SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 4
การเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี
 ภาษาแอสเซมบลี
 คาสั่งเทียมของภาษาแอสเซมบลี
 การกาหนดค่าตัวเลขในภาษาแอสเซมบลี
 การอ้างตาแหน่ง
 ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี
 การเขียนโปรแกรมภาษแอสเซมบลีโดยใช้โปรแกรม Notepad
 การเขียนโปรแกรมภาษแอสเซมบลีโดยใช้โปรแกรม Edit
4.1 ภาษาแอสเซมบลี
ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาหนึ่ง การเขียนโปรแกรมจะใช้คาย่อสั้นๆ เพื่อสื่อความหมาย
และแทนรหัสคาสั่งของภาษาเครื่องเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน เช่น
คาสั่ง MOV ย่อมาจาก MOVE หมายถึงการโอนย้ายข้อมูล เมื่อเขียน
โปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเสร็จ ต้องใช้โปรแกรมแปล
ภาษาแอสเซมบลีหรือเรียกว่าแอสเซมเบลอร์ (Assembler) ทาการ
แปลเป็นภาษาเครื่องหรือไฟล์ฐานสิบหก จากนั้นจึงนาไปเขียนลงใน
หน่วยความจาของไมโครคอนโทรลเลอร์ต่อไป
รูปที่ 4.1โครงสร้างโปรแกรมของภาษาแอสเซมบลี
4.2 คาสั่งเทียมของภาษาแอสเซมบลี
ภาษาแอสเซมบลีจะประกอบไปด้วยคาสั่งแท้หมายถึง
คาสั่งที่มีรหัสคาสั่งและคาสั่งเทียม (Pseudo Instruction)
คาสั่งเทียมเป็นคาสั่งที่ไม่มีรหัสคาสั่งซึ่งมีไว้เพื่ออานวยความ
สะดวกและช่วยแอมเซมเบอร์ในการแปลความหมายซึ่งคาสั่ง
เทียมมีคาสั่งต่างๆ
4.4 การอ้างตาแหน่ง
การอ้างตาแหน่งหรือการเข้าถึงข้อมูลคือวิธีการที่ซีพียูจะระบุ
ตาแหน่งเพื่อทาการอ่านหรือเขียนข้อมูลในรีจีสเตอร์ หน่วยความจา
ภายในหรือหน่วยความจาภายนอก ดังนั้นจึงมีคาสั่งและวิธีการอ้าง
ตาแหน่งได้หลายวิธีสามารถแบ่งตามวิธีการได้ดังนี้
1. การอ้างตาแหน่งแบบทันทีทันใด (Immediate Addressing Mode)
2. การอ้างตาแหน่งแบบโดยตรง (Direct Addressing Mode)
3. การอ้างตาแหน่งแบบรีจีสเตอร์ (Register Addressing Mode)
4. การอ้างตาแหน่งแบบโดยอ้อม (Indirect Addressing Mode)
5. การอ้างตาแหน่งแบบดัชนี (Index Addressing Mode)
4.4.1 การอ้างตาแหน่งแบบทันทีทันใด
การอ้างตาแหน่งแบบทันทีทันใดหมายถึงการนาค่าข้อมูลซึ่งจะ
มีเครื่องหมาย # นาหน้ามาเก็บไว้ในรีจีสเตอร์หรือหน่วยความจา
ตัวอย่าง
MOV A,#10H ;(A)=10H
MOV R5,#40H ;(R5)=40H
MOV DPTR,#8000H ;(DPTR)=8000H
MOV 20H,#01H ;(20H)=10H
4.4.2 การอ้างตาแหน่งแบบโดยตรง
การอ้างตาแหน่งแบบโดยตรงหมายถึงการโอนย้ายข้อมูล
ระหว่างหน่วยความจาข้อมูลภายในด้วยกันหรือการโอนย้าย
ข้อมูลระหว่างหน่วยความจาข้อมูลภายในกับรีจีเตอร์ ซึ่งเป็น
วิธีการโอนย้ายข้อมูลแบบโดยตรง
ตัวอย่าง
MOV A,20H ;(A)=(20H)
MOV 20H,30H ;(20H)=(30H)
4.4.3 การอ้างตาแหน่งแบบรีจีเตอร์
การอ้างตาแหน่งแบบรีจีสเตอร์หมายถึงการโอนย้ายข้อมูลจากงรีจี
สเตอร์ R0-R7 มาเก็บไว้ในรีจีสเตอร์ A ซึ่งเป็นการโอนย้ายข้อมูลระหว่างรีจี
สเตอร์ด้วยกัน
ตัวอย่าง
MOV A,R1 ;A = R1
MOV A,R5 ;A = R5
4.4.4 อ้างตาแหน่งแบบโดยอ้อม
การอ้างตาแหน่งแบบโดยอ้อมหมายถึงการอ้างตาแหน่งโดย
ผ่านรีจีสเตอร์ R0 R1 หรือ DPTR ซึ่งจะทาหน้าที่ในการชี้ตาแหน่ง
ข้อมูลโดยรีจีสเตอร์ R0 R1 หรือ DPTR และมีเครื่องหมาย @
นาหน้าเสมอ
ตัวอย่าง
MOV A,@R0 ;A=(R0)=2FH
MOV A,@R1 ;A=(R1)=11H
R1
22H
11H
21H
20H
1FH
Address Data
2FH
R0
45H
23H
รูปที่ 4.2 การอ้างตาแหน่งข้อมูลแบบโดยอ้อม
4.4.5 การอ้างตาแหน่งแบบดัชนี
การอ้างตาแหน่งแบบดัชนีหมายถึงการโอนย้ายข้อมูลใน
หน่วยความจาโปรแกรมเข้ามาเก็บไว้ในรีจีสเตอร์โดยจะใช้รีจี
สเตอร์ DPTR เป็นตัวชี้ตาแหน่งและใช้รีจีสเตอร์ A เป็นดัชนีซึ่ง
คาสั่งที่จะใช้ในลักษณะของการนาข้อมูลจากตารางใน
หน่วยความจาโปรแกรมมาเก็บไว้ในรีจีสเตอร์ A
ตัวอย่าง
MOV A,@A+DPTR ;A=(A+DPTR)=43H
3002H 15 H
43 H
00 H
3001H
3000H
A+DPTR A = 43 H
Address Data
รูปที่ 4.3 การอ้างตาแหน่งแบบดัชนี
4.5 ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี
ได้ไฟล์ *.HEX เพื่อใช้ในการเขียน
หรือโปรแกรมลงในหน่วยความจา
NO
START
ใช้ Editor เขียนโปรแกรม
และทาการบันทึกไฟล์ *.ASM
มีข้อผิดพลาดหรือไม่
ทาการแปลภาษาโดยใช้
ตัวแปลภาษา Assembler
YES
END
จากรูปที่ 4.4 แสดงขั้นตอนของการเขียนโปรแกรม
ภาษาแอสเซมบลี เริ่มจากใช้โปรแกรมสร้างข้อความเช่นโปรแกรม
Notepad Microsoft Word หรือ Edit ในการเขียนโปรแกรมจากนั้น
จึงทาการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .ASM แล้วจึงทาการ
แปลภาษาโดยใช้ตัวแปลภาษาหรือแอมเซมเบลอร์ (Assembler) ถ้า
หากมีข้อผิดพลาดจะต้องกลับไปแก้ไขโปรแกรมใหม่แต่ถ้าหากไม่มี
ข้อผิดพลาดก็จะได้ไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น .HEX หรือไฟล์ฐานสิบหก
ซึ่งเป็นภาษาเครื่องเพื่อจะใช้ในการเขียนหรือโปรแกรมลงใน
หน่วยความจาของไมโครคอนโทรลเลอร์ต่อไป
4.6 การเขียนโปรแกรมภาษแอสเซมบลีโดยใช้โปรแกรม Notepad
ลาดับที่ 1. เข้าโปรแกรม Notepad เขียนโปรแกรมโดยการคลิกเมาส์ ตามลาดับ
แสดงดังรูป 4.5
รูปที่ 4.5 การเข้าสู่โปรแกรม Notepad
ลาดับที่ 2. เข้าสู่โปรแกรม Notepad แล้วเริ่มเขียนโปรแกรมโดย
คลิกที่เมนูFile และ New
รูปที่ 4.6 หน้าต่างของโปรแกรม Notepad
ลาดับที่ 3. ทาการเขียนโปรแกรมดังนี้
รูปที่ 4.7 เริ่มเขียนโปรแกรม
ลาดับที่ 4. ทาการบันทึกไฟล์เป็น EX1.ASM
ลาดับที่ 5. ทาการแปลภาษาโดยใช้โปรแกรมแปลภาษาหรือโปรแกรมแอ
สเซมเบลอร์ SXA51 Core Assemble ของบริษัท Binary Technology ซึ่ง
จะทาการแปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่องซึ่งจะเป็นไฟล์
เลขฐานสิบหกโดยมีรูปแบบของคาสั่งดังนี้
SXA51 [-lcnd] File_name.ASM
[-lcnd] คือพารามิเตอร์ (Parameter) มีที่ใส่ดังนี้
-l : Make a Listing File
-c : Include a symbol cross reference
-n : Don’t make an object File
-d : be verbose
ตัวอย่าง
C:SXA51>SXA51 -L EX1.ASM
หมายถึงทาการแปลภาษาแอสเซมบลีจากไฟล์ EX1.ASM ให้
เป็นภาษาเครื่องหรือไฟล์ฐานสิบหก EX1.HEX พร้อมกับสร้างไฟล์
ที่แสดงรายละเอียดของโปรแกรม (List File) EX1.LST จากนั้นจึง
นาไฟล์ฐานสิบหกไปโปรแกรมลงในหน่วยความจาโปรแกรมของ
ไมโครคอนโทรเลอร์
4.7 การเขียนโปรแกรมภาษแอสเซมบลีโดยใช้โปรแกรม Edit
โปรแกรม Edit เป็นโปรแกรมที่ใช้เขียนข้อความที่ทางานบน
DOS เช่นเดียวกับโปรแกรม SXA51 ทาให้การเขียนโปรแกรม
ภาษาแอสเซมบลีและการแปลภาษาไม่ต้องสลับโหมดการทางาน
ระหว่าง DOS และ Windows เหมือนกับโปรแกรม Notepad ทาให้
ง่ายต่อการใช้งานซึ่งการใช้โปรแกรม Edit มีขั้นตอนดังนี้
ลาดับที่ 1. ใช้โปรแกรม Edit โดยการเรียกไฟล์edit.com โดยการ
พิมพ์คาสั่ง edit ที่ DOS prompt ก็จะเข้าโปรแกรม Edit ดังรูป
รูปที่ 4.8 หน้าต่างของโปรแกรม Edit
ลาดับที่ 2. ทาการเขียนโปรแกรมดังนี้
รูปที่ 4.9 เริ่มเขียนโปรแกรม
ลาดับที่ 3. ทาการบันทึกไฟล์เป็น EX1.ASM
ลาดับที่ 4. ทาการแปลภาษาโดยใช้แอสเซมเบลอร์ SXA51 ดังนี้
C:SXA51>51SXA51 -L EX1.ASM
เมื่อใช้โปรแกรม SXA51 ทาการแปลภาษาก็จะได้ไฟล์
EX1.HEX และไฟล์ EX1.LST ซึ่งไฟล์ EX1.HEX จะใช้ในการเขียน
หรือโปรแกรมลงหน่วยความจาของไมโครคอนโทรลเลอร์ส่วน
ไฟล์ EX1.LST จะแสดงรายละเอียดของตาแหน่งแอดเดรส รหัส
คาสั่ง และภาษาแอสเซมบลีซึ่งจะอยู่ในรูปของไฟล์ข้อความแสดง
ดังรูปที่ 4.10
รูปที่ 4.10 ไฟล์ข้อมูล EX1.LST
ตัวอย่างที่ 4.1 โปรแกรมคูณเลขระหว่างรีจีสเตอร์ A กับ รีจีสเตอร์ B
ORG 8100H ;Start Address 8100H
MOV A,#05H ;(A)=05H
MOV B,#12H ;(B)=12H
MUL AB ;AxB=05Hx20H=005AH
MOV 20H,A ;(20H)=(A)=5AH
MOV 21H,B ;(21H)=(B)=00H
END ;End Program
ผลการรันโปรแกรม
นาข้อมูลในรีจีสเตอร์ A=05H มาคูณกับรีจีสเตอร์ B=12H ซึ่ง
05Hx12H=005AH โดยจะเก็บผลคูณไบต์แรกไว้ในรีจีสเตอร์ A และ
หน่วยความจาข้อมูลภายในในตาแหน่ง 20H เก็บผลคูณไบต์ที่สอง
เก็บไว้ในรีจีสเตอร์ B และหน่วยความจาข้อมูลภายในตาแหน่ง 21H
ไฟล์ lst ของตัวอย่างที่ 4.2
ตัวอย่างที่ 4.3 โปรแกรมกลับบิตข้อมูล
ORG 8500H ;Start address 8500H
MOV A,#55H ;(A)=55H =01010101B
CPL A ;(A)=(/A)=10101010B=AAH
MOV 20H,A ;(20H)=(A)=(AAH)
END
ผลการรันโปรแกรม
กาหนดค่าข้อมูลในรีจีสเตอร์ A=55H จากนั้นทาการกลับบิต
ข้อมูลในรีจีสเตอร์ A แล้วนาผลลัพธ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจา
ข้อมูลภายในตาแหน่งที่ 20H
ไฟล์ .LST ของตัวอย่างที่ 4.3
ตัวอย่างที่ 4.4 โปรแกรมบวกเลข 1 ถึง 5
ผลการรันโปรแกรม
โปรแกรมจะวนรอบบวกรีจีสเตอร์ A กับรีจีเตอร์ R1 จานวน
5 รอบโดยเก็บผลลัพธ์ไว้ใน รีจีสเตอร์ A = 5+4+3+2+1 = 15 การ
ทางานของโปรแกรมแสดงดังรูปที่ 4.11
R1=0
START
ORG 8100 H
R1 = 05H
A = 0
A = A+R1
YES
NO
R1 =R1-1
END
รูปที่ 4.11 โฟลว์ชาร์ตการทางานของโปรแกรมบวกเลข 5 ถึง 1
ไฟล์ .LST ของตัวอย่างที่ 4.4
ตัวอย่างที่ 4.5 โปรแกรมหาค่าข้อมูลน้อยสุดในหน่วยความจาที่ตาแหน่ง 20H–2FH
ผลการรันโปรแกรม
โปรแกรมจะหาค่าน้อยสุดในหน่วยความจาข้อมูลภายใน
ตาแหน่งที่ 20H-2FH แล้วเก็บค่าน้อยที่สุดไว้ในตาแหน่ง 30H ใน
การทดลองต้องป้อนข้อมูลในตาแหน่ง 20H-2FH การทางานของ
โปรแกรมแสดงดังรูปที่ 4.5
START
ORG 8100H
R1=0FH กำหนดการวนวนรอบ 15 รอบ
R2=(20H) ช
ี ้ ข
้ อม
ู ลท
ี ่ ตำแหน
่ ง 20H
(30)=(R2)=((20H)) เก
็ บค
่ าเร
ิ ่ มต
้ น
C=1
A<(R2)
(A)=(30H) เก
็ บค
่ าน
้ อยส
ุ ดไว
้ ใน A
Carray Flag=0
A=A-(R2)
ถ้า A < R2 จะทาให้ C=1
(30H)=((R2))
เก็บค่าน้อยสุดไว้ในตาแหน่ง 30H
R2=R2+1 เล
ื ่ อนต
ั วช
ี ้
R1=R1-1 ลดค
่ า R1
R2=0
END
Yes
Yes
No
No
รูปที่ 4.12 โฟลว์ชาร์ตการค้นหาค่าข้อมูลที่น้อยสุด
ไฟล์ .LST ของตัวอย่างที่ 4.5
ผลการรันโปรแกรม
โปรแกรมจะส่งข้อมูล AAH ออกพอร์ต P1 แล้วเรียกโปรแกรม
ย่อยหน่วงเวลาจากนั้นส่งข้อมูล 55H ออกพอร์ต P1 แล้วเรียก
โปรแกรมย่อยหน่วงเวลาแสดงการทางานดังโฟลว์ชาร์ตที่ 4.13และ
4.14
START
ORG 8100H
P1 = AAH
P1 = 55H
CALL DELAY
CALL DELAY
รูปที่ 4.13 โฟลว์ชาร์ตการทางานของตัวอย่างที่ 4.6
R1 = 05H
RET
R1 = R1-1
R2 = R2-1
R3 = R3-1
R3 = FFH
R2 = FFH
R3 0
R2 0
R1 0
YES
NO
YES
YES
NO
NO
DJNZ R1,DELAY1
DJNZ R3,$
DJNZ R2,DELAY2
รูปที่ 4.14 โฟลว์ชาร์ตการทางานของโปรแกรมย่อย DELAY
ไฟล์ .LST ของตัวอย่างที่ 4.6
ผลการรันโปรแกรม
กาหนดค่าในรีจีสเตอร์ A=01H แล้วส่งออกพอร์ต P1 จากนั้นทา
การเลื่อนบิตในรีจีสเตอร์ A ไปทางซ้ายทีละบิตจนครบ 8 บิตแล้วจึง
วนรอบใหม่แสดงการทางานของโปรแกรมตามรูปที่ 4.7
P1 = A
ACALL DELAY
A = A << 1
A = 01H = 0000 0001 B
รูปที่ 4.15 โฟลว์ชาร์ตการทางานของตัวอย่างที่ 4.7
ตัวอย่างที่ 4.8 โปรแกรมไฟวิ่งออกพอร์ต P1 ตามลาดับ 1 ถึง 4
ดังนี้
ลาดับที่ 1. *000 000*=10000001B=81H
ลาดับที่ 2. 0*00 00*0=01000010B=42H
ลาดับที่ 3. 00*0 0*00=00100100B=24H
ลาดับที่ 4. 000* *000=00011000B=18H
ผลการรันโปรแกรม
ไมโครคอนโทรลเลอร์จะนาข้อมูลในตาราง LEDTABLE ออก
พอร์ต P1 โดยการวนรอบตามลาดับ 1 ถึง 4 แสดงดังรูปที่ 4.16
81H
18H
24H
42H
DPTR LEDTABLE : MOV A,@A+DPTR
MOV P1,A
รูปที่ 4.16 แสดงการนาข้อมูลในตารางออกพอร์ต P1
4.8 สรุปท้ายบท
ในบทนี้ได้กล่าวถึงโครงสร้างของภาษาแอสเซมบลี คาสั่งเทียม
การกาหนดค่าตัวเลขฐาน การอ้างตาแหน่งแบบต่างๆ การเขียน
โปรแกรมภาษาแอสเซมบลีโดยใช้โปรแกรม Notepad โปรแกรม
Edit และตัวอย่างการเขียนโปรแกรมในลักษณะต่างๆ เพื่อฝึกทักษะ
ในการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี

More Related Content

What's hot

น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
dnavaroj
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
surang1
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007Nicharee Piwjan
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
ssuser741b9d
 
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docแบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
AnuwatBhumthavorn
 
Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2
Lovely Pim
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guestc3a629f6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
pop Jaturong
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
สมใจ สีดาจันทร์
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
chanaporn sornnuwat
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
Thanawut Rattanadon
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
Znackiie Rn
 
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
Aj Muu
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
Morn Suwanno
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
thanakornmaimai
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
phatthra jampathong
 

What's hot (20)

บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงานบทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
 
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docแบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
 
Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 

Similar to บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
Naowarat Jaikaroon
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
Know Mastikate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
Hathaichon Nonruongrit
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์0908067327
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
Manop Kongoon
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมKashima Seto
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
Phanupong Chanayut
 

Similar to บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี (20)

Learn 1
Learn 1Learn 1
Learn 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 

More from Nattawut Kathaisong

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
Nattawut Kathaisong
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
Nattawut Kathaisong
 
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 

More from Nattawut Kathaisong (16)

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
 
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี