SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2
ทฤษฎีหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
ทฤษฎีหลักสูตรสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย ทฤษฎี
การออกแบบหลักสูตร และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของ
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ โดยสาขาวิชาศึกษาศาสตร์มีที่มาจากการจัดกลุ่มความรู้ 3
กลุ่มหลัก คือ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สังคมศาสตร์ และ มนุษย์ศาสตร์
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร
2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
สาระเนื้อหา(Content)
ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
การศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาระบบสังคม การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนที่
เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ได้ในชีวิตของผู้เรียนและสามารถนา
ความรู้ที่ได้รับนั้นไปทาประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งหลักสูตรจัดเป็นหัวใจหลักของการพัฒนา
ศึกษา มีการผสมผสานมโนทัศน์ความคิดรวมยอดเกี่ยวกับแนวทางและความเป็นไปได้ของการจัด
การศึกษาที่มีระบบ และได้นาทฤษฎีทางการศึกษามาปรับประยุกต์ใช้ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้อง
กับการจัดการศึกษา
1. ทฤษฎีหลักสูตร
ทฤษฎีหลักสูตรเป็นคาอธิบายสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับการใช้หลักสูตร การสร้างหลักสูตร การพัฒนา
หลักสูตร การประเมินผลหลักสูตร และการนาผลที่ได้รับจากการประเมินผลมาปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร
(Kelly.2009)โดยเน้นการบรรยายถึงสิ่งต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างจุดมุ่งหมายกับ
เนื้อหาวิชา ระหว่างเนื้อหาวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมด
2. การสร้างทฤษฎีหลักสูตร
Beauchamp (1981:77) ได้เสนอว่าทฤษฎีหลักสูตรแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือทฤษฎีการ
ออกแบบหลักสูตร (Design theories) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร (Engineering theories)
2.1 ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร
การออกแบบหลักสูตร(Curriculum design) หมายถึง การจัดส่วนประกอบหรือองค์ประกอบของ
หลักสูตรซึ่งได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา สาระ กิจกรรมการเรียนและการประเมินผล (Zais.1976:16) Herrick
and Tyler (1950:41) ได้เสนอแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตรดังภาพ
จุดประสงค์
เนื้อหาวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน
การประเมินผล
2.2 ทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร
วิศวกรรมหลักสูตร (Curriculum engineering) หมายถึงกระบวนการทุกอย่างที่จาเป็นในการทา
ให้ระบบหลักสูตรเกิดขึ้นในโรงเรียนได้แก่ การสร้างหรือจัดทาหลักสูตร การใช้หลักสูตร และการประเมิน
ประสิทธิภาพของหลักสูตรและการประเมินระบบหลักสูตร
3.การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรมีข้อควรคานึงหลายประการที่นักพัฒนาหลักสูตรต้องหาคาตอบ เพื่อใช้
ประกอบการตัดสินใจจัดทาหลักสูตร Tyler (1949) ได้กล่าวถึงแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายการศึกษาของโรงเรียน คืออะไร?
2.การที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษาของโรงเรียนนั้น ต้องใช้ประสบการณ์
การศึกษาอะไร?
3. ประสบการณ์การศึกษาดังกล่าวจะจัดอย่างไร?
4. คุณภาพของหลักสูตรได้มาอย่างไร?
4. การพัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนการสอนจะดาเนินไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับ
ผู้บริหารและครูผู้สอนจะต้องรู้ถึงหลักการของหลักสูตรและวิธีใช้ ด้วยการรู้หลักการจะช่วยให้
ครูผู้สอน อ่านหลักสูตรได้เข้าใจและดียิ่งขึ้นหลักสูตรแบ่งตามแบบต่างๆ
1. หลักสูตรระดับชาติหรือหลักสูตรแม่บท (Nationai level) เป็นหลักสูตรแกนที่เขียนไว้
กว้างและบรรจุสาระที่จาเป็นต่อทุกคนในประเทศที่จะต้องเรียนรู้เหมือนกัน
2. หลักสูตรระดับชาติมีหน่วยงานที่พัฒนาหลักสูตร คือ สูตรพัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ
กระทรวงศึกษาธิการ ศูนย์นี้มีหน้าที่ประสานงานในการบรับปรุงหลักสูตรทั้งประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา หลักสูตรระดับท้องถิ่น
3. หลักสูตรระดับห้องเรียน (Classroom level) สังคมจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ขึ้นอยู่กับ
หลักสูตรระดับนี้ ผู้สอนส่วนมากมักเข้าใจผิดมักคิดว่าตนเองไม่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรแต่
จริงแล้วผู้สอนนาเอาหลักสูตรระดับชาติและระดับท้องถิ่นมาใช้ให้เหมาะสมและบรรลุจุดมุ่งหมายตาม
หลักสูตรที่กาหนด

More Related Content

Similar to บทที่2

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Dook dik
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
parkpoom11z
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Piyapong Chaichana
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
wanneemayss
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
fernfielook
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
benty2443
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
wanitchaya001
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
nattawad147
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
poppai041507094142
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
teerayut123
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
nattapong147
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Theerayut Ponman
 

