SlideShare a Scribd company logo
เฉลย ชีวะ Ent48
1. ตอบ 1 ทั้งซิเลียและแพลกเจลลัมมีโครงสร้างแบบ
A ในเซลล์ที่เป็นยูคารีโอต
2. ตอบ 2 โครงสร้างระดับโมเลกุลเป็นสารโปรตีนที่มี
ชื่อว่าทิวบูลิน
3. ตอบ 4 เทรเดียมีซีเลียที่พัดโบกเอาสิ่งแปลกปลอม
ทิ้งไป แต่ปีกมดลูกจะมีซิเลียเพื่อโบกไข่ ให้รับการ
ผสมกับอสุจิที่ปีกมดลูก
4. ตอบ 1 สารโคชิซินจะทาให้ไมโครทิวบูลหักเป็น
ท่อน
5. ตอบ 4
พืชต้องการออกซิเจนในอัตราที่ต่ากว่าสัตว์
พืชไม่มีอวัยวะที่เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนก๊าซ
โดยเฉพาะ การแลกเปลี่ยนก๊าซจะเกิดที่
1. ใบ ก๊าซจะผ่านเข้าออกทางปากใบ และ
การแลกเปลี่ยนก๊าซในชั้นมีโซฟิลล์ของใบ
บริเวณสปันจีเซลล์ ซึ่งมีช่องว่างระหว่างเซลล์และมี
ความชื้นสูง เกือบ 100 จึงทาให้มีประสิทธิภาพใน
การแลกเปลี่ยนก๊าซ
2. ลาต้นและราก บริเวณผิวลาต้นพืชบาง
ชนิดมีเลนทิเซลล์เป็นรูที่อากาศผ่านเข้าออกได้
ส่วนบริเวณรากของพืชจะมีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ระหว่างขนและเซลล์ที่ผิวของราก
6. ตอบ 1 พืชหลังการเก็บเกี่ยวมีการหายใจตลอด
จนกว่าเซลล์จะตาย O2 จะถูกนาไปใช้สลาย
โมเลกุลของสารอาหาร แล้วปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์และ พลังงานความร้อนมา
ดังนั้นถ้าพืชหลังการเก็บเกี่ยวมีอัตราการหายใจสูง
จะมีอายุหลังการเก็บเกี่ยวสั้นจะเหี่ยวเฉาเร็ว ปัจจัย
ที่มีผลต่ออัตราการหายใจของพืชหลังการเก็บเกี่ยว
ได้แก่ อุณหภูมิ สารเคมี กระตุ้นการเจริญเติบโต
ขนาดของพืช เป็นต้น
7. ตอบ 2 X คือ bundle sheath ที่หุ้มรอบท่อ
ลาเลียงน้าและอาหาร
8. ตอบ 3 พืชกลุ่ม C4 เป็นพืชที่มีบันเดิลชีทเซลล์
(bundle sheath cell) หุ้มห่อท่อลาเลียงน้าและ
อาหาร พืช ได้แก่ อ้อย, ข้าวโพด มักเติบโตในที่
มี CO2 น้อย พืชพวกนี้จะมีการตรึง CO2 สองครั้ง
คือ
ครั้งแรก : มีการตรึงที่เนื้อเยื่อมีโซฟิลล์ ดังรูป โดยมี
สาร C3 คือ สาร phosphoenolpyruvateมารับ CO2
เป็น C4 (oxaloacetic acid) ซึ่งถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์
แรกของพืช (พืชพวกนี้จึงถูกเรียกว่าพืช C4 ) สาร
ที่มี C4 อะตอม นี้จะเคลื่อนเข้าสู่บันเดิลชีทเซลล์
แล้วมีการปล่อย CO2 ในบันเดิลชีท การสังเคราะห์
แสงที่ เกิดขึ้นในบันเดิลชีทเซลล์นี้ จะเป็น Calvin
cycle เหมือนกับพืชบกอื่น ๆ การตรึง CO2 ใน
บันเดิลชีท จึงถือเป็นการตรึง CO2 เป็นครั้งที่สอง
9. ตอบ 4
ท่อโฟลเอม ประกอบด้วย
ก. โฟลเอมไฟเบอร์ ให้ความแข็งแรง
ข. โฟลเอมพาเรนไคมา หน้าที่สะสมอาหาร
ค. ซิพทิวป์ ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร
ง. คอมพาเนียนเซลล์ ทาหน้าที่ให้อาหารและ
พลังงานแก่ซีพทิวป์
10. ตอบ 4
ท่อไซเลม จะประกอบด้วย
ก. ไซเลมไฟเบอร์ ให้ความแข็งแรงแก่ท่อไซเลม
ข. ไซเลมพาเรนไคมา สะสมอาหารเป็นเนื้อเยื่อ
พื้นและเกี่ยวกับการลาเลียงน้าตามแนวขวาง
ค. เทรคีด ทาหน้าที่ลาเลียงน้าตามแนวยืน
ง. เวสเซล ทาหน้าที่ลาเลียงน้าในแนวยืน
11. ตอบ 1 ฮอร์โมนชนิดนี้คือ -ecdysone มีในแมลง
เกี่ยวกับการลอกคราบ
12. ตอบ 4 โครงสร้างของฮอร์โมนดังกล่าว เป็นสารไม่กลัว
น้า เป็นพวกไขมัน
13. ตอบ 1 ฮอร์โมนไขมันออกฤทธิ์ในไซโทพลาซึม
ไม่ใช่เยื่อหุ้มเซลล์
14. ตอบ 4 ได้แก่ ฮอร์โมนเพศ และจากต่อมหมวกไตส่วน
เปลือก
15. ตอบ 4 chorion เจริญมาจาก mesoderm เมื่อตัวอ่อน
มีอายุ 8 สัปดาห์ เป็นถุงหุ้มรอบตัวอ่อนด้านนอกของถุง
น้าคร่า (amnion)
16. ตอบ 3 ถุงไข่แดง (yolk sac) ทาหน้าที่สร้างเม็ดเลือด
เมื่อตัวอ่อนมีอายุระหว่าง 8 วัน – 20 สัปดาห์
2
17. ตอบ 2 น้าในถุงน้าคร่า (amniotic fluid) มีสารโปรตีน
ไขมัน และฮอร์โมน ช่วยควบคุมอุณหภูมิของตัวอ่อนให้
คงที่
18. ตอบ 2 รก (placenta) มีรูปร่างครึ่งวงกลม มี 2 ส่วน
คือ ส่วนหนึ่งเป็น endometrium ของแม่ อีกส่วนเป็น
เนื้อเยื่อของลูก
19. ตอบ 1 ประกอบด้วย umbilical artery 1 คู่,
umbilical vein 1 เส้น และ mucoid connective
tissue
20. ตอบ 4 กระต่ายเป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร
(Herbivore) หรือ primary consumer
21. ตอบ 1 น้ามันที่มีไขมันชนิดไขมันไม่อิ่มตัวมาก
ได้แก่ น้ามันถั่วเหลือง น้ามันข้าวโพด ราข้าว ดอก
คาฝอย และดอกทานตะวัน
22. ตอบ 1 Barr - body เป็นโครงสร้างที่ใช้ตรวจเพศหญิง
ในหญิงปกติจะมี barr-body เป็นจุดดาเพียงจุดเดียว
23. ตอบ 2 Garlic หรือกระเทียม ผลในการลดระดับ
ไขมันในเลือดไม่แน่นอน จากการวิเคราะห์โดยวิธี
meta-analysis พบว่าการศึกษาเกี่ยวกับกระเทียมส่วน
ใหญ่มักเป็นการศึกษาระยะสั้น มีประชากรที่ศึกษาไม่
มากนัก
และไม่มีการควบคุมอาหารอย่างเคร่งครัด และมีผลลด
ระดับ cholesterol ลงเพียงเล็กน้อยระยะแรก และไม่
ได้ผลเกิน 6 เดือน
Soy protein หรือ โปรตีนจากถั่วเหลือง มี
isoflavones ซึ่งเป็น phytoestrogen จากการวิเคราะห์
โดยวิธี meta-analysis จานวน 38 ตัวอย่างพบว่าการ
บริโภคโปรตีนจากถั่วเหลือง ทดแทน โปรตีนจากสัตว์
โดยเฉลี่ยวันละ 47 กรัม ลดระดับ serum cholesterol
LDL และ triglyceride ลงร้อยละ 9.3, 12.9 และ 10.5
ตามลาดับ และเพิ่ม HDL ขึ้นร้อยละ 2.4 Fish oil เป็น
ยาที่ได้ผลดีในการลดระดับ triglyceride
24. ตอบ 2 อาหารที่มีไขมันชนิดอิ่มตัวสูงได้แก่ ไขมันจาก
สัตว์ทุกชนิด ไข่แดง เครื่องในสัตว์ หนังสัตว์ทุกชนิด
เนย ครีม ไอศกรีม ช็อคโกแลต หอยนางรม
ปลาหมึก ผลิตภัณฑ์ที่ทาจากไข่แดง นม เนย และ
ครีม เช่น ขนมเค้ก ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง
สังขยา ขนมใส่เนย เป็นต้น น้ามันพืชที่มีไขมันชนิด
อิ่มตัวมาก
ได้แก่ ไขมันจากสัตว์น้ามันปาล์ม น้ามันมะพร้าว
25. ตอบ 1 พรุน  บลูเบอรี  สตรอเบอรี
 กีวี  ข้าวโพด
ในผลไม้ที่มีสีม่วงอมน้าเงินนั้นจะมีสาร
ANTHOCYANIN ซึ่งเป็นสาร FLAVONOID ที่มีสีน้าเงิน
มีฤทธิ์เป็นสาร ANTIOXIDANT สารนี้จะทาลายอนุมูล
อิสระ (FREE RADICAL) ที่จะทาลายเนื้อเยื่อทาให้แก่
ได้
26. ตอบ 1 เกิดการกลายพันธุ์
27. ตอบ 3 เป็นเชื้อไวรัสที่ก่อโดยการสัมผัสโดยตรง
28. ตอบ 4 โครงสร้างโปรตีนแคปซิคของไวรัสแตกสลาย
ง่ายเมื่อถูกความร้อนและกรด
29. ตอบ 2 เป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ใน Phylum Echinodermata
30. ตอบ 1 อยู่ในทะเลทั้งหมด
31. ตอบ 4 มีการงอกใหม่แทนส่วนขาด
32. ตอบ 2 ในรูปคือ Hydra อยู่ในพวกที่มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น
33. ตอบ 2 DNA มีส่วนย่อยเป็น nucleotide
34. ตอบ 3 natural selection เป็นการคัดเลือกพันธุ์ตาม
ธรรมชาติ
35. ตอบ 1
ให้ลักษณะสีดาควบคุมด้วย allele B
ลักษณะสีขาวควบคุมด้วย allele b
Bb  Bb
1 BB, 1 Bb, 1 bb
4 2 4
สีดาพันธุ์แท้มีโอกาส = 1
4
36. ตอบ 3 พืชใบเลี้ยงคู่จะมีท่อลาเลียงน้าและอาหารอยู่
เป็นกลุ่ม ถ้าอยู่ที่เส้นกลางใบ มัดท่อน้าและอาหารจะ
ใหญ่
37. ตอบ 3 ความถี่ของฟีโนไทป์เอจะต้องได้จากความถี่
ของ IA
i + IA
IA
ความถี่ของฟีโนไทป์ของเลือดโอ
= 0.67  0.67 = 0.4489
38. ตอบ 3 ต่างกันที่คลอโรฟิลล์เป็น Mg แต่ฮีโมโกลบิน
เป็น Fe
เฉลย ชีวะ Ent48
39. ตอบ 1 อุจจาระร่วงมีสาเหตุจากเชื้อทั้ง 3 ชนิดได้
แต่ลักษณะอาการของอุจจาระร่วงจะแตกต่างกัน
40. ตอบ 4 amniotic fluid คือ น้าคร่า
41. ตอบ 1 guard cell จึงสังเคราะห์แสงได้
42. ตอบ 1 ทาให้ฮีโมโกลบินผิดปกติ เนื่องจากกรดอะมิโน
ที่มาเรียงต่อกันผิดปกติ
43. ตอบ 3 พืช C4 ทนความร้อนและทนความแล้งได้ดี
