ง ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ห ลั ก สู ต ร อะ ไรคื อจุ ดมุ่ง ห มายข อง การศึ กษ าที่ ต้อ ง การใ ห้ โรง เรี ย น ห รื อ ส ถาน ศึก ษ าป ฏิ บัติ ? ท าอย่าง ไร จึง จัดป ระ ส บ ก ารณ์ ก ารศึ ก ษ าใ ห้ ส อด ค ล้อ ง กับ จุด ห มาย มุ่ง ก าห น ด ไว้ ? ทาอย่างไรจึงจะจัดการประเมินประสบการณ์การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ? Taba ( 1962 : 345-425) ได้เสนอรูปแบบการวางแผนกระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนตามความเชื่อเกี่ย วกับผู้เรียนที่มีพื้นฐานแตกต่างกันโดยกาหนดกระบวนการวางแผนพัฒนาหลักสูตรไว้ 7 ขั้นตอนดังนี้ 1. ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ เ รี ย น ต้องเริ่มจากการค้นหาความต้องการของผู้เรียนโดยวิเคราะห์ช่องว่าง จุดบกพร่องและหลังของผู้เรียน 2. การกาห น ดจุดมุ่งห มาย หลัง จากวิเคราะ ห์ ห าความต้อง การของ ผู้เรี ยน แล้ว ผู้วางแผนพัฒนาหลักสูตร ต้องกาหนดจุดมุ่งหมายที่ต้องการ โดยใช้คาว่าเป้าหมายหรือจุดหมาย 3. การเลือกเนื้อหา เนื้อหาที่กาหนดในแต่ละหัวข้อจะต้องมาจากจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ 4. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ เ นื้ อ ห า ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า ใ น แ ต่ ล ะ หั ว ข้ อ จะต้องตัดสินใจว่าจะจัดลาดับเนื้อหาอย่างไร จึงจะเหมาะสมกับวุฒิภาวะ ความพร้อม และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน 5. ก า ร เ ลื อ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ ผู้วางแผนหลักสูตรจะต้องเลือกหรือกาหนดวิธีการที่จะทาให้ผู้เรียนรู้เนื้อหาที่กาหนดไว้ 6. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ ผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องหาวิธีการที่จัดและเรียงลาดับให้กิจกรรมการเรียนรู้ผสมกลมกลืนกันอย่างมีประสิทธิภา พ 7.การกาหน ดรู้แบบการประ เมิน ผลและ แน วทาง ใน การปฏิบัติตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องคานึงถึงการบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น รู้แบบการประเมินที่ดี คือ การที่ครูผู้สอนใช้เทคนิควิธีการหลายวิธีเหมาะกับผู้เรียน Stenhouse (1975 :4-5) ได้เสนอหลักการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ 4ประการ ดังนี้
  • 9. 1. ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า ( Selec tof cotent) เป็นการคัดเลือกเนื้อหาสาระที่จะใช้ในการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตร 2. ก า ร ก า ห น ด ยุ ท ธ วิ ธี ก า ร ส อ น ( Teaching strategy) เป็นการกาหนดว่าจะทาวิธีการสอนด้วยวิธีใดและมีกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยกระบวนการใด 3.การเรียงลาดับเนื้อหา(Makedecisionse about seqence) เป็นการนาเนื้อหาที่กาหนดในหลักสูตร มาเรียงลาดับก่อนหลังอย่างเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ 4.การพิจารณาจุดอ่อนจุดแข็งของผู้เรียนรายบุคคลและหลักการที่กาหนดมาแล้ว (Diagnose the strengths and weakness of individual students and general principles) ชูศรี สุวรรณโชติ (2542:97-99) ได้หาแนวคิดกระบวนการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ ดังนี้ 1. ก า ร ศึ ก ษ า ปั ญ ห า ห รื อ ก า ห น ด ปั ญ ห า เป็นขั้นแรกของการวางแผนเพื่อพัฒนาหลักสูตรซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรต้องรู้ถึงสภาพปัญหาและความต้องการของ สังคมในทุกๆ ด้าน 2. ก า ร ก า ห น ด ข้ อ มู ล เ พื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ปั ญ ห า เป็ น สิ่ งที่ช่วยใน การวางแผน พัฒน าหลักสู ตรให้เป็ น ไปอย่างรวดเร็วและ ถูกต้องแน่น น อน ข้อมูลที่กาหนดจะต้องเป็นข้อมูลที่สนองตอบปัญหาที่ได้รับจากการศึกษา 3.