SlideShare a Scribd company logo
เข้าสู่ระบบ
เมนูหลัก
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาในยุค ค.ศ.1900 – ปัจจุบัน ( พ.ศ.2243 – ปัจจุบัน )
แบบทดสอบก่อนเรียน
เทคโนโลยีการศึกษาของธอร์นไดค์
เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้
เทคโนโลยีการศึกษาของมอนเตลซอริ ( 1870 – 1952 )
เทคโนโลยีการศึกษาของเอริน
เทคโนโลยีการศึกษาของสกินเนอร์
พัฒนาการทางเทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
แบบทดสอบหลังเรียน
ผู้จัดทา
1.ใครเป็นผู้นาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการสอนเป็นคนแรก
ตอบ
2.เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้มีความสาคัญกับประเทศอะไรเป็นอย่างมาก
ตอบ
3.วิธีการทางวิทยาศาสตร์ของดิวอี้มีกี่ขั้นตอน
ตอบ
4.Vector ในเทคโนโลยีของเอริน แปลว่าอะไร
ตอบ
5.เทคโนโลยีการศึกษาของมอนเตลซอริมีกี่ประการ
ตอบ
จอร์น ดิวอี้
สหรัฐอเมริกา
5 ขั้นตอน
เน้นเรื่องทิศทางความแข็งแรงของแรง
3 ประการ
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาในยุค ค.ศ.1900 – ปัจจุบัน
( พ.ศ.2243 – ปัจจุบัน )
 ได้เริ่มมีผู้นาวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาใช้ในการสอน John Deuey (1859 – 1952)ได้นาวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์เข้ามาใช้ในการสอน ค.ศ.1900 EdwardI.Thorndike (1874-1949) ได้เป็นผู้ให้กาเนิดทฤษฎี
แห่งการเรียนรู้ มีชื่อว่า ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connecticnism Throry) ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของ
ของธอร์นไดค์ได้เน้นที่ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
เทคโนโลยีการศึกษาของธอร์นไดค์
 เน้นที่ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (stimulus) กับการตอบสนอง (Response) การ
เรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ด้วยการที่มนุษย์หรือสัตว์ได้เลือกเอาปฎิกิริยาตอบสนองที่ถูกต้องมา
เชื่อมโยง (Connect) เข้ากับสิ่งเร้าอย่างเหมาะสม
จากการทดลองและแนวคิดต่างๆทาให้เกิดกฎการเรียนรู้ 3 กฎ
ซึ่งเป็นหลักการเบื้องต้นนาไปสู่เทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอน
1.กฎแห่งการฝึกหัดหรือการกระทาซ้า (The Lew of Exercise or Repe tition)
- การทาซ้าๆ จะทาให้การกระทานั้นถูกต้อง และสมบูรณ์
2.กฎแห่งผล (The Lew of Effect)
- รางวัลจะช่วยส่งเสริมการแสดงพฤติกรรมออกมา
3.กฎแห่งความพร้อม (The Lew of Readiness)
- ความพร้อมทางด้านร่างกาย ที่จะแสดงพฤติกรรม
เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้
เทคโนโลยีการศึกษาและการสอนของดิวอี้ มีความสาคัญต่อการศึกษาของ
สหรัฐอเมริกา เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในเรื่องของแนวคิดในการแก้ปัญหา
ซึ่งเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์สาหรับดิวอี้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1.ผู้เรียนปะทะกับปัญหา คือ เขาต้องรู้จุดมุ่งหมายและอุปสรรคที่สอดแทรกเข้ามา
2.หลังจากได้ปะทะและความหมายหรือรู้ว่าข้อมูลที่รู้มามันขัดแย้ง เราจะต้องตั้งสมมตินาน
เพื่อลองหาคาตอบดู
3.ตรวจสอบและสังเกตเพื่อเอาประสบการณ์ที่มีอยู่เพื่อมาใช้สร้างกิจกรรมให้กับผู้เรียน
4.ต้องทดสอบสมมตินานที่ตั้งขึ้น และพยายามพิสูจน์ผลที่ได้รับ
5.สุดท้ายแล้วผู้เรียนจะต้องสรุปให้ได้
เทคโนโลยีการศึกษาของมอนเตลซอริ ( 1870 – 1952 )
เป็นนักศึกษาชาวอิตาลี ( ผู้หญิง ) เธอสนใจในเรื่องของพัฒนาการและกิจกรรมเด็กมีลักษณะ
สาคัญอยู่ 3 ประการ
1.การจัดกิจกรรมของโรงเรียนให้เหมาะกับผู้เรียนแต่ละคน
2.แบ่งเด็กให้มีโอกาสทางานได้อย่างอิสระ โดยไม่ขึ้นอยู่กับครูฝ่ายเดียว
3.เน้นในเรื่องของการแบ่งแยกระบบประสาทสัมผัส
พื้นฐานของการสอนมี 2 ลักษณะ
1.ยอมรับในเรื่องของความแตกต่างระหว่างบุคคล
2.ต้องคานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน สื่อการสอนและธรรมชาติ
ของกระบวนการสอนด้วย
เทคโนโลยีการศึกษาของเอริน
เน้นเรื่องบุคลิกภาพ จิตวิทยาสังคมและกลุ่มสัมพันธ์รวมทั้งหมด เน้นเรื่องการ
จูงใจเป็นหลักการสาคัญ กาหนดหลักการตามความคิดไว้คือ
Life Space = อวกาศแห่งชีวิตตามแนวคิดของเอริน = โลกทางความคิดหรือ
โลกของจิตของแต่ละบุคคล
Topological คือ โครงสร้างการรับรู้และปฏิกิริยาต่างๆ
Vector เน้นเรื่องทิศทางความแข็งแรงของแรง
เทคโนโลยีการศึกษาของสกินเนอร์
เขาเสนอว่า กระบวนการเรียนควรแบ่งเป็นขั้นตอนย่อยๆ และแต่ละขั้นตอน
ย่อยๆควรมีการเสริมสร้างให้สอดคล้องกับการประสบความสาเร็จของผู้เรียน
โดยใช้เครื่องช่วยสอนแนวคิดของสกินเนอร์มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของการ
เรียนการสอนแบบโปรแกรม จนพัฒนามาเป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ในปัจจุบัน
พัฒนาการทางเทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
นับแต่ปี ค.ศ.1960 เป็นต้นมา สื่อการศึกษาบางประเภทถูกนามาใช้กับงานการศึกษามากขึ้น
ก่อให้เกิดความก้าวหน้าใหม่ๆ เช่น การใช้โทรทัศน์เพื่อการศึกษามวลชน การใช้โทรศัพท์ใน
ลักษณะวงจรปิดเพื่อเรียนเป็นกลุ่ม วีดีโอเทป เป็นต้น
 ในช่วงทศวรรษที่ 1950 วิทยุโทรทัศน์เกิดเป็นปรากฏการณ์ใหม่สามารถใช้เป็นสื่อเพื่อ
การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีบทบาทสาคัญและกลายเป็นเทคโนโลยีแนวหน้าของสังคม
นับแต่บัดนั้นในช่วงระหว่างทศวรรษที่ 1950 – 2160 เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในแวดวง
เทคโนโลยีทางการศึกษา ดังนั้นในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 จึงมีการใช้คาว่า การสื่อสารทาง
ภาพและเสียง หรือ audio – visual communications แทนคาว่า การสอนทางภาพและเสียง
1.ใครเป็นผู้นาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการสอนเป็นคนแรก
ตอบ
2.เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้มีความสาคัญกับประเทศอะไรเป็นอย่างมาก
ตอบ
3.วิธีการทางวิทยาศาสตร์ของดิวอี้มีกี่ขั้นตอน
ตอบ
4.Vector ในเทคโนโลยีของเอริน แปลว่าอะไร
ตอบ
5.เทคโนโลยีการศึกษาของมอนเตลซอริมีกี่ประการ
ตอบ
จอร์น ดิวอี้
สหรัฐอเมริกา
5 ขั้นตอน
เน้นเรื่องทิศทางความแข็งแรงของแรง
3 ประการ
ผู้จัดทา
1.นายชุติภาส สุวรรณมณี เลขที่ 3
2.นายปรีดา การเก่ง เลขที่ 4
3.น.ส.นฤมล รอดสุด เลขที่ 10
4.น.ส.ชาตินี อัครกุลวิบูลย์ เลขที่ 11
5.นายอัครพงษ์ พิพัฒน์ฉัตรสกุล เลขที่ 23
สาขาดนตรีไทยศึกษา
คณะวิทยาลัยการฝึกหัดครู

More Related Content

Viewers also liked

Font
FontFont
MODE_Sector-Brochure_Industrial_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Industrial_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Industrial_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Industrial_V1_LQRhonan OBrien
 
MODE_Sector-Brochure-Residential_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure-Residential_V1_LQMODE_Sector-Brochure-Residential_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure-Residential_V1_LQRhonan OBrien
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
Latae Chutipas
 
MODE_Sector-Brochure_Commercial_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Commercial_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Commercial_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Commercial_V1_LQRhonan OBrien
 
Shiv Shankar @Resume
Shiv Shankar @ResumeShiv Shankar @Resume
Shiv Shankar @ResumeShiv shankar
 
MODE_Sector-Brochure_Education_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Education_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Education_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Education_V1_LQRhonan OBrien
 
MODE_Sector-Brochure_Health_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Health_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Health_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Health_V1_LQRhonan OBrien
 
Shiv shankar Resume
Shiv shankar ResumeShiv shankar Resume
Shiv shankar Resume
Shiv shankar
 
ของจริง
ของจริงของจริง
ของจริง
Latae Chutipas
 
Engineer_post[1]
Engineer_post[1]Engineer_post[1]
Engineer_post[1]pk patel
 
Font
FontFont
Font
FontFont
MODE_Sector-Brochure_Cultural_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Cultural_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Cultural_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Cultural_V1_LQRhonan OBrien
 
Camera movement
Camera movementCamera movement
Camera movement
mnatty17122001
 
MODE_Sector-Brochure_Interior-Design_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Interior-Design_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Interior-Design_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Interior-Design_V1_LQRhonan OBrien
 
Proyecto salud oral y huerta
Proyecto salud oral y huertaProyecto salud oral y huerta
Proyecto salud oral y huerta
Ligia Reyes
 
The Six Learning Spaces - Chelsea McGrath - EDFD459
The Six Learning Spaces - Chelsea McGrath - EDFD459The Six Learning Spaces - Chelsea McGrath - EDFD459
The Six Learning Spaces - Chelsea McGrath - EDFD459
Chelsea McGrath
 
Media industries and structure
Media industries and structureMedia industries and structure
Media industries and structure
steven589
 

Viewers also liked (20)

Font
FontFont
Font
 
MODE_Sector-Brochure_Industrial_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Industrial_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Industrial_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Industrial_V1_LQ
 
MODE_Sector-Brochure-Residential_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure-Residential_V1_LQMODE_Sector-Brochure-Residential_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure-Residential_V1_LQ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
 
MODE_Sector-Brochure_Commercial_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Commercial_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Commercial_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Commercial_V1_LQ
 
Shiv Shankar @Resume
Shiv Shankar @ResumeShiv Shankar @Resume
Shiv Shankar @Resume
 
MODE_Sector-Brochure_Education_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Education_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Education_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Education_V1_LQ
 
MODE_Sector-Brochure_Health_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Health_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Health_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Health_V1_LQ
 
Shiv shankar Resume
Shiv shankar ResumeShiv shankar Resume
Shiv shankar Resume
 
ของจริง
ของจริงของจริง
ของจริง
 
Engineer_post[1]
Engineer_post[1]Engineer_post[1]
Engineer_post[1]
 
AMARJIT PAL -CV
AMARJIT PAL -CVAMARJIT PAL -CV
AMARJIT PAL -CV
 
Font
FontFont
Font
 
Font
FontFont
Font
 
MODE_Sector-Brochure_Cultural_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Cultural_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Cultural_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Cultural_V1_LQ
 
Camera movement
Camera movementCamera movement
Camera movement
 
MODE_Sector-Brochure_Interior-Design_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Interior-Design_V1_LQMODE_Sector-Brochure_Interior-Design_V1_LQ
MODE_Sector-Brochure_Interior-Design_V1_LQ
 
Proyecto salud oral y huerta
Proyecto salud oral y huertaProyecto salud oral y huerta
Proyecto salud oral y huerta
 
The Six Learning Spaces - Chelsea McGrath - EDFD459
The Six Learning Spaces - Chelsea McGrath - EDFD459The Six Learning Spaces - Chelsea McGrath - EDFD459
The Six Learning Spaces - Chelsea McGrath - EDFD459
 
Media industries and structure
Media industries and structureMedia industries and structure
Media industries and structure
 

Similar to กิจกรรมที่4 พัฒนาการของเทคโนโยีทางการศึกษา (กลุ่มที่3)

กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม Electron
Kung Kaenchan
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม Electron
Tongsai Boonta
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
khon Kaen University
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
issaraka
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rathapon Silachan
 
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้มICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
Mew Kewalin
 
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มIct กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Mew Kewalin
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
Suthakorn Chatsena
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
Sathapron Wongchiranuwat
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์chaiwat vichianchai
 

Similar to กิจกรรมที่4 พัฒนาการของเทคโนโยีทางการศึกษา (กลุ่มที่3) (13)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม Electron
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม Electron
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้มICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
 
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มIct กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

กิจกรรมที่4 พัฒนาการของเทคโนโยีทางการศึกษา (กลุ่มที่3)