SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
บทที่ 7
นวัตกรรมทางการศึกษา
เสนอ
รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ
ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร
จัดทาโดย
น.ส.ธนัญญา สุดโสม 553050288-3
น.ส.วิธูวีนย์ สมคะเณย์ 553050318-0
น.ส.ศุภศิริ ยศราวาส 553050322-9
สาขาคณิตศาสตรศึกษา sec.1
สถานการณ์ปัญหา
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบท
ของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคือ
อยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น
สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล
โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบ
อยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด
มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะ
ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์
ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน
สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่าน
บนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียน
สามารถกาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถ
กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้ง
การเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning)
และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่นๆ
ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้
ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ปัญหา
ได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ในหลาย
บริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียน
แบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่
ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
ภารกิจ
1. อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้
ตอบ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ หมายถึง สภาวะใด ๆ ที่มีผลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์
ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม สภาพแวดล้อมที่ เป็นรูปธรรม
(Concrete Environmental) หรือสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment)
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ สามารถแยกตามบริบทของสื่อ
และคุณลักษณะของสื่อได้ 3 ลักษณะ คือ
(1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นออกแบบโดย
ใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็นพื้นฐานที่ประสานร่วมกับคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายที่
สนองต่อการสร้างความรู้ของผู้เรียน
(2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน
ในการออกแบบ โดยประสานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยงหลายมิติ
(3) ชุดสร้างความรู้ เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ
โดยประสานร่วมกับการนาสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์
ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุปกรณ์การทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ มาใช้ร่วมกันโดยคุณลักษณะ
ของสื่อต่างๆจะส่งเสริมซึ่งกันและกัน
2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ
บริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ – “คอมพิวเตอร์ช่วยสอน” กับ “มัลติมีเดีย” เพราะโรงเรียนแห่งนี้
มีคอมพิวเตอร์ใช้ และคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในบทเรียน
ย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้ และมัลติมีเดียจะช่วยให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง มีทั้ง
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดีทัศน์
โรงเรียนมหาชัย – “E-Learning” เพราะผู้เรียนสามารถเข้าเว็บมาเรียนได้ตลอดเวลา
ไม่จากัดเวลาและสถานที่ ผู้เรียนสามารถอ่านบทความบนจอหรือโหลดเนื้อหาหรือ
สั่งพิมพ์ออกมาได้ ทั้งยังทาแบบฝึกหัด ปรึกษาอภิปรายแลกเปลี่ยนแนวคิดกับผู้อื่นได้
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ – “สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนตรัคติวิสต์” เพราะ
เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการลงมือทาหรือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการคิด ให้
ผู้เรียนร่วมกันแก้ปัญหา ทั้งสามารถเรียนรู้บนเครือข่าย มัลติมีเดีย และชุดสร้างความรู้
เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ ได้
3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษา
เสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่
นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ตอบ นวัตกรรมการเรียนรู้แบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
เพราะ ในการเรียนรู้เกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์นั้นนักเรียนต้องมีความเข้าใจใน
เนื้อหาไม่ใช่เพียงแค่การท่องจาซึ่งนวัตกรรมการเรียนรู้แบบสิ่งแวดล้อมทาง
การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการลงมือ
กระทาหรือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการคิด และอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิม
ที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทาง
ปัญญา (Schema) ซึ่งเชื่อว่า ครูไม่สามารถขยายโครงสร้างทางปัญญาให้แก่
ผู้เรียนได้ ผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้างและขยายโครงสร้างทางปัญญาด้วยตนเอง โดยครู
เป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของผู้เรียน ด้วยการนาวิธีการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสื่อ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ร่วมกันเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ดังนั้นเด็กจะมีความเข้าใจที่ดีและสามารถนามาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ต่อการเรียนได้อย่างดี

More Related Content

What's hot

Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Anna Wongpattanakit
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาTeerasak Nantasan
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาWanlayaa
 

What's hot (15)

Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Inno present chapt7
Inno present chapt7Inno present chapt7
Inno present chapt7
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7
 

Viewers also liked (8)

Chem tech-equipments
Chem tech-equipmentsChem tech-equipments
Chem tech-equipments
 
