SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
บทที่ 3
ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรลเลอร์
ในบทนี้จะกล่าถึง
 รูปแบบชุดคาสั่งของไมโครคอนโทรลเลอร์
 กลุ่มคาสั่งการโอนย้ายข้อมูล
 กลุ่มคาสั่งทางคณิตศาสตร์
 กลุ่มคาสั่งทางลอจิก
 กลุ่มคาสั่งกระทาข้อมูลระดับบิต
 กลุ่มคาสั่งการกระโดด
3.1 รูปแบบชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรลเลอร์
ชุดคาสั่งของไมโครคอนโทรลเลอร์ประกอบไปด้วยคาสั่งหรือมีโมนิก
(Mnemonic) และตัวดาเนินการหรือโอเปอร์แรนด์ (Operand)
ตัวอย่าง ถ้าต้องการให้รีจีสเตอร์ A มีค่าเท่ากับ 05H สามารถเขียนได้ดังนี้
MOV A,#05H
MOV A,#05H
Mnemonic Operant
MOV คือคำสั่งหรือนีโมนิก
A,#05H คือตัวดำเนินกำร
ชุดคำสั่งไมโครคอนโทรลเลอร์สำมำรถแบ่งออกได้เป็น 5 กลุ่มดังนี้
 กลุ่มที่ 1. กลุ่มคาสั่งการโอนย้ายข้อมูล (Data Transfer Instructions)
 กลุ่มที่ 2. กลุ่มคาสั่งทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Instructions)
 กลุ่มที่ 3. กลุ่มคาสั่งทางลอจิก (Logical Instructions)
 กลุ่มที่ 4. กลุ่มคาสั่งกระทาข้อมูลระดับบิต (Bit Manipulated
Instructions)
 กลุ่มที่ 5. กลุ่มคาสั่งกระโดด (Jump Instructions)
กลุ่มคาสั่งการโอนย้ายข้อมูลจะทาหน้าที่ในการโอนย้ายข้อมูล
ในหน่วยความจาข้อมูล หน่วยความจาโปรแกรมและรีจีสเตอร์ การ
รับและส่งข้อมูลผ่านพอร์ตของไมโครคอนโทรลเลอร์โดยมีคาสั่ง
ต่างๆ ดังนี้
3.2 กลุ่มคำสั่งกำรโอนย้ำยข้อมูล
3.2.1 กลุ่มคำสั่งกำรโอนย้ำยข้อมูลในรีจิสเตอร์และ
หน่วยควำมจำภำยใน
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการโอนย้ายข้อมูลในรีจีสเตอร์และ
หน่วยความจาภายใน การโอนย้ายข้อมูลระหว่างรีจีสเตอร์กับรีจี
สเตอร์ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างหน่วยความจาภายในกับ
หน่วยความจาภายในซึ่งประกอบไปด้วยคาสั่งต่างๆ ดังนี้
MOV A,#data
02H
11H
A=02H
10H
0FH
Address Data
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOV A,10H
MOV 20H,#05H ;(20H)=05H
MOV R0,#20H ;(R0)=20H
MOV A,@Rn ;(A)=((R0))=(20)=05H
MOV A,@Rn หมายถึง การโอนย้ายข้อมูลใน
ตาแหน่งที่รีจีสเตอร์ R0 หรือ R1 ชี้อยู่มาเก็บไว้ในรีจีสเตอร์ A
ตัวอย่าง
22H
R0 05H A=05H
21H
20H
1FH
Address Data
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOV A,@R0
MOV Rn,#data
หมำยถึง กำรโอนย้ำยข้อมูล data มำเก็บไว้ในรีจีสเตอร์ R0-R7
ตัวอย่ำง
MOV R5,#23H;(R5)=23H
หมำยถึง กำรโอนย้ำยข้อมูล 23H มำเก็บไว้ในรีจีสเตอร์ R5
MOV Rn,A
หมำยถึง กำรโอนย้ำยข้อมูลจำกรีจีสเตอร์ A มำเก็บไว้ในรีจีสเตอร์ R0-R7
MOV 30H,#12H ;(30H),12H
MOV R1,30H ;(R1)=(30H)=12H
12H
31H
R1=12H
30H
2FH
Address Data
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOV R1,30H
0FF H
21H
20H
1FH
Address Data
หมายถึง การโอนย้ายข้อมูล FFH มาเก็บไว้ในหน่วยความจา
ข้อมูลภายในที่ตาแหน่ง 20H
MOV 20H,#0FFH ;(20H)=0FFH
Address Data
23 H
31H
R1 30H
2FH
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOV @R1,23H
R1
22H
A=11H
11H
21H
20H
1FH
Address Data