การกาหนดสมมุติฐาน การวางแผนพัฒนาหลักสูตรทุกครั้งต้องกาหนดสมมุติฐานไว้เสมอว่า ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง พั ฒ น า จ ะ บั ง เ กิ ด ผ ล อ ย่ า ง ไ ร ต่ อ ผู้ เ รี ย น สมมุติฐานของการพัฒนาหลักสูตรจะเป็นทางบวกมากกว่าทางลบ 4. การกาหนดแนวทางในการดาเนินงานเป็นขั้นตอนที่ต้องกาหนดการพัฒนาหลักสูตรโดยกาหนดกระบวนการตั้ง แต่ต้นจนสาเร็จลุล่วง ขั้นตอนเหล่านี้ต้องกาหนดเวลาที่แน่นอน 5. ก า ร เ ลื อ ก บุ ค ล า ก ร ม า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ผู้กาหนดแผนต้องกาหนดตัวบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องนั้นเป็นอย่างดี 4. การพัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอนจะดาเนินไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับผู้บริหารแ ละครูผู้สอนจะต้องรู้ถึงหลักการของหลักสูตรและวิธีใช้ ด้วยการรู้หลักการจะช่วยให้ครูผู้สอน อ่านหลักสูตรได้เข้าใจและดียิ่งขึ้นหลักสูตรแบ่งตามแบบต่างๆ 1. ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ช า ติ ห รื อ ห ลั ก สู ต ร แ ม่ บ ท ( Nationai level) เป็นหลักสูตรแกนที่เขียนไว้กว้างและบรรจุสาระที่จาเป็นต่อทุกคนในประเทศที่จะต้องเรียนรู้เหมือนกัน
  • 10. เ พื่ อ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ช า ติ ไ ว้ หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายจึงเน้นเป็นวิชาบังคับให้ทุกคนต้องเรียนการพัฒนา 2.หลักสูตรระดับชาติมีหน่วยงานที่พัฒนาหลักสูตร คือ สูตรพัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการศูนย์นี้มีหน้าที่ประสานงานในการบรับปรุงหลักสูตรทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถิ่ น ( Local level) เป็นการนาเอาหลักสูตรระดับชาติมาใช้พิจารณาถึงลักษณะของท้องถิ่นเพิ่มเติมเพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะพิเศษ ของแต่ละท้องถิ่นและลักษณะของผู้เรียนและเป็นการเรียนรู้ที่นาไปใช้ในชีวิตจริง 3. ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ห้ อ ง เ รี ย น ( Classroom level) สั ง ค ม จ ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห รื อ ไ ม่ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ นี้ ผู้สอนส่วนมากมักเข้าใจผิดมักคิดว่าตนเองไม่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรแต่จริงแล้วผู้สอนนาเอาหลัก สูตรระดับชาติและระดับท้องถิ่นมาใช้ให้เหมาะสมและบรรลุจุดมุ่งหมายตามหลักสูตรที่กาหนดไว้ ผู้สอน แต่ละ คน ใน วิช าต่างๆ ก็จะ ทาให้กระบวน การพัฒน าหลักสู ตรเกิดขึ้น ทั้งระบบ คือ รู้จักจุดมุ่งหมายการสอนเรื่องวิชานั้นๆ ว่ามีความหมายความจาเป็ นต่อผู้เรียนอย่างไร ทาไมจึงต้องสอน สามารถใช้วิธีการสอน สื่อการสอน หนังสื อเรียน แบบฝึ กหัด สามารถวัดผลและประเมินผล เพื่อพิจารณาพฤติกรรมของผู้เรียนว่าได้เปลี่ยนแปลงไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ การพัฒนาหลักสูตร จาเป็ นต้องมีการดาเนิ นงาน เป็ นระเบียบแบบแผน ต่อเนื่ องกัน ไป การวางแผนจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานนี้จะต้องคานึงถึงจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาหลักสูตรว่า จ ะ เ ริ่ ม ต้ น ที่ ใ ด ก่ อ น และดาเนินการอย่างไรจึงจะเป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ได้สร้างขึ้นมาใหม่อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าหลักสูตรเ ดิ ม ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น วิ ธี ก า ร ต่ า ง ๆ รวมทั้ง ห ลักการและ แน วปฏิบัติเพื่ อให้ การพัฒ น าห ลักสู ตรเป็ น ไป อย่างมีประสิ ท ธิภ าพ มีก ารฝึ ก อบ รม ค รู ป ระ จาก าร ใ ห้ เข้าใ จใ น ห ลัก สู ตรใ ห ม่รวมทั้ ง ทักษ ะ ใ น ด้าน ต่าง ๆ แล ะ ต้อง คานึ ง ถึ ง ป ระ โยช น์ ใ น ด้าน ก าร พัฒ น าจิต ใ จแ ละ ทัศ น ค ติ ขอ ง ผู้เรี ย น ด้ว ย ต้องได้รับความร่วมมือและการประสานงานอย่างดีจากเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในทางด้านทางด้านหลักสูตรทุกๆ ด้าน ระดับประถมศึกษา การพัฒนาหลักสูตรในระดับนี้ เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง ชุมชน และสังคม โดยเชื่อว่าหากพัฒนาตนแล้วรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมสามารถอ่านออก เขียนได้คานวณได้ ซึ่งนับว่าเป็ น ทักษะ ที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิตในอน าคต ผู้เรียน รู้จักรักและเข้าใจใน ธรรมชาติ ส า ม า ร ถ สื่ อ ส า ร ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
  • 11. รู้จักรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตัวและทาความเข้าใจสุขพลานามัยส่วนร่วมแล้ว ย่อมรู้จักรักทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด จิ ต ภ า พ ต่ อ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ร่ ว ม กั น อ ย่า ง เ ป็ น ป ก ติ สุ ข แ ล ะ ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ใ ห้ เ กิ ด โ ย ช น์ คุ้ ม ค่ า วิเ ค ร าะ ห์ เ ห ตุ ผ ล แ ล ะ เส น อ แ น ว ท า ง แ ก้ปั ญ ห า ข อ ง ต น เอ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว รักการอ่านและแสวงหาความรู้อยู่เสมอทางานร่วมกับคนอื่นได้ไม่เอาเปรียบผู้อื่น รักการทางาน และทางานเป็น รู้ เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ที่ บ้ า น สามารถปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของบ้านตลอดจนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ต ร ใ น ร ะ ดับ นี้ มุ่ง เน้ น ใ ห้ ผู้เรี ยน ไ ด้รู้จัก รัก แ ล ะ แ ส วง ห าค วาม รู้ กาแน วทางที่เหมาะสมกับตนในการทาประโยชน์ให้แก่สังคม มีความรู้และทักษะในวิชาสามัญ เ ข้ า ใ จ ใ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ฐ า น ค ว า ม รู้ ( Knowledge-based society) และติดตามความเจริญก้าวหน้าวิทยาการต่างๆ รู้จักรักและเอาใจใส่ในสุขภาพของตน บุคคลรอบข้าง แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ส ริ ม ส ร้ า ง สุ ข ภ า พ อ น า มั ย ส่ ว น ต น แ ล ะ ชุ ม ช น ทั้งนี้ เพื่อเป็ น การเตรียมความพร้อมพัฒนาการด้าน ต่างๆ สาหรับการเปลี่ยน แปลงของสังคม ผู้เรียนสามารถเสนอแนะทางเลือกอย่างหลากหลายในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ช่วยเหลือผู้อื่น ปรับปรุงการปฏิบัติงาน อยู่เสมอ ทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ รักการทางาน และรู้กระบวน การจัดการ เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง สั ง ค ม ใ น ชุ ม ช น สามารถเสนอแนวทางการพัฒนาชุมชนภูมิใจในการปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีในชุมชน สิ่งแวดล้อมศาสนาศิลปะ และวัฒนธรรมซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจคุณค่าตนเอง วัฒนธรรมท้องถิ่นและชุมชน ตลอดจนเกิดความรู้สึกรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย การพัฒนาหลักสูตรในระดับนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทาประโยชน์ให้สังคมตามความสามารถของตน มีความรู้และทักษะในวิชาสามัญเฉพ าะด้าน และรอบรู้ทัน ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโน โลยี ส่งเสริมการอนามัยชุมชนและการสร้างเสริมสุขภาพ วางแนวปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาของสังคมได้ ช่วยเหลือทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ใช้แนวทางและวิธีการใหม่ๆในการปฏิบัติงานอยู่เสมอทางานร่วมกับผู้อื่นได้ รั ก ก า ร ท า ง า น มี เ จ ต ค ติ ที่ ดี ต่ อ อ า ชี พ สุ จ ริ ต เข้าใจสภาพและการเปลี่ยนแปลงของสังคมในประเทศและโลกมุ่งมั่นในการพัฒนาประเทศและเข้าใจร่วมกิจกร
  • 12. รมการพัฒนาสังคมตามบทบาทหน้าที่ของตนตลอดจนอนุรักษ์และส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของประเทศ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นตามแนวทางประชาธิปไตย ก า ร ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ ส อ น เ กิ ด ค ว า ม ช า น า ญ และมั่นใจในการใช้หรือพัฒนาหลักสูตรนั้นควรจะมีบริการช่วยผู้สอนให้คาปรึกษาหรือวิธีสอนในการจัดบริกา รหลักสูตรนี้ ซึ่งจะช่วยผู้สอนในการพัฒนาหลักสูตรในการนาหลักสูตรไปใช้โดยเป็นไปอย่างมีเหตุผล การพัฒนาหลักสูตรจะเกิดขึ้นเมื่อมีวิทยาการต่างๆ ของสังคมและของโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบาย ปรัชญา และแนวทางการพัฒนาการศึกษา สรุป(Summary) ก ารพั ฒ น า ห ลัก สู ต รเป็ น ก า รป รับ ป รุ ง แ ก้ไ ข ห รื อ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร ในการพัฒนาหลักสูตรนั้นต้องคานึงถึงสังคม ปรัชญาการศึกษา และผู้เรียน ตลอดจนกระบวนการเรียนรู้ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาหลักสูตรจะต้องประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ายร่วมมือร่วมใจกันนับแต่นักการศึกษา นั ก วิ ช า ก า ร นั ก วิ จั ย ผู้ บ ริ ห า ร ค รู ผู้ ส อ น นั ก เ รี ย น ผู้ ป ก ค ร อ ง ชุ ม ช น และนักพัฒนาหลักสูตรที่จะให้การหลักสูตรดาเนินไปจนบรรลุผลสูงสุด ทฤษฎีหลักสูตรที่ได้มาจากศาสตร์สาขาต่างๆ ได้ถูกรวบรวมเป็นองค์รวมเป็นชุดของหลักการต่างๆ เพื่อ อธิบายเหตุผลการได้มาขององค์ความรู้ การรักษาไว้และการเรียกใช้องค์ความรู้ในแต่ละบุคคลได้อย่างไร ทฤษฎีหลักสูตรเปิดโอกาสให้นักพัฒนาหลักสูตรกาหนดเบ้าหลอมผู้เรียนและกาหนดคาทานายเกี่ยวกับผลการเรี ยน รู้ สิ่ ง เห ล่านี้ ส ามารถเป็ น แน วท างช่วยใ ห้ สามารถพัฒ น าห ลักสู ตร การน าหลักวิช า ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน เทคนิค และวิธีการต่างๆ วิธีการที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ และทาให้นักเรียนบรรลุตามจุดประสงค์ในรายวิชาอย่างมีประสิทธิภาพโดยสมบูรณ์ ตรวจสอบทบทวน(Self-Test) 1. ทฤษฎีหลักสูตร และทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร 2. ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ น แ ง่ ข อ ง ป รั ช ญ า ปรัชญาใดที่สมควรนามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศต วรรษที่ 21ด้วยเหตุผลใด กิจกรรม(Activity)
  • 13. 1. สืบค้นจากหนังสือหรือในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่อง นิยาม ความหมาย :ทฤษฎี ทฤษฎีหลักสูตร ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร 2. ศึกษาทาความเข้าใจเพิ่มเติมจาก สุเทพ อ่วมเจริญ การพัฒนาหลักสูตร : ทฤษฎีและการปฏิบัติ “การพัฒนาหลักสูตร :ทฤษฎีหลักสูตร” 3. แลกเปลี่ยนแนวคิดกับเพื่อนนักศึกษา หรือผู้รู้เกี่ยวกับ ทฤษฎีทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร และการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่เปิดสอนในสาขาวิชาเอกดังกล่าว