Similar to บทที่2 (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

More from wanneemayss

บท11
บท11บท11
บท11
wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
wanneemayss
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
wanneemayss
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
wanneemayss
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
wanneemayss
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanneemayss
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
wanneemayss
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanneemayss
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
wanneemayss
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
wanneemayss
 

More from wanneemayss (19)

บท11
บท11บท11
บท11
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

บทที่2

  • 2. มโนทัศน์(Concept) ทฤษฎีหลักสูตรสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย ทฤษฎี การออกแบบหลักสูตร และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ โดยสาขาวิชาศึกษาศาสตร์มีที่มาจากการจัดกลุ่มความรู้ 3 กลุ่มหลัก คือ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สังคมศาสตร์ และ มนุษย์ศาสตร์ ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร 2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
  • 3. สาระเนื้อหา(Content) ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาระบบสังคม การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนที่ เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ได้ในชีวิตของผู้เรียนและสามารถนา ความรู้ที่ได้รับนั้นไปทาประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งหลักสูตรจัดเป็นหัวใจหลักของการพัฒนา ศึกษา มีการผสมผสานมโนทัศน์ความคิดรวมยอดเกี่ยวกับแนวทางและความเป็นไปได้ของการจัด การศึกษาที่มีระบบ และได้นาทฤษฎีทางการศึกษามาปรับประยุกต์ใช้ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้อง กับการจัดการศึกษา 1. ทฤษฎีหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตรเป็นคาอธิบายสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับการใช้หลักสูตร การสร้างหลักสูตร การพัฒนา หลักสูตร การประเมินผลหลักสูตร และการนาผลที่ได้รับจากการประเมินผลมาปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร (Kelly.2009)โดยเน้นการบรรยายถึงสิ่งต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างจุดมุ่งหมายกับ เนื้อหาวิชา ระหว่างเนื้อหาวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมด
  • 4. 2. การสร้างทฤษฎีหลักสูตร Beauchamp (1981:77) ได้เสนอว่าทฤษฎีหลักสูตรแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือทฤษฎีการ ออกแบบหลักสูตร (Design theories) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร (Engineering theories) 2.1 ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร การออกแบบหลักสูตร(Curriculum design) หมายถึง การจัดส่วนประกอบหรือองค์ประกอบของ หลักสูตรซึ่งได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา สาระ กิจกรรมการเรียนและการประเมินผล (Zais.1976:16) Herrick and Tyler (1950:41) ได้เสนอแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตรดังภาพ จุดประสงค์ เนื้อหาวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล
  • 5. 2.2 ทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร วิศวกรรมหลักสูตร (Curriculum engineering) หมายถึงกระบวนการทุกอย่างที่จาเป็นในการทา ให้ระบบหลักสูตรเกิดขึ้นในโรงเรียนได้แก่ การสร้างหรือจัดทาหลักสูตร การใช้หลักสูตร และการประเมิน ประสิทธิภาพของหลักสูตรและการประเมินระบบหลักสูตร 3.การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรมีข้อควรคานึงหลายประการที่นักพัฒนาหลักสูตรต้องหาคาตอบ เพื่อใช้ ประกอบการตัดสินใจจัดทาหลักสูตร Tyler (1949) ได้กล่าวถึงแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้ 1. จุดมุ่งหมายการศึกษาของโรงเรียน คืออะไร? 2.การที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษาของโรงเรียนนั้น ต้องใช้ประสบการณ์ การศึกษาอะไร? 3. ประสบการณ์การศึกษาดังกล่าวจะจัดอย่างไร? 4. คุณภาพของหลักสูตรได้มาอย่างไร?
  • 6. 4. การพัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอนจะดาเนินไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับ ผู้บริหารและครูผู้สอนจะต้องรู้ถึงหลักการของหลักสูตรและวิธีใช้ ด้วยการรู้หลักการจะช่วยให้ ครูผู้สอน อ่านหลักสูตรได้เข้าใจและดียิ่งขึ้นหลักสูตรแบ่งตามแบบต่างๆ 1. หลักสูตรระดับชาติหรือหลักสูตรแม่บท (Nationai level) เป็นหลักสูตรแกนที่เขียนไว้ กว้างและบรรจุสาระที่จาเป็นต่อทุกคนในประเทศที่จะต้องเรียนรู้เหมือนกัน 2. หลักสูตรระดับชาติมีหน่วยงานที่พัฒนาหลักสูตร คือ สูตรพัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ศูนย์นี้มีหน้าที่ประสานงานในการบรับปรุงหลักสูตรทั้งประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา หลักสูตรระดับท้องถิ่น 3. หลักสูตรระดับห้องเรียน (Classroom level) สังคมจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ขึ้นอยู่กับ หลักสูตรระดับนี้ ผู้สอนส่วนมากมักเข้าใจผิดมักคิดว่าตนเองไม่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรแต่ จริงแล้วผู้สอนนาเอาหลักสูตรระดับชาติและระดับท้องถิ่นมาใช้ให้เหมาะสมและบรรลุจุดมุ่งหมายตาม หลักสูตรที่กาหนด