44. ตอบ 4 ไมโทคอนเดรีย พบในยูคารีโอต
45. ตอบ 1 ไวรัสเข้าสู่เซลล์ด้วยขบวนการ endocytosis
ที่ใช้พลังงาน
46. ตอบ 2 S-ER เป็นโครงสร้างที่มีเอนไซม์ในการกาจัด
สารพิษ
47. ตอบ 4 ความผิดปกติของโครโมโซมอีกแบบหนึ่ง
เรียกว่า กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ (Turner’s syndrome)
ผู้ป่วยเป็นเพศหญิง มีลักษณะตัวเตี้ย กระดูกอกกว้าง
แบน หัวนมห่าง ที่บริเวณคอเป็นพังผืดกางเป็นปีก
ไม่มีประจาเดือน เป็นหมันและอาจมีปัญญาอ่อน ผู้ป่วย
ในกลุ่มนี้มีจานวนโครโมโซม 45 โครโมโซม เนื่องจากมี
โครโมโซมเพศ คือ โครโมโซม X เพียงโครโมโซมเดียว
พบในหญิง 1 ต่อ 2,500 คน
48. ตอบ 4 เมื่อมีการย่อยโปรตีนเกิดขึ้น ควรพบ Peptide
ที่กระเพาะอาหารและลาไส้เล็ก เพราะในกระเพาะ
อาหารและในลาไส้เล็กมีน้าย่อยสาหรับย่อยโปรตีน
49. ตอบ 4 โครงสร้างภายในเซลล์ประสาท ได้แก่
- Nissle substance
- ไมโทคอนเดรีย
- Golgi body
- Microtubule และ Microfilament
50. ตอบ 1 เพราะเซลล์เม็ดเลือดแดงไม่มีการแบ่งเซลล์
51. ตอบ 2 พยาธิใบไม้ตับ เป็นสัตว์ที่มีระบบทางเดิน
อาหารไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestive tract)
52. ตอบ 1 การแตกกิ่งของลาต้นแตกจากชั้น Cortex
ส่วนการแตกแขนงของรากแตกจาก ชั้น Pericycle
53. ตอบ 1 CO2 ถูกตรึงครั้งแรกที่ Mesophyll ได้
สารอินทรีย์ C4 และเมื่อเกิด CO2 จะได้สาร C3
(Pyruvate) เข้าสู่ Kreb’s cycle ส่วน CO2 จะถูกตรึงใน
Bundle sheath ต่อไป
54. ตอบ 3 หน้าที่ของ Interneuron เป็น ตัวกลาง
ของการรับ-ส่งผ่านสัญญาณประสาท
55. ตอบ 2 ATP และ NADPH. H+
เป็นสารที่ถูกสร้างขึ้น
ใน Light reaction ของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
และนาไปใช้ต่อในกระบวนการตรึง CO2 ในวัฏจักรคัล
วิน
56. ตอบ 3 ระยะ Metaphase โครโมโซมเห็นเด่นชัดและ
เรียงตรงกลางเซลล์
57. ตอบ 4 เอนไซม์ Enterokinase ที่หลั่งออกมาจากต่อม
ในลาไส้เล็ก มีหน้าที่ไปกระตุ้น Trypsinogen ให้
เปลี่ยนเป็น Trypsin
58. ตอบ 4 ระยะ Anaphase ของการแบ่งเซลล์แบบ
Mitosis จะมีโครโมโซมเป็น 4n
59. ตอบ 2 3 -T-G-C-A-C-G-G- 5 (ในโมเลกุลของ
DNA เบส A คู่กับ T , C คู่กับ G)
60. ตอบ 3 Megaspore มีจานวนโครโมโซมลดลง
ครึ่งหนึ่งจากเซลล์เดิม เนื่องจากเป็นเซลล์ที่ได้จากการ
แบ่งแบบ Meiosis หลังจากนั้น Megaspore จะแบ่ง
แบบ Mitosis 3 ครั้ง ได้ 8 นิวเคลียสแต่ละนิวเคลียสมี
12 โครโมโซม
61. ตอบ 1 C A U (A คู่กับ U , C คู่กับ G)
62. ตอบ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมของ
ไมโทคอนเดรีย จะเป็นการสั่งการจาก Ovum ของแม่
63. ตอบ 2 ในรูปเป็น โพรคารีโอต คือ แบคทีเรีย เพราะไม่
มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
64. ตอบ 4
ฟันชนิดต่าง ๆ และจานวนต่าง ๆ เหล่านี้เขียนเป็นสูตรสั้น ๆ
ได้ว่า I. C. P. M. ใช้เขียนจานวนฟันครึ่งปากเท่านั้น
I. C. P. M.
-ในฟันแท้ที่มี 32 ซี่ มีสูตรดังนี้ 2. 1. 2. 3
4
2. 1. 2. 3
แถวบนแสดงชนิดของฟันครึ่งขากรรไกรบน
แถวล่างแสดงชนิดฟันของครึ่งขากรรไกรล่างโดย
นับจากฟันตัดเข้าไป ดังนั้น 2. 1. 2. 3
2. 1. 2. 3
จึงหมายถึง
ฟันตัด บน 2 ซี่ ล่าง 2 ซี่
ฟันเขี้ยว บน 1 ซี่ ล่าง 1 ซี่
ฟันกรามหน้า บน 2 ซี่ ล่าง 2 ซี่
ฟันกรามหลัง บน 3 ซี่ ล่าง 3 ซี่
- ในฟันแท้ที่มี 28 ซี่ มีสูตรดังนี้ 2. 1. 2. 2
2. 1. 2. 2
(ฟันกรามหลังลดจานวนลง)
- ในฟันน้านมมี 20 ซี่ มีสูตรดังนี้ 2. 1. 2. 0
2. 1. 2. 0
(ไม่มีฟันกรามหลัง)
65. ตอบ 4
ความแตกต่างระหว่างฟันนานมกับฟันแท้
66. ตอบ 2
ให้ B เป็นอัลลีลที่มีขนสีดา
b เป็นอัลลีลที่มีขนสีขาว
จากโจทย์ ขนดา (BB)  ขนขาว (bb)

ลูก F1 Bb (ขนดา)  bb

ลูก F2 Bb (ดา), bb (ขาว)
ถ้าลูกคอกนี้มี 40 ตัว เป็นสีดาครึ่งหนึ่ง คือ 20 ตัว
67. ตอบ 4 ผึ้ง ต่อ แตน มด ตัวผู้มีจานวนชุด
โครโมโซมในเซลล์ร่างกาย 1 ชุด (monoploid)
แต่ตัวเมียมี 2 ชุด (diploid)
68. ตอบ 3
เหตุผล จากความรู้ทางพันธุวิศวะกรรมทาให้เอนไซม์ที่
ตัดชิ้นส่วนของ DNA ข้อสอบข้อนี้ คือ เอนไซม์ EcoRI
ที่จะตัดบริเวณ –GA- จากปลาย 5’ (ดูในตารา สสวท.
หน้า 77 เล่ม 6 และ NEW BIO. ของ ดร.ยุพา ผลโภค
บทพันธุ-ศาสตร์โมเลกุล)
จากโจทย์ EcoRI จะตัดชิ้นส่วน DNA ดังรูปต่อไปนี้
จะได้ DNA สายคู่ 3 ท่อน
69. ตอบ ข้อ 4
ถ้า p แทนความถี่อัลลีล IA
= 0.3
q แทนความถี่อัลลีล IB
= 0.5
r แทนความถี่อัลลีล i = 0.2
จากสูตร p2
+ q2
+ r2
+2pq + 2pr + 2qr = 1
หมู่เลือด B เป็นฟีโนไทป์ที่กาหนดโดย IB
IB
(หรือ q2
) กับ IB
i (หรือ 2 qr)
ความถี่จีโนไทป์ของ q2
= 0.5  0.5 = 0.25
ความถี่จีโนไทป์ของ 2qr = 2  0.5  0.2 = 0.20
ฟีโนไทป์เลือดหมู่ B = ความถี่จีโนไทป์ IB
IB
+
ความถี่จีโนไทป์ IB
i
= 0.25 + 0.20
= 0.45 หรือ ร้อยละ 45
70. ตอบ 3
วิธีทา
ประชากรที่มีจีโนไทป์ aa = 49%
ความถี่ของประชากรที่มีจีโนไทป์ aa = q2
=49/100
ความถี่แอลลีล a = q =  49/100 = 7/10
ความถี่แอลลีล A = 1-7/10 = 3/10
ดังนั้นความถี่แอลลีล A ทั้ง 2 รูปแบบนี้จะนาไป
คานวณหาความถี่จีโนไทป์ Aa โดยใช้สูตร
ความแตกต่าง ฟันนานม ฟันแท้
1. ขนาด เล็ก ใหญ่
2. สี สีขาว สีน้าตาลอ่อน
3. คอฟัน คอดมาก คอดน้อย
4. รากฟันของ
ฟันกราม
ถ่างมาก ถ่างน้อย
เฉลย ชีวะ Ent48
p2
+2pq + q2
= 1 ดังนี้
ความถี่จีโนไทป์ Aa = 2pq = 2  3/10  7/10
= 0.42 หรือ 42%
ความถี่จีโนไทป์ AA = p2
= 3/10  3/10 = 9/100
ถ้าประชากรของสัตว์กลุ่มนี้มี 500 ตัว จะมีสัตว์ที่มี
จีโนไทป์ AA = 9/100  500 = 45 ตัว
71. ตอบ 1
คนถนัดมือขวามี 96% ดังนั้นคนถนัดมือซ้ายมี
100-96 = 4%
ความถี่ของจีโนไทป์ rr เท่ากับ 0.04
ความถี่ของแอลลีล r เท่ากับ 0.04 = 0.2
ความถี่ของแอลลีล R เท่ากับ 1 – 0.2 = 0.8
ประชากรที่มีจีโนไทป์ Rr เท่ากับ
2  0.2  0.8 = 0.32 หรือ 32%
ดังนั้นจานวนประชากรที่มีจีโนไทป์
Rr = 32/100  200,000 = 64,000 คน
คนถนัดมือขวาที่มีจีโนไทป์ RR = (0.8)2
= 0.64
หรือ 64%
ดังนั้น จานวนประชากรที่มีจีโนไทป์
RR = 64/100  200,000 = 128,000 คน
72. ตอบ 1
จากโจทย์: ลาตัวสีเทา (B-) ไม่มีขน (H-) 9.19%
ลาตัวสีเทา (B-) มีขน (hh) 9.31%
ลาตัวสีดา (bb) ไม่มีขน (H-) 41.31%
ลาตัวสีดา (bb) มีขน (hh) 39.69%
ให้ ความถี่ของอัลลีลลาตัวมีขน (h) = q1
ความถี่ของอัลลีลสีดา (b) = q2
ประชากรมีการเลือกแบบสุ่มตาม
ฮาร์ดีไวน์เบิร์ก เนื่องจากยีนทั้งสองอยู่กันคนละ
โครโมโซม จึงคิดแบบแยกยีนกัน ดังนี้ คือ
รวมแมลงหวี่สีดา = 41.31 + 39.69 = 81%
รวมแมลงหวี่มีขน = 9.31 + 39.69 = 49%
ความถี่จีโนไทป์สีดา (bb) = 81/100 = 0.81 = q2
1
ความถี่อัลลีล (b) = 0.9
ความถี่จีโนไทป์มีขน (hh)= 49/100 = 0.49 = q2
2
ความถี่อัลลีล (h) = 0.7
73. ตอบ 1
วิธีทา เนื่องจากหมู่เลือด Rh ถูกควบคุมด้วยยีนด้อย
เมื่อกาหนดให้
D แทนยีนเด่นที่ควบคุมลักษณะหมู่เลือด Rh+
d แทนยีนด้อยที่ควบคุมลักษณะหมู่เลือด Rh-
ถ้ามีประชากรที่มีหมู่เลือด Rh-
20% สัดส่วน
ของ d = 20% หรือ 20/100 = 0.2
ดังนั้นสัดส่วนของ D = 1 – 0.2 = 0.8
74. ตอบ 4
เหตุผล กาหนดให้ยีน b เป็นยีนตาบอดสี B เป็นยีนตา
ปกติ ผู้หญิงจะมีโอกาสเป็นตาบอดสีเมื่อ genotype ของ
พ่อเป็น Xh
Y และของแม่เป็น XB
Xb
เพราะยืนตาบอดสีเป็น
ยีนด้อยอยู่บนโครโมโซม X ไม่มีอยู่บนโครโมโซม Y
ดังนั้นถ้าพ่อมียีนตาบอดสีบนโครโมโซม X และแม่มียีน
ตาบอดสีบนโครโมโซม X ลูกผู้หญิงจะเป็นโรคตาบอดสี
คือมีโครโมโซม Xb
Xb
75. ตอบ 3 พืชรุ่น F1 มี genotype เป็น CcYy ซึ่งจะมีโอกาส
สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มี genotype ได้ 4 แบบ คือ
ดังนั้นพืชรุ่น F1 สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มียีน C หรือ c
และ Y หรือ y
76. ตอบ 4 ถ้าให้ F1 ผสมกันเอง ได้ F2
F2 ที่แสดงลักษณะฝักยาวสีเหลืองซีด จะมี
Genotype CCyy และ Ccyy
ในอัตราส่วน 1 : 2
77. ตอบ 4 สัตว์ที่มีนีมาโทซิสต์ได้แก่พวกเลนเทอเรต
สัตว์ที่มีหินปูนเป็นส่วนประกอบของลาตัวที่แข็ง
ได้แก่ พวกฟองน้า สัตว์พวกมอลลัสก์ เช่น
หอยต่าง ๆ ลาตัวจะไม่แบ่งเป็นปล้อง
ความถี่จีโนไทป์โฮโมไซกัส = กาลังสองของความถี่อัลลีล
6
ดังนั้นข้อ 1 2 และ 3 จึงผิด ส่วนสัตว์พวก
เอไคโนเดิร์ม เช่น เหรียญ ทะเล ลาตัวจะแข็ง มี
ลักษณะกลม ๆ จึงไม่สามารถ
บอกความแตกต่างของส่วนหัวและส่วนท้ายได้
78. ตอบ 2 heterotrophic organism เป็นสิ่งมีชีวิตที่
ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ต้องดารงชีพโดย
การกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร ได้แก่ พวก
ผู้บริโภคและผู้ย่อยสลาย
79. ตอบ 4 สัตว์ที่มีลักษณะลาตัวเป็นปล้องที่แท้จริง
พบได้ในไฟลัมแอนนีลิดา ได้แก่ พวกไส้เดือนดิน
ส่วนสัตว์ในไฟลัมแพลทีเฮลมินเทสพวกพยาธิตัวตืด
ก็มีลักษณะเป็นปล้อง แต่ไม่จัดเป็นปล้องที่แท้จริง
80. ตอบ 3 การถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในโซ่
อาหารจะถ่ายทอดไปทิศทางเดียวจากผู้ผลิตไปยัง
ผู้บริโภคอันดับต่าง ๆ จนกระทั่งถึงผู้ย่อยสลายเป็น
อันดับสุดท้าย พลังงานที่มีการถ่ายทอดจะลดลงไป
เรื่อย ๆ จนถึงผู้ย่อยสลายจะได้รับพลังงานน้อย
ที่สุด การถ่ายทอดพลังงานจึงไม่มีการหมุนเวียน
เป็นวัฏจักร
81. ตอบ 2 เมมเบรนซึ่งมีคุณสมบัติในการเลือกผ่าน
(differentially permeable membrane) ในพืช
เกิดขึ้นในเซลล์ที่มีชีวิต ถ้าเซลล์นั้นถูกทาลาย
เพราะได้รับอุณหภูมิสูงเกินไปหรือเมื่อได้รับสารพิษ
บางอย่างทาให้กระบวนการเมตะโบลิซึมถูกยับยั้ง
พบว่าเมมเบรนจะสูญเสียคุณสมบัติการเลือกผ่าน
ทาให้ตัวละลายหลายชนิดสามารถไหลเข้าภายใน
เซลล์และรั่วออกนอกเซลล์ได้
ในเซลล์ที่มีชีวิต โมเลกุลของน้าและก๊าซต่าง
ๆ ที่ละลายได้ในน้า ได้แก่ ออกซิเจน คาร์บอนได
ออกไซด์ และไนโตรเจน สามารถแพร่ผ่านเมมเบรน
ได้โดยสะดวกอย่างรวดเร็ว
โมเลกุลของสารที่ชอบน้าและไม่แตกตัวในน้า
โดยทั่ว ๆ ไป ถ้าโมเลกุลของตัวละลายมีขนาดเล็ก
อัตราการแพร่ผ่านเมมเบรนจะเกิดขึ้นรวดเร็วกว่า
โมเลกุลของตัวละลายที่มีขนาดใหญ่ ส่วนตัวละลาย
ที่ไม่ชอบน้า อัตราการแพร่ผ่านเมมเบรนจะ
สัมพันธ์ โดยตรงกับความสามารถของสารนั้นที่จะ
ละลายได้ใน ลิปิด สารที่ละลายได้ในลิปิดจะแพร่
ผ่านเมมเบรนได้รวดเร็วกว่าสารที่ไม่ละลายในลิปิด
สาหรับตัวละลายที่สามารถแตกตัวได้หรือมี
ประจุเมื่ออยู่ในน้าจะลดความสามารถที่จะละลายใน
ลิปิดมีผลทาให้ลดอัตราการแพร่ผ่านเมมเบรนด้วย
จานวนประจุของไอออนมีผลต่อการแพร่ผ่าน
เมมเบรน ตัวอย่างเช่นไอออนของเหล็ก (Fe+++
)
ซึ่งมี 3 ประจุจะแพร่ผ่านเมมเบรนได้ช้ากว่า
แมกนีเซียมไอออน (Mg++
) ซึ่งมี 2 ประจุ ส่วน
แคลเซียมไอออน (Ca++
) หรือแมกนีเซียมไอออน
(Mg++
) จะแพร่ผ่านเมมเบรนได้ช้ากว่าโพแทสเซียม
ไอออน (K+
) หรือโซเดียมไออน (Na+
) ซึ่งมีประจุ
เดียว
82. ตอบ 1
83. ตอบ 3
สารพันธุกรรม ได้แก่ DNA และ RNA ซึ่งมี base
ต่างกันไป สารพันธุกรรมจะต้องมี self duplication
ไม่เกิด mutation ง่ายและสามารถ translate ได้
84. ตอบ 2 ดอกบานเย็นที่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโร
ไซกัส (Rr) แสดงฟีโนไทป์ผสมระหว่างสีแดงกับสี
ขาว แต่ค่อนไปทางสีแดงได้เป็นสีชมพู แสดงว่า
ยีนเด่นที่นาลักษณะดอกสีแดงข่มยีนด้อยที่นา
ลักษณะดอกสีขาวได้ ไม่สมบูรณ์
85. ตอบ 2 ในบุหรี่มีสารนิโคตินซึ่งมีสมบัติกระตุ้นการ
หลั่งฮอร์โมน ADH มีผลเพิ่มการดูดน้ากลับที่
บริเวณท่อหน่วยไต ทาให้ปริมาณของน้าปัสสาวะ
ลดน้อยลง จึงปัสสาวะไม่บ่อย
ชนิด neuron สมอง ไขสันหลัง ปมประสาท
association neuron
- ตัวเซลล์  
- ใยประสาท  
sensory neuron
- ตัวเซลล์  
- ใยประสาทเป็นมัด
motor neuron
- ตัวเซลล์  
- ใยประสาทเป็นมัด
เฉลย ชีวะ Ent48
86. ตอบ 1 purines ประกอบด้วย adenine และ
guanine pyrimidines ประกอบด้วยวงแหวน 2 วง
ได้แก่ ไซโทซิน, ไธมีน
87. ตอบ 3 แคมเบียมของพืชใบเลี้ยงคู่ที่อยู่ระหว่าง
ท่อลาเลียงน้าและอาหารจะแบ่งตัวออกสู่ภายนอก
เป็นเนื้อเยื่อ secondary phloem และเจริญเข้าสู่
ภายในคือ secondary xylem
88. ตอบ 3 passage cell เกิดจาก endodermis ที่มี
ลักษณะแตกต่าง คือไม่มี casparian strip คาดรอบ
เซลล์จึงลาเลียงน้าได้ ถ้ามี casparian strip เซลล์
จะมีอุปสรรคในการลาเลียงน้าและเกลือแร่
89. ตอบ 2 vein
90. ตอบ 3 ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์สามารถจะศึกษา
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและจาแนกหมวดหมู่ได้
โดยพิจารณาออร์แกเนลล์ และสารเคมีภายในเซลล์
เช่น การเรียงตัวของกรดอะมิโนโปรตีน และชนิด
ของเอนไซม์โดยถือว่าสิ่งมีชีวิตที่มีความใกล้ชิดกัน
ทางพันธุกรรมมากเท่าใดก็ย่อมมีออร์แกเนลล์ของ
เซลล์และสารเคมีที่คล้ายคลึงกันมากเท่านั้น ลาดับ
ของการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตมีหลักสาคัญใน
ขั้นตอนที่เรียงลาดับดังต่อไปนี้
อาณาจักร (Kingdom)
ไฟลัม (Phylum) ในกรณีที่เป็นสัตว์ และ
ดิวิชั่น (Division) ในกรณีที่เป็นพืช
คลาส (Class)
ออร์เดอร์ หรืออันดับ (Order)
แฟมมิลี่ หรือครอบครัว (Family)
จีนัส หรือสกุล (Genus)
สปีชีส์ (Species)
สาหรับขั้นตอนที่ต่าที่สุด คือ Species
หมายถึงชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีสภาพทาง
ชีววิทยา แตกต่างจากชนิดอื่น แต่เหมือนกันใน
ชนิดเดียวกัน และสามารถผสมพันธุ์กันได้ แล้วให้
ลูกหลานต่อเนื่องเป็นการสืบทอด เผ่าพันธุ์
91. ตอบ 2 โมเลกุลของ DNA ประกอบด้วยโมเลกุล
ย่อย ๆ 3 ชนิด คือ
1. น้าตาล เป็นน้าตาลที่ประกอบด้วยคาร์บอน 5
ตัว มีชื่อเรียกว่าดีออกซีไรโบส (deoxyribose)
มีสูตรโมเลกุล ดังรูป
รูปแสดงสูตรโครงสร้างของดีออกซีไรโบส
2. หมู่ฟอสเฟต ( ) จะเชื่อมติดกับ
น้าตาล แต่ละตัวที่คาร์บอนตาแหน่ง 3
และ 5
3. nitrogenous base เป็นเบสที่มีไนโตรเจน
ประกอบอยู่ด้วย แบ่งออกเป็น 2 พวก
ตามจานวนวงของคาร์บอน-ไฮโดรเจน
ซึ่งจะมี 1 วง หรือ 2 วง ได้แก่
(ก) ไพริมิดีน (pyrimidine) เป็นเบสที่
ประกอบด้วยวงของคาร์บอน-ไฮโดรเจน 1 วง
ได้แก่ ไธมีน(thymine) และไซโตซีน
(cytosine)
(ข) พิวรีน (purine) เป็นเบสที่ประกอบด้วยวง
ของคาร์บอนไฮโดรเจน 2 วง ได้แก่ อะดีนีน
(adenine) และกวานีน (guanine)
ในโมเลกุลของ DNA พิวรีนจะเชื่อมต่อกับ
ไพริมิดีน โดยที่อะดีนีนจะจับคู่กับไธมีนด้วย 2
บอนด์ ไฮโดรเจน (hydrogen bond : A = T)
และกวานีนจะจับคู่กับไซโตซีนด้วย 3 บอนด์
ไฮโดรเจน (G  C) เสมอ
ในการแบ่งชนิดของเบส นอกจากดูว่าเป็น
1 วง หรือ 2 วงแล้ว ยังสามารถดูชนิดของ
หมู่
อะตอมที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 6 ได้อีก คือ
ถ้าเป็นไซโตซีนกับ อะดีนีนจะมีหมู่อะมิโน
(amino group : NH2) ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 6
-3PO4
8
ส่วนไธมีนและกวานีนจะมีหมู่คีโต
(keto group ; - C = O) ที่ตาแหน่งเดียวกัน
ดังนั้นจึงมีเบสเป็น 2 พวก คือ 6-อะมิโน และ
6-คีโต (6-amino & 6-keto)
92. ตอบ 4 โรคประสาทไม่ใช่โรคทางพันธุกรรม
93. ตอบ 1 ระบบประสาท เจริญมาจากเอคโตเดิร์ม
(ectoderm) และเป็นระบบที่เจริญและพัฒนา
เปลี่ยนแปลงก่อนระบบอื่น นอกจากนี้ยังมีผิวหนัง
(dermis), เลนส์ตา (lens) สิ่งปกคลุมร่างกาย (skin)
เจริญมาจาก ectoderm ด้วย
94. ตอบ 2 ก๊าซเอทีลีนกระตุ้นการสุกของผลไม้ พืช
จะปล่อยออกมามากขณะที่ผลไม้ใกล้สุกทาให้
ผลไม้ที่ยังดิบได้รับก๊าซเอทีลีนด้วยจึงสุกเร็วขึ้น
95. ตอบ 1 เซลล์คอลลาร์หรือเซลล์ปลอกคอใน
ฟองน้าจะมีหนวด (flagella) ทาหน้าที่คอยโบกพัด
หรือจับอาหารกิน
96. ตอบ 3 ความสัมพันธ์แบบที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์
แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ มี 2 แบบ ได้แก่
ภาวะปรสิต โดยสิ่งมีชีวิตที่เป็นปรสิตเข้าไปอาศัย
สิ่งมีชีวิตอื่นได้ประโยชน์ แต่ฝ่ายที่ถูกอาศัยเสีย
ประโยชน์ และภาวะการล่าเหยื่อ โดยสิ่งมีชีวิตเป็นผู้
ล่าได้ประโยชน์ ส่วนผู้ถูกล่าคือเหยื่อเป็นฝ่ายเสีย
ประโยชน์
97. ตอบ 3 พยาธิตัวตืดหมู ตัวอ่อนจะอาศัยอยู่ในเนื้อ
หมูในลักษณะเม็ดสาคู เมื่อคนกินเนื้อหมูที่มีเม็ด
สาคูและไม่สุกเข้าไป ตัวอ่อนพยาธิตัวตืดจะมีตะขอ
เกี่ยวผนังลาไส้อาศัยดูดกินอาหารจากลาไส้เล็กและ
เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยต่อไป ดังนั้นคนจะได้รับ
พยาธิตัวตืดโดยการกินเนื้อสัตว์สุก ๆ
ดิบ ๆ ที่มีตัวอ่อนของพยาธิเข้าไป
98. ตอบ 3 ตั๊กแตนและไส้เดือนดินซึ่งอาศัยอยู่ในนา
ข้าวที่เดียวกันมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะเป็น
กลาง โดยสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน ต่างฝ่ายต่างก็ไม่มี
อิทธิพลต่อกัน หรือต่างคนต่างอยู่ ไม่ได้ประโยชน์
หรือเสียประโยชน์ต่อกัน
99. ตอบ 3 ฮอร์โมนออกซิโทซินจะกระตุ้นการบีบตัว
ของมดลูกทาให้เกิดการคลอด ถ้าถึงกาหนดคลอด
แล้วแต่ฮอร์โมนออกซิโทซินหลั่งออกมาน้อยจะทา
ให้ไม่สามารถคลอดบุตรได้ ต้องฉีดฮอร์โมนออกซิ
โทซินกระตุ้น เพื่อให้เกิดการคลอด
100.ตอบ 2 ต่อมไร้ท่อที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อชั้นกลาง
ได้แก่ ต่อมหมวกไตชั้นนอก และต่อมเพศจะสร้าง
ฮอร์โมนประเภทสเตรอยด์

More Related Content

What's hot

เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
ติ๊บ' นะ
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
Phattarawan Wai
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wann Rattiya
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
Bios Logos
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 

What's hot (20)

เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
Pat2 พ.ย. 57
Pat2 พ.ย. 57Pat2 พ.ย. 57
Pat2 พ.ย. 57
 
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
Pat1 มี.ค. 60
Pat1 มี.ค. 60Pat1 มี.ค. 60
Pat1 มี.ค. 60
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
Pat2 กรกฎาคม 2552
Pat2 กรกฎาคม 2552Pat2 กรกฎาคม 2552
Pat2 กรกฎาคม 2552
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 

Viewers also liked

เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
Unity' Aing
 
วิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยาวิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยา
Unity' Toey
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48
Unity' Aing
 
Novartis-HEOR-Fellowship-Brochure-2016-2018
Novartis-HEOR-Fellowship-Brochure-2016-2018Novartis-HEOR-Fellowship-Brochure-2016-2018
Novartis-HEOR-Fellowship-Brochure-2016-2018
estanle
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
krupornpana55
 
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
IRainy Cx'cx
 

Viewers also liked (20)

03 english
03 english03 english
03 english
 
03 english เฉลย
03 english เฉลย03 english เฉลย
03 english เฉลย
 
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
 
ภาษาไทย 2013
ภาษาไทย 2013ภาษาไทย 2013
ภาษาไทย 2013
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
วิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยาวิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยา
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48
 
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
Novartis-HEOR-Fellowship-Brochure-2016-2018
Novartis-HEOR-Fellowship-Brochure-2016-2018Novartis-HEOR-Fellowship-Brochure-2016-2018
Novartis-HEOR-Fellowship-Brochure-2016-2018
 
Onet51
Onet51Onet51
Onet51
 
Onet50
Onet50Onet50
Onet50
 
Math
MathMath
Math
 
Thai50
Thai50Thai50
Thai50
 
Onet53
Onet53Onet53
Onet53
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Onet52
Onet52Onet52
Onet52
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
 
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
 
Math เฉลย
Math เฉลยMath เฉลย
Math เฉลย
 

Similar to เฉลย ชีวะ Ent48

เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
konfunglum
 
ข อสอบว ชาช_วว_ทยา
ข อสอบว ชาช_วว_ทยาข อสอบว ชาช_วว_ทยา
ข อสอบว ชาช_วว_ทยา
Porna Saow
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
savong0
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
nookkiss123
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
maechai17
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
noeiinoii
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
Sp Play'now
 

Similar to เฉลย ชีวะ Ent48 (20)

ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไตชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
ข อสอบว ชาช_วว_ทยา
ข อสอบว ชาช_วว_ทยาข อสอบว ชาช_วว_ทยา
ข อสอบว ชาช_วว_ทยา
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
4
44
4
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมน
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
 
1
11
1
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียลชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
 

More from Unity' Aing

โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
Unity' Aing
 
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
Unity' Aing
 
สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48
Unity' Aing
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
Unity' Aing
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
Unity' Aing
 
เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48
Unity' Aing
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
Unity' Aing
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48
Unity' Aing
 
ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48
Unity' Aing
 

More from Unity' Aing (14)

โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
 
Onet53
Onet53Onet53
Onet53
 
Onet52
Onet52Onet52
Onet52
 
Onet51
Onet51Onet51
Onet51
 
Onet50
Onet50Onet50
Onet50
 
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
 
สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48
 
002 eng
002 eng002 eng
002 eng
 
ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48
 

เฉลย ชีวะ Ent48

  • 1. เฉลย ชีวะ Ent48 1. ตอบ 1 ทั้งซิเลียและแพลกเจลลัมมีโครงสร้างแบบ A ในเซลล์ที่เป็นยูคารีโอต 2. ตอบ 2 โครงสร้างระดับโมเลกุลเป็นสารโปรตีนที่มี ชื่อว่าทิวบูลิน 3. ตอบ 4 เทรเดียมีซีเลียที่พัดโบกเอาสิ่งแปลกปลอม ทิ้งไป แต่ปีกมดลูกจะมีซิเลียเพื่อโบกไข่ ให้รับการ ผสมกับอสุจิที่ปีกมดลูก 4. ตอบ 1 สารโคชิซินจะทาให้ไมโครทิวบูลหักเป็น ท่อน 5. ตอบ 4 พืชต้องการออกซิเจนในอัตราที่ต่ากว่าสัตว์ พืชไม่มีอวัยวะที่เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนก๊าซ โดยเฉพาะ การแลกเปลี่ยนก๊าซจะเกิดที่ 1. ใบ ก๊าซจะผ่านเข้าออกทางปากใบ และ การแลกเปลี่ยนก๊าซในชั้นมีโซฟิลล์ของใบ บริเวณสปันจีเซลล์ ซึ่งมีช่องว่างระหว่างเซลล์และมี ความชื้นสูง เกือบ 100 จึงทาให้มีประสิทธิภาพใน การแลกเปลี่ยนก๊าซ 2. ลาต้นและราก บริเวณผิวลาต้นพืชบาง ชนิดมีเลนทิเซลล์เป็นรูที่อากาศผ่านเข้าออกได้ ส่วนบริเวณรากของพืชจะมีการแลกเปลี่ยนก๊าซ ระหว่างขนและเซลล์ที่ผิวของราก 6. ตอบ 1 พืชหลังการเก็บเกี่ยวมีการหายใจตลอด จนกว่าเซลล์จะตาย O2 จะถูกนาไปใช้สลาย โมเลกุลของสารอาหาร แล้วปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์และ พลังงานความร้อนมา ดังนั้นถ้าพืชหลังการเก็บเกี่ยวมีอัตราการหายใจสูง จะมีอายุหลังการเก็บเกี่ยวสั้นจะเหี่ยวเฉาเร็ว ปัจจัย ที่มีผลต่ออัตราการหายใจของพืชหลังการเก็บเกี่ยว ได้แก่ อุณหภูมิ สารเคมี กระตุ้นการเจริญเติบโต ขนาดของพืช เป็นต้น 7. ตอบ 2 X คือ bundle sheath ที่หุ้มรอบท่อ ลาเลียงน้าและอาหาร 8. ตอบ 3 พืชกลุ่ม C4 เป็นพืชที่มีบันเดิลชีทเซลล์ (bundle sheath cell) หุ้มห่อท่อลาเลียงน้าและ อาหาร พืช ได้แก่ อ้อย, ข้าวโพด มักเติบโตในที่ มี CO2 น้อย พืชพวกนี้จะมีการตรึง CO2 สองครั้ง คือ ครั้งแรก : มีการตรึงที่เนื้อเยื่อมีโซฟิลล์ ดังรูป โดยมี สาร C3 คือ สาร phosphoenolpyruvateมารับ CO2 เป็น C4 (oxaloacetic acid) ซึ่งถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ แรกของพืช (พืชพวกนี้จึงถูกเรียกว่าพืช C4 ) สาร ที่มี C4 อะตอม นี้จะเคลื่อนเข้าสู่บันเดิลชีทเซลล์ แล้วมีการปล่อย CO2 ในบันเดิลชีท การสังเคราะห์ แสงที่ เกิดขึ้นในบันเดิลชีทเซลล์นี้ จะเป็น Calvin cycle เหมือนกับพืชบกอื่น ๆ การตรึง CO2 ใน บันเดิลชีท จึงถือเป็นการตรึง CO2 เป็นครั้งที่สอง 9. ตอบ 4 ท่อโฟลเอม ประกอบด้วย ก. โฟลเอมไฟเบอร์ ให้ความแข็งแรง ข. โฟลเอมพาเรนไคมา หน้าที่สะสมอาหาร ค. ซิพทิวป์ ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร ง. คอมพาเนียนเซลล์ ทาหน้าที่ให้อาหารและ พลังงานแก่ซีพทิวป์ 10. ตอบ 4 ท่อไซเลม จะประกอบด้วย ก. ไซเลมไฟเบอร์ ให้ความแข็งแรงแก่ท่อไซเลม ข. ไซเลมพาเรนไคมา สะสมอาหารเป็นเนื้อเยื่อ พื้นและเกี่ยวกับการลาเลียงน้าตามแนวขวาง ค. เทรคีด ทาหน้าที่ลาเลียงน้าตามแนวยืน ง. เวสเซล ทาหน้าที่ลาเลียงน้าในแนวยืน 11. ตอบ 1 ฮอร์โมนชนิดนี้คือ -ecdysone มีในแมลง เกี่ยวกับการลอกคราบ 12. ตอบ 4 โครงสร้างของฮอร์โมนดังกล่าว เป็นสารไม่กลัว น้า เป็นพวกไขมัน 13. ตอบ 1 ฮอร์โมนไขมันออกฤทธิ์ในไซโทพลาซึม ไม่ใช่เยื่อหุ้มเซลล์ 14. ตอบ 4 ได้แก่ ฮอร์โมนเพศ และจากต่อมหมวกไตส่วน เปลือก 15. ตอบ 4 chorion เจริญมาจาก mesoderm เมื่อตัวอ่อน มีอายุ 8 สัปดาห์ เป็นถุงหุ้มรอบตัวอ่อนด้านนอกของถุง น้าคร่า (amnion) 16. ตอบ 3 ถุงไข่แดง (yolk sac) ทาหน้าที่สร้างเม็ดเลือด เมื่อตัวอ่อนมีอายุระหว่าง 8 วัน – 20 สัปดาห์
  • 2. 2 17. ตอบ 2 น้าในถุงน้าคร่า (amniotic fluid) มีสารโปรตีน ไขมัน และฮอร์โมน ช่วยควบคุมอุณหภูมิของตัวอ่อนให้ คงที่ 18. ตอบ 2 รก (placenta) มีรูปร่างครึ่งวงกลม มี 2 ส่วน คือ ส่วนหนึ่งเป็น endometrium ของแม่ อีกส่วนเป็น เนื้อเยื่อของลูก 19. ตอบ 1 ประกอบด้วย umbilical artery 1 คู่, umbilical vein 1 เส้น และ mucoid connective tissue 20. ตอบ 4 กระต่ายเป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร (Herbivore) หรือ primary consumer 21. ตอบ 1 น้ามันที่มีไขมันชนิดไขมันไม่อิ่มตัวมาก ได้แก่ น้ามันถั่วเหลือง น้ามันข้าวโพด ราข้าว ดอก คาฝอย และดอกทานตะวัน 22. ตอบ 1 Barr - body เป็นโครงสร้างที่ใช้ตรวจเพศหญิง ในหญิงปกติจะมี barