SlideShare a Scribd company logo
สวัสดีปีใหม่ 2558
นพ.ยุทธศาสตร์ จันทร์ทิพย์
ปัญหาที่พบเมื่อมีอุบัติเหตุกลุ่มชน
1. ประเมินสถานการณ์ผิดพลาดทาให้ไม่สามารถระดม
ทีมเข้าช่วยเหลือผู้ป่ วยในเวลาอันรวดเร็ว
2.ทีมที่มาถึงชุดแรกไม่ควบคุมสถานการณ์และไม่ปิด
กั้นพื้นที่มุ่งแต่เข้าช่วยเหลือคนไข้ส่งโรงพยาบาล
• ไม่มีการปิดกั้นพื้นที่เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
• จะมีไทยมุงมากมาย คอยสั่งการให้ทานั่นทานี่
• ไม่สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• รถจะติดบนท้องถนน รถกู้ชีพ-กู้ภัยไม่สามารถเข้าถึงจุดเกิดเหตุ
• ถึงที่เกิดเหตุไม่รู้จะจอดที่ไหน จอดปิดทางรถที่จะต้องเข้าพื้นที่ เช่น
รถดับเพลิง รถตัดถ่าง
• เกิดอันตรายซ้าซ้อน
3.ไม่มีการตั้งจุดรวบรวมคนไข้
• ทีมไม่ตระหนักถึงความสาคัญของการต้องมีจุดรวบรวมคนไข้
โดยเฉพาะทีมกู้ชีพ-กู้ภัยชุดแรก
• เมื่อเวลาผ่านไปจะขาดโอกาสในการเตรียมพื้นที่ในการ
รวบรวมคนไข้และการคัดแยก รวมถึงพื้นที่ในการจอดรถเพื่อ
เตรียมการเคลื่อนย้าย
***เป็นจุดที่สาคัญ
มากมักถูกละเลย
4.ไม่มีการคัดกรองคนเจ็บ ต่างคนต่างนาคนไข้
ส่งโรงพยาบาล
• ไม่มีความรู้เรื่องการคัดกรอง
• ไม่รู้จะใช้ระบบไหน
• ไม่เห็นความสาคัญ
5.เคลื่อนย้ายผู้ป่ วยโดยไม่มีการปฐม
พยาบาลตามควร
• ทีมที่ช่วยเหลือขาดความรู้ ความชานาญ
• ขาดอุปกรณ์การช่วยเหลือ-การเคลื่อนย้ายที่เหมาะสม
• ทีมงานตื่นเต้น ร้อนรน จนลืมขั้นตอนการปฏิบัติงาน
• ถูกกดดันจากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง
6.ใช้เวลามากเกินไปหรือใช้วิธีการที่ไม่
เหมาะสมในการดูแลคนไข้
• นาเอาวิธีการช่วยเหลือคนไข้ในยามปกติมาใช้
• ไม่ประเมินสถานการณ์โดยรวม อาจทุ่มกาลังเจ้าหน้าที่ใน
การช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วยที่เสียชีวิตโดยไม่ได้ตรวจสอบ
ผู้ป่วยหนักรายอื่นที่ต้องการการช่วยเหลือเร่งด่วนมากกว่า
( ประเมินว่าเกินกาลังของตัวเองหรือไม่ )
7.ทีมงานแต่ละระดับไม่รู้บทบาทของ
ตัวเอง
• แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่กู้ชีพและ
อาสาสมัครที่มาถึงที่เกิดเหตุไม่รู้ว่ามี
บทบาทแตกต่างกันอย่างไร
• ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร ใครเป็นผู้สั่งการ
• ต่างคนต่างทา ไม่มีใครฟังใคร
• ผู้ที่เป็นผู้สั่งการไม่รู้บทบาทของตัวเอง
8.ขาดผู้สั่งการ( commander )
• ไม่มีแผนที่ชัดเจนว่าใครเป็นผู้สั่งการหรือไม่รู้ว่าใครเป็นผู้
สั่งการ
• ผู้ที่ถูกกาหนดให้เป็นผู้สั่งการไม่รู้บทบาทของตัวเอง
• ผู้สั่งการสูงสุดไม่ไปปฏิบัติงาน ณ จุดเกิดเหตุ
• ไม่เชื่อฟังผู้สั่งการ