Interesting Facts
Interesting FactsInteresting Facts
Interesting Facts
 
Vii1 internte pojam el kom bezbednost
Vii1 internte pojam el kom bezbednostVii1 internte pojam el kom bezbednost
Vii1 internte pojam el kom bezbednost
 
Chem tech-equipments
Chem tech-equipmentsChem tech-equipments
Chem tech-equipments
 
Ramadan 2013
Ramadan 2013Ramadan 2013
Ramadan 2013
 
Vii.2. 1. instant poruke
Vii.2. 1. instant porukeVii.2. 1. instant poruke
Vii.2. 1. instant poruke
 
Vii.3. 1. форум
Vii.3. 1. форумVii.3. 1. форум
Vii.3. 1. форум
 
Zynga
ZyngaZynga
Zynga
 

Similar to บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา

Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3Popeep Popy
 

Similar to บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา (16)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3
 

บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา

  • 2. เสนอ รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร จัดทาโดย น.ส.ธนัญญา สุดโสม 553050288-3 น.ส.วิธูวีนย์ สมคะเณย์ 553050318-0 น.ส.ศุภศิริ ยศราวาส 553050322-9 สาขาคณิตศาสตรศึกษา sec.1
  • 3. สถานการณ์ปัญหา กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบท ของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคือ อยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบ อยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะ ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
  • 4. โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่าน บนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียน สามารถกาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้ง การเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่นๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ปัญหา ได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ในหลาย บริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียน แบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 6. ตอบ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ หมายถึง สภาวะใด ๆ ที่มีผลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม สภาพแวดล้อมที่ เป็นรูปธรรม (Concrete Environmental) หรือสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ สามารถแยกตามบริบทของสื่อ และคุณลักษณะของสื่อได้ 3 ลักษณะ คือ (1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นออกแบบโดย ใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็นพื้นฐานที่ประสานร่วมกับคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายที่ สนองต่อการสร้างความรู้ของผู้เรียน (2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน ในการออกแบบ โดยประสานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยงหลายมิติ
  • 7. (3) ชุดสร้างความรู้ เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดยประสานร่วมกับการนาสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุปกรณ์การทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ มาใช้ร่วมกันโดยคุณลักษณะ ของสื่อต่างๆจะส่งเสริมซึ่งกันและกัน
  • 9. โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ – “คอมพิวเตอร์ช่วยสอน” กับ “มัลติมีเดีย” เพราะโรงเรียนแห่งนี้ มีคอมพิวเตอร์ใช้ และคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในบทเรียน ย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้ และมัลติมีเดียจะช่วยให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง มีทั้ง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดีทัศน์ โรงเรียนมหาชัย – “E-Learning” เพราะผู้เรียนสามารถเข้าเว็บมาเรียนได้ตลอดเวลา ไม่จากัดเวลาและสถานที่ ผู้เรียนสามารถอ่านบทความบนจอหรือโหลดเนื้อหาหรือ สั่งพิมพ์ออกมาได้ ทั้งยังทาแบบฝึกหัด ปรึกษาอภิปรายแลกเปลี่ยนแนวคิดกับผู้อื่นได้ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ – “สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนตรัคติวิสต์” เพราะ เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการลงมือทาหรือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการคิด ให้ ผู้เรียนร่วมกันแก้ปัญหา ทั้งสามารถเรียนรู้บนเครือข่าย มัลติมีเดีย และชุดสร้างความรู้ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ ได้
  • 10. 3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษา เสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 11. ตอบ นวัตกรรมการเรียนรู้แบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เพราะ ในการเรียนรู้เกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์นั้นนักเรียนต้องมีความเข้าใจใน เนื้อหาไม่ใช่เพียงแค่การท่องจาซึ่งนวัตกรรมการเรียนรู้แบบสิ่งแวดล้อมทาง การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการลงมือ กระทาหรือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการคิด และอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิม ที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทาง ปัญญา (Schema) ซึ่งเชื่อว่า ครูไม่สามารถขยายโครงสร้างทางปัญญาให้แก่ ผู้เรียนได้ ผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้างและขยายโครงสร้างทางปัญญาด้วยตนเอง โดยครู เป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของผู้เรียน ด้วยการนาวิธีการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสื่อ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ร่วมกันเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ดังนั้นเด็กจะมีความเข้าใจที่ดีและสามารถนามาใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อการเรียนได้อย่างดี