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOV @R1,A
11 H
11 H
42H
R1
41H
40H
3FH
Address Data
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOV @R1,40H
DPTR
9002H
12H
9001H
9000H
8FFFH
Address Data
A=12H
External RAM
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOVX @DPTR,A
DPTR
9002H
45H
9001H
9000H
8FFFH
Address Data
A=45H
External RAM
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOV A,@DPTR
0081H
A = 67 H
67 H
R1 0080H
007FH
External RAM
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOV @R1,A
R1
82H
23H
81H
80H
7FH
Address Data
A=23H
External RAM
กำรโอนย้ำยข้อมูลของคำสั่ง MOVX A,@R1
External ROM
3002H A = 15 H
DPTR + 2
DPTR
15 H
43 H
00 H
FF H
3001H
3000H
2FFFH
DPTR + 1
แสดงกำรทำงำนของคำสั่ง MOVC A,@A+DPTR
SP + 1 34 H
12 H
0AH
POP R2
POP R3
PUSH R1
PUSH R0
09H
08H
07H
06H
SP + 2
SP
กำรใช้งำนคำสั่ง PUSH และ POP
Rotate Left Accumulator
BIT 7 BIT 4
BIT 5
BIT 6 BIT 3 BIT 2 BIT 1 BIT 0
กำรเลื่อนบิตในรีจีสเตอร์ A วนไปทำงซ้ำย
Rotate Accumulator Left Through The Carry Flag
BIT 7 BIT 4
BIT 5
BIT 6 BIT 3 BIT 2 BIT 1 BIT 0
C
การทางานของคาสั่ง RLC
Rotate Accumulator Right
BIT 7 BIT 4
BIT 5
BIT 6 BIT 3 BIT 2 BIT 1 BIT 0
การเลื่อนบิตข้อมูลในรีจิสเตอร์ A
Rotate Accumulator Right Through The Carry Flag
BIT 7 BIT 4
BIT 5
BIT 6 BIT 3 BIT 2 BIT 1 BIT 0
C
การทางานของคาสั่ง RRC
Swap Middles With in The Accumulator
BIT 7 BIT 4
BIT 5
BIT 6 BIT 3 BIT 2 BIT 1 BIT 0
การทางานของคาสั่ง SWAP
คำสั่งกำรกระโดดแบบไม่มีเงื่อนไข
หน่วยความจาได้ในช่วง64 KB
Rel 1 : คือค่ำตำแหน่งสัมพัทธ์
Addr11 : คือตำแหน่งแอดเดรส 11 บิตสำมำรถติดต่อหน่วยควำมจำได้ในช่วง 2 KB
Addr16 : คือตำแหน่งแอดเดรส 16 บิตสำมำรถติดต่อ
โปรแกรมวนรอบส่งข้อมูลออกพอร์ต P1 โดยใช้คำสั่ง SJMP
ORG 8100H
MOV A,#55H ;A=55H
OUTP1: MOV P1,A ;P1=A
CPL A ;A=/A
SJMP OUTP1 ;Jump OUTP1:
END
ไฟล์ .LST ของตัวอย่ำงที่ 3.1
8051 Cross-Assembler(1.3) (C) 1987,1989 Binary Technology
Page 1
SJMP.ASM
8100 1 ORG 8100H
8100 7455 2 MOV A,#55H ;A=55H
8102 F590 3 OUTP1: MOV P1,A ;P1=A
8104 F4 4 CPL A ;A=/A
8105 80FB 5 SJMP OUTP1 ;Jump OUTP1
0000= 6 END
โฟลว์ชำร์ตกำรทำงำนของคำสั่ง SJMP
MOV A , #5 5 H
OUT P1 : MOV P1,A
CPL A
SJMP OUT P1
โปรแกรมวนรอบส่งข้อมูลออกพอร์ต P1 โดยใช้คำสั่ง AJMP
ORG 8100H
MOV A,#55H ;A=55H
OUTP1: MOV P1,A ;P1=A
CPL A ;A=/A
AJMP OUTP1 ;Jump OUTP1:
END
ผลกำรรันโปรแกรม
ไมโครคอนโทรลเลอร์จะส่งข้อมูลในรีจีสเตอร์ A ออกพอร์ต
P1 แล้วกลับบิตในรีจีสเตอร์ A จากนั้นจึงวนรอบส่งข้อมูลออก
พอร์ต P1 โดยใช้คาสั่ง AJMP
ไฟล์. LST ของตัวอย่างที่ 3.2
8051 Cross-Assembler(1.3) (C) 1987,1989 Binary Technology
Page 1
AJMP.ASM
8100 1 ORG 8100H
8100 7455 2 MOV A,#55H ;A=55H
8102 F590 3 OUTP1: MOV P1,A ;P1=A
8104 F4 4 CPL A ;A=/A
8105 2102 5 AJMP OUTP1 ;Jump OUTP1
0000= 6 END
โปรแกรมวนรอบส่งข้อมูลออกพอร์ต P1 โดยใช้คาสั่ง LJMP
ORG 8100H
MOV A,#55H ;A=55H
OUTP1: MOV P1,A ;P1=A
CPL A ;A=/A
LJMP OUTP1 ;Jump OUTP1:
END
ผลกำรรันโปรแกรม
ไมโครคอนโทรลเลอร์จะส่งข้อมูลในรีจีสเตอร์ A ออกพอร์ต
P1 แล้วกลับบิตในรีจีสเตอร์ A จากนั้นจึงวนรอบส่งข้อมูลออกพอร์
P1 โดยใช้คาสั่ง LJMP
ไฟล์ .LST ของตัวอย่ำงที่ 3.3
8051 Cross-Assembler(1.3) (C) 1987,1989 Binary Technology
Page 1
LJMP.ASM
8100 1 ORG 8100H
8100 7455 2 MOV A,#55H ;A=55H
8102 F590 3 OUTP1: MOV P1,A ;P1=A
8104 F4 4 CPL A ;A=/A
8105 028102 5 LJMP OUTP1 ;Jump OUTP1
0000= 6 END
3.6.3 กลุ่มคำสั่งกำรกระโดดแบบมีเงื่อนไข
การกระโดดแบบมีเงื่อนไขคือการกาหนดให้ซีพียูกระโดดหรือ
เปลี่ยนตาแหน่งแอดเดรสการทางานโดยตรวจสอบจากเงื่อนไขและ
สถานะของแฟลกต่างๆ ซึ่งถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะกระโดดไปยัง
ตาแหน่งมีกาหนดแต่ถ้าเป็นเท็จหรือไม่เป็นจริงก็จะไม่กระโดด กลุ่ม
คาสั่งการกระโดดแบบมีเงื่อนไขประกอบด้วยคาสั่งต่างๆ แสดงใน
ตาราง
คำสั่งกำรกระโดดแบบมีเงื่อนไข
โปรแกรมวนรอบบวกเลขโดยใช้คำสั่ง DJNZ
ORG 8100H
MOV A,#00H ;(A)=00H
MOV R1,#09H ;(R1)=09H
Adder: ADD A,R1 ;A=A+R1
DJNZ R1,Adder ;R1=R1-1 and Jump if R10
END
ไฟล์ .LST ของตัวอย่ำงที่ 3.4
8051 Cross-Assembler (1.3) (C) 1987, 1989 Binary Technology
djnz.asm
8100 1 ORG 8100H
8100 7400 2 MOV A,#00H ;(A)=00H
8102 A909 3 MOV R1,09H ;(R1)=09H
8104 29 4 Adder: ADD A,R1 ;A=A+R1
8105 D9FD 5 DJNZ R1,Adder ;R1=R1-1 and Jump if R1<>0
0000= 6 END
ผลกำรรันโปรแกรม
การทางานของโปรแกรมจะวนรอบบวกค่ารีจีสเตอร์ A กับรีจี
สเตอร์ R1 จานวน 9 ครั้งตามการกาหนดค่าในรีจีสเตอร์ R1 โดยที่รี
จีสเตอร์ A = 9+8+7+6+5+4+3+2+1 = 45 = 2DH
START
END
A = 00 H
R1 = 09 H
A = A + R1
R1 = R1 - 1
R1= 0
Yes
No
โฟลว์ชำร์ตกำรทำงำนของคำสั่ง DJNZ
โปรแกรมย่อย
กำรเรียกใช้โปรแกรมย่อย
0000 1 ORG 0000H
0000 7455 2 MOV A,#55H ;(A)=55H
0002 F590 3 OUTP1: MOV P1,A ;P1=A
0004 F4 4 CPL A ;A=/A
0005 12000A 5 LCALL DELAY ;Call DELAY
0008 0102 6 AJMP OUTP1 ;Jump OUTP1
7 ;Sub Routine Delay
000A 7905 8 DELAY: MOV R1,#05H
000C 7AFF 9 D1: MOV R2,#0FFH
000E 7BFF 10 D2: MOV R3,#0FFH
0010 DBFE 11 D3: DJNZ R3,D3
0012 DAFA 12 DJNZ R2,D2
0014 D9F6 13 DJNZ R1,D1
0016 22 14 RET ;Return to Main Program
0000= 15 END
ผลกำรรันโปรแกรม
โปรแกรมจะส่งข้อมูลในรีจีสเตอร์ A ออกพอร์ต P1 แล้วเรียก
โปรแกรมย่อย delay เพื่อใช้หน่วยเวลาในการแสดงผลแสดงการ
ทางานดังรูปที่ 3.21
MOV A,55H
AJMP OUTP1
ACALL Delay
OUTP1: MOV P1,A
CPL A
;Sub Routine Delay
Delay:MOV R1,#05H
D1: MOV R2,#0FFH
D2: MOV R3,#0FFH
D3: DJNZ R3,D3
DJNZ R2,D2
DJNZ R1,D1
RET
สรุปท้ำยบท
ในบทนี้ได้กล่าวถึงรูปแบบชุดคาสั่งของไมโครคอนโทรลเลอร์
กลุ่มคาสั่งการโอนย้ายข้อมูล คาสั่งทางคณิตศาสตร์และลอจิก คาสั่ง
การกระทาข้อมูลในระดับบิต คาสั่งกระโดด การกระโดดแบบ
ขอบเขตสัมพัทธ์ การกระโดดแบบขอเขตสมบรูณ์ โปรแกรมย่อย
และตัวอย่างการการเขียนโปรแกรมเพื่อเป็นความรู้พื้นฐานในการ
เขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีต่อไป

More Related Content

What's hot

9 10 объект хандлагат анализ (динамик ойлголт)
9 10 объект хандлагат анализ (динамик ойлголт)9 10 объект хандлагат анализ (динамик ойлголт)
9 10 объект хандлагат анализ (динамик ойлголт)Аззаяа Мөнхзул
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
Dsi lec5
Dsi lec5Dsi lec5
Dsi lec5ggmo86
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศโครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศThrus Teerakiat
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]คมสันต์ วงศ์กาฬสินธุ์
 
U.cs101 алгоритм программчлал-14
U.cs101   алгоритм программчлал-14U.cs101   алгоритм программчлал-14
U.cs101 алгоритм программчлал-14Badral Khurelbaatar
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการSukanya Maneechot
 
алг лаб3
алг лаб3алг лаб3
алг лаб3OkoDeegii1
 

What's hot (20)

9 10 объект хандлагат анализ (динамик ойлголт)
9 10 объект хандлагат анализ (динамик ойлголт)9 10 объект хандлагат анализ (динамик ойлголт)
9 10 объект хандлагат анализ (динамик ойлголт)
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
Dsi lec5
Dsi lec5Dsi lec5
Dsi lec5
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
Sw203 Lecture8 Interface
Sw203 Lecture8 InterfaceSw203 Lecture8 Interface
Sw203 Lecture8 Interface
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศโครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
P05
P05P05
P05
 
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
U.cs101 алгоритм программчлал-14
U.cs101   алгоритм программчлал-14U.cs101   алгоритм программчлал-14
U.cs101 алгоритм программчлал-14
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
Eneygy Awarness
Eneygy AwarnessEneygy Awarness
Eneygy Awarness
 
Process instrumentation unit 02
Process instrumentation unit 02Process instrumentation unit 02
Process instrumentation unit 02
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
алг лаб3
алг лаб3алг лаб3
алг лаб3
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Chapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of designChapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of design
 

More from Nattawut Kathaisong

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdNattawut Kathaisong
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลNattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์Nattawut Kathaisong
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantNattawut Kathaisong
 

More from Nattawut Kathaisong (15)

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
 
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
 

บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์