9.ระบบสื่อสารและสั่งการขัดข้อง
• มีความโกลาหลมาก มีการใช้เครื่องมือสื่อสารทุกชนิด
• ช่องสัญญาณถูกใช้จนไม่สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• บางหน่วยบริการไม่มีความพร้อมในเรื่องของการใช้วิทยุสื่อสาร
• เครื่องมือสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพพอหรือเป็นที่อับคลื่นวิทยุ
• เครื่องขยายเสียงชนิดพกพาบ่อยครั้งไม่ได้เตรียมมาด้วย
• ควรมีการสื่อสารผ่านแม่ข่ายของตัวเองเป็นหลักเพื่อลดความหนาแน่น
ของช่องสัญญาณ
ต้องมีการมอบหมายหน้าที่พนักงานสื่อสาร
10.ขาดการประสานงานการนาคนไข้ส่งโรงพยาบาล
ทาให้คนไข้กระจุกบางโรงพยาบาล
• ทาให้คนไข้ไปกระจุกในบางโรงพยาบาล ดูแลไม่ทั่วถึง
• ขาดการวางแผนการประสานงานการนาส่งผู้ป่วย
• ทีมช่วยเหลือนาผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุดตามความเคยชิน
• โรงพยาบาลรับคนไข้จนล้น รักษาเต็มกาลัง ไม่รีบระบายคนไข้ไปยัง
โรงพยาบาลอื่นที่มีศักยภาพ
• เกิดความสูญเสียโดยไม่สมควร
11.ขาดการจัดทาแผนการควบคุมสถานการณ์
และขาดแผนการอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
• ผู้รับผิดชอบไม่ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดทาแผน
• แต่ละหน่วยที่เกี่ยวข้องต่างมีแผนในการควบคุมสถานการณ์ แต่
เมื่อเกิดเหตุการณ์ ต่างคนต่างทา ไม่มีความสอดคล้องกัน
• ควรมีการจัดทาแผนการควบคุมฯในเชิงบูรณาการในระดับจังหวัด
ให้มีการกาหนดบทบาทแต่ละหน่วยให้ชัดเจนและสอดคล้องกัน
• ควรจัดซ้อมแผนให้สามารถปฏิบัติได้จริง CPE/FTX
12.อุปกรณ์ในการช่วยเหลือผู้ป่ วยไม่เพียงพอ
• หน่วยบริการขาดการเตรียมความพร้อม
• โรงพยาบาลที่มีการนาผู้ป่วยส่งมีอุปกรณ์การช่วยเหลือไม่
เพียงพอ
บ่นมากก็ท้อใจละ
เริ่มใหม่ดีกว่า
การควบคุมสถานการณ์
อุบัติเหตุกลุ่มชน
จุดเกิดเหตุ
นาส่งโรงพยาบาล
ใกล้ที่สุดที่พร้อมรับ
ภายใน 10-15 นาที
1669,วิทยุ
ศูนย์สั่งการฯ
กู้ชีพที่ใกล้
รับทราบเรื่องราวจาก
METHANE
M – Mass casualty
E - Extractly place
T - Type
H - Hazard
A - Access
N - Numbers
E - Evacuate team
เมื่อรับแจ้งเหตุแล้วให้ทาอะไรบ้าง
ก่อนถึงที่เกิดเหตุ
• สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
• เตรียมทีม
• เตรียมอุปกรณ์
• ขอความช่วยเหลือ
•สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
•เตรียมทีม
ตระเตรียมพื้นที่ปฏิบัติการ
กั้นเขต
การควบคุมคมนาคมและฝูงชน
การสื่อสาร
การค้นหาผู้บาดเจ็บ
ตัดถ่างง้างแงะ
คัดกรองและรักษาพยาบาล
นาส่ง รพ
เป็น Commander
ตั้งจุดบัญชาการ
ดูทิศทางลม
แจ้งสถานการณ์
ขอกาลังสนับสนุน
ดับเพลิง
ปฏิบัติการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ
สั่งการแบ่งงาน
ดูแลเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยทั้งหมด
ประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ
ภารกิจทีมกู้ชีพชุดแรก
. แบ่งหน้าที่ - คนที่1 ปิดกั้นจราจร ก่อนตารวจมาถึง
- คนที่2 เตรียมพื้นที่ปฏิบัติการณ์
1 พื้นที่จอดรถพยาบาล
2 พื้นที่คัดกรองและช่วยเหลือผู้ป่วย
- คนที่3 หัวหน้าทีม
- เป็น Commander คนแรก
- ตั้งจุดบัญชาการ
- แจ้งสถานการณ์ ขอกาลังสนับสนุน
- คนที่เหลือ ลาเลียงผู้บาดเจ็บออกมาในพื้นที่ที่เตรียม้ว้
เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุซ้าซ้อน และสะดวกในการช่วยเหลือ
ต่อ้ป
•
อยากให้มโน
•เตรียมอุปกรณ์
Body Substance Isolation Precautions
เครื่องมือและวิธีการ
ป้ องกันบุคลากรทางการแพทย์จากเลือดและสารคัดหลั่ง
จากคน้ข้
ป้ องกันคน้ข้จากเลือดและสารคัดหลั่งจากบุคลากร
ทางการแพทย์
Personal Protective Equipment
•Protective glove
•Eye Protection
•Mask
•Gown
อุปกรณ์พื้นฐาน ( Basic supplies )
- หมอน/ผ้าห่มของผู้ป่วย
- ผ้ายางกันเปื้อน/ เสื้อกันฝน
- กระเป๋ าน้าร้อน / น้าเย็น
- ถุงมือ / แว่นตา
- ้ฟฉาย
ฯลฯ
เครื่องมือแพทย์
( Medical equipment )
อุปกรณ์ทาแผล
( Basic wound supplies)
อุปกรณ์ใช้ดาม
( Splinting supplies)
อุปกรณ์ที่ควรมีกรณีอุบัติเหตุกลุ่มชน
1 .อุปกรณ์ตามมาตรฐานในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
2 .โทรโข่ง
3 .ธงสีกาหนดโซน
4 .ป้ ายข้อมือ เพื่อคัดกรองผู้ป่วย
5 .ม้วนเทปกั้นบริเวณ
6 .สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับ Commander เช่น เสื้อ หรือ หมวก
7 .ไฟส่องสว่างนอกรถ
health
commander’s
incident
management
valise
health
commander’s
incident
management
rucksack
•ขอความช่วยเหลือ
–ตารวจ
–ไฟฟ้ า
–ดับเพลิง
–ตัดถ่าง
–ปภ
–ทหาร
–สารเคมี
–อื่นๆ
เมื่อถึงที่เกิดเหตุแล้วทาอะไรเป็น
อย่างแรก
จอดรถ ?
•No apparent Hazards
–Minimum 15 meters
•Fuel Spill
–Minimum 33 meters
Danger Zone
จัดจุดจอดรถ ?
จุดจอดรถพยาบาล
จุดจอดรถพยาบาล
58
Scene Size Up
สถานบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (ศูนย์นเรนทร กระทรวงสาธารณสุข)
ใครทา ?ใครตัดสินใจ ?
60
• Body Substance Isolation
• Determine Scene Safety
• Determine the Nature of the Problem
• Determine the Number of Patients
• Additional Resources
Topics
61
• Body Substance Isolation
Topics
62
• Determine Scene Safety
Topics
63
What do you see?
64
What do you see?
อุบัติเหตุทางรถยนต์
• การจอดรถ สถานที่จอด
• แสงสว่าง
• ถังน้ามันรั่ว
• เศษกระจก แก้ว
อัคคีภัย
• ระวังความร้อน
• ก๊าซคาร์บอนมอนน๊อกไซด์
• สิ่งของตกใส่
จมน้า
• เครื่องแต่งกาย
• เชือก
สารเคมี
ข้อพึงปฏิบัติ
• อย่าอยู่ใกล้เกิน้ป
• ประสาน hazardous-materials response team
• ช่วยเหลือผู้้ด้รับอันตรายหลังจากมี
decontamination
• นาส่งโรงพยาบาล
•
วัสดุอันตราย
• วัตถุระเบิด
• ก๊าซ
• ของเหลวไวไฟและเชื้อเพลิงเหลว
• ของแข็งไวไฟ วัสดุติดไปเอง และอันตรายเมื่อเปียก
• สารออกซิไดซ์และสารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์
• สารพิษและสารติดเชื้อโรค
• สารกัมมันตภาพรังสี
• สารกัดกร่อน
• วัสดุอันตรายประเภทอื่นๆ
UN 2
NO 1075
กรณีนี้คือ LPG
ตึกถล่ม วัตถุระเบิด
• รอทีมกู้ภัย
• อย่าเข้าที่เกิดเหตุโดยพละการ
ถูกทาร้าย
• อย่าเข้าที่เกิดเหตุก่อน้ด้รับอนุญาตจากพนักงาน
สอบสวน
• พยายามเลี่ยงการสัมผัสกับสิ่งที่เป็นพยานหลักฐาน
• การเก็บวัตถุพยาน
• Dogs
Scene Safety Problems
• Guns
Scene Safety Problems
Consider Scene Characteristics
• Study the scene quickly
• Hazards present?
– Do not enter the scene until it is safe
• If a scene becomes
hazardous after you
enter, quickly retreat
to safety
84
• Determine the Nature of the Problem
Topics
85
• Determine the Number of Patients
Topics
86
• Additional Resources
Topics
แล้วทาอะไรต่อ
ภารกิจทีมกู้ชีพชุดแรก
. แบ่งหน้าที่ - คนที่1 ปิดกั้นจราจร ก่อนตารวจมาถึง
- คนที่2 เตรียมพื้นที่ปฏิบัติการณ์
1 พื้นที่จอดรถพยาบาล
2 พื้นที่คัดกรองและช่วยเหลือผู้ป่วย
- คนที่3 หัวหน้าทีม
- เป็น Commander คนแรก
- ตั้งจุดบัญชาการ
- แจ้งสถานการณ์ ขอกาลังสนับสนุน
- คนที่เหลือ ลาเลียงผู้บาดเจ็บออกมาในพื้นที่ที่เตรียม้ว้
เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุซ้าซ้อน และสะดวกในการช่วยเหลือ
ต่อ้ป
•
ภารกิจทีมกู้ชีพชุดแรก
คนที่1 ปิดกั้นจราจร ก่อนตารวจ
มาถึง
BRONZE
SILVER
1
2 3
HLS
CCS
JSEC
ambulance parking
ambulance loading
ICP
SRC
rest centre
media liaison point
พื้นที่ควบคุมการปฏิบัติการอุบัติเหตุจราจร
ห้ามผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้า
สาหรับผู้ที่มีความรู้และทักษะในการกู้ภัย
ภารกิจทีมกู้ชีพชุดแรก
- คนที่2 เตรียมพื้นที่ปฏิบัติการณ์
1 พื้นที่จอดรถพยาบาล
2 พื้นที่คัดกรองและช่วยเหลือผู้ป่วย
ไม่ด่วน
ด่วน
ทีมกู้ชีพจาก รพ.
ทีมกู้ภัย กู้ชีพ
ควรจัดเจ้าหน้าที่คัดกรอง
อย่างน้อย 1 คน
จุดจอดรถพยาบาลและรถกู้ภัย
ภารกิจทีมกู้ชีพชุดแรก
- คนที่3 หัวหน้าทีม
- เป็น Commander คนแรก
- ตั้งจุดบัญชาการ
- แจ้งสถานการณ์ ขอกาลัง
สนับสนุน
•
COMMANDER
• หัวหน้าหน่วยแรกที่มาถึง เป็นผู้บัญชาการคนแรก
• ต้องมองเห็นได้โดยง่าย มีความเด่นชัด มีอุปกรณ์สื่อสาร
• เมื่อมีหน่วยอื่นที่ระดับสูงกว่ามาร่วม ให้มอบหมายภารกิจ
การสั่งการให้หัวหน้าหน่วยต่อไป โดยมีผู้บัญชาการสูงสุด
เพียงคนเดียว
• หน่วยอื่นๆที่เข้าร่วมส่งตัวแทนเข้าประจาที่กองบัญชาการ
เป็นผู้ช่วยกองบัญชาการ รับคาสั่งและถ่ายทอดคาสั่งไปยัง
คนในสังกัด
MEDICAL INCIDENT COMMANDER
(MEDICAL OPERATION)
ภารกิจ Commander
1. ประสานงานการกระจายกาลัง ทีมกู้ชีพที่ปฏิบัติการ ณ จุดต่างๆ
2. สั่งการ/จัดลาดับรถพยาบาล และนาผู้ป่วยกระจายไปยัง รพ.ต่างๆโดยมีผัง
กากับงาน
3. แจ้งขอกาลังสนับสนุนจากเครือข่าย ประสานงานทีมกู้ภัย, ตารวจตามความ
เหมาะสม
สิ่งสาคัญของการรองรับอุบัติภัยหมู่
คือการจัดระบบที่มีประสิทธิภาพและแม่นยา ตลอดจนการคัดกรองผู้บาดเจ็บ
เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียชีวิตที่ป้ องกันได้
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของ Commander
Command and Control
Safety
Communication
Assessment
Triage
Treatment
Transport
หัวหน้าทีมกู้ชีพ
(Ambulance Commander)
• Command
– เป็ นหัวหน้าทีมปฏิบัติการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ
– สั่งการแบ่งงานให้กับลูกทีม
• Safety
– ดูแลเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยทั้งหมด
– มอบหมายงานให้พนักงานรักษาความปลอดภัย (ASO)
• Communication
– ประสานงานกับหัวหน้าของหน่วยงานอื่นๆ
– รับผิดชอบเรื่องการติดต่อสื่อสารทั้งภายในและภายนอก
– มอบหมายงานให้พนักงานสื่อสาร (Communication Officer)
• Assessment
–ประเมินจุดเกิดเหตุ
- รถพยาบาล
- บุคลากรทางการแพทย์
- หน่วยงานสนับสนุน
- เครื่องมือ
หัวหน้าทีมกู้ชีพ
(Ambulance Commander)
• Triage
- ดูแลการคัดกรอง (Triage)
• Treatment
- ดูแลการรักษา (Treatment)
• Transport
- จัดระบบการส่งต่อที่เหมาะสม
หัวหน้าทีมกู้ชีพ
(Ambulance Commander)
Triage
Triage
First described by Baron Dominique Jean
Larrey
System of sorting patients according to
need when resources are insufficient for
all to be treated
Triage aims
To deliver the “Right patient”
to the “Right place”
at the “Right time”
Triage system
• START system : U.S.A
Deceased, immediate, delayed, minor
• MASS triage : U.S.A
Immediate, delayed, minimal, expectant
• Advanced triage
5 categories
• Reverse triage
• P system : British army
• T system : Europe ( MIMMS )
Triage
MIMMS ( Major incident medical
management and support )
• Europe
• Africa
• Middle east
• Australia
• Japan
Timing for triage : Dynamic Triage
First look
Clearing station
Prior to evacuation
Hospital ER
Common locations for triage
Primary triage ( Triage sieve )
At the scene
Ambulance personnel
Secondary triage ( Triage sort )
At CCS
Medical personnel
INCIDENT
SITE
TRIAGE SIEVE TRIAGE SORT
ALP
RECEIVING
HOSPITAL
RECEIVING
HOSPITAL
RECEIVING
HOSPITAL
1 - Immediate 1 - Immediate
2 - Urgent 2 - Urgent
3 - Delayed
4 - Expectant
Dead
4 - Expectant
Body
Holding Area
TEMPORARY
MORTUARY
CCS
Triage Sieve
First look
Mobility ( can walk )
ABC
Triage Sieve
A
– Airway patency
B
– Respiratory rate ( 10 -29/ min )
C
– Capillary refill time ( 2 sec )
– Pulse rate ( 120 )
WALKING
BREATHING
RESPIRATORY
RATE
CAPILLARY
REFILL
PRIORITY 3
(delayed)
DEAD
PRIORITY 1
(immediate)
PRIORITY 2
(urgent)
Yes
Yes
No
No
When airway
opened
9 or less
30 or more
10 - 29 Over 2 sec
2 seconds or
under
Triage Sieve Diagram
Triage Sort
More data needed
Triage revised trauma score (TRTS)
Respiratory rate
Systolic BP
Glascow Coma Scale
Triage revised trauma score (TRTS)
Respiratory rate 0 – 4
Systolic blood pressure 0 – 4
Glasgow coma scale 0 – 4
TOTAL 0 - 12
Triage revised trauma score (TRTS)
Respiratory rate 10 – 29 4
>29 3
6 – 9 2
1 – 5 1
0 0
Systolic blood pressure > 90 4
76 – 89 3
50 – 75 2
1 – 49 1
0 0
Glasgow coma scale 13 – 15 4
9 – 12 3
6 – 8 2
4 – 5 1
3 0
Triage revised trauma score (TRTS)
T1 Immediate 1 – 10
T2 Urgent 11
T3 Delayed 12
T4 Expectant 0
Folding/Cruciform Card
System
Summary
Triage is the first step in medical support
Triage is dynamic
Triage sieve quickly assigns priorities
Triage sort refines the priorities
Triage labels indicate current priority
ภารกิจทีมกู้ชีพชุดต่อมา
1. รายงานตัว ณ จุดบัญชาการหรือหัวหน้าทีมแรก
2. ผู้อาวุโสที่สุดเข้ามารับช่วงต่อจากผู้บัญชาการเดิม
3. ทีมที่เหลือแยกย้ายกันออกปฏิบัติการ ตามที่ได้รับมอบหมาย
จากผู้บัญชาการ
4. ของนามารวมกันที่ Staging Areaพขร.นารถไปจอดในที่ ที่
เตรียมไว้ โดยระดับ ALS ให้นามาจอดในลาดับต้นๆเพื่อนา
ผู้ป่วยอาการหนักส่ง รพ.ก่อน
Staging Area
REGISTRATION
หัวหน้าทีมกู้ชีพ
หัวหน้าทีมคัด
กรอง
พนักงานคัดกรอง
รอบที่ 1
เจ้าหน้าที่
รักษาพยาบาล
พนักงานจุด รับ -
ส่ง
พนักงานคัดกรอง
รอบที่ 2
พนักงานจุดจอด
รถ
พนักงานสื่อสาร
พนักงานรักษา
ความปลอดภัย
บทบาทของทีมกู้ชีพ
จุดส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาล
และผู้รับผิดชอบประสาน
โรงพยาบาลเพื่อนาส่ง
( Loading Area )
ประสานการส่งต่อผ่านศูนย์สั่งการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
จุดจอดรถพยาบาลและ
เจ้าหน้าที่ควบคุมและจ่าย
รถพยาบาล
( Parking Area )
เพื่อความเป็นระเบียบ
ในการจอดรถและประเมิน
ความต้องการรถ
จุดส่งขึ้นรถพยาบาล
การลาเลียง และนาส่ง
1 . รถแต่ละคัน รับผู้ป่วยหนักไม่เกิน 1 คน , ไม่หนัก 2-3 คน/คัน
2 . ขณะนาส่งให้ จนท.ไปกับรถทีมละ 2 คน ที่เหลือให้ช่วยอยู่ที่จุดเกิดเหตุ
3. การนาส่ง รพ.ใด ให้รับคาสั่งจาก Loading เท่านั้นเพื่อกระจายผู้ป่วยให้
เหมาะสม
4. ในระหว่างนาส่งให้แจ้งให้ศูนย์รับแจ้งเหตุและโรงพยาบาลที่จะนาส่ง
ทราบพร้อมรายงานอาการผู้ป่วยให้ทราบ

More Related Content

What's hot

Quality care of the severe trauma 14 พค.58
Quality care of the severe trauma  14 พค.58Quality care of the severe trauma  14 พค.58
Quality care of the severe trauma 14 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บMy Parents
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationstaem
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุAiman Sadeeyamu
 

What's hot (20)

Quality care of the severe trauma 14 พค.58
Quality care of the severe trauma  14 พค.58Quality care of the severe trauma  14 พค.58
Quality care of the severe trauma 14 พค.58
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Atls for nurse
Atls for nurse Atls for nurse
Atls for nurse
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situations
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)
 

mass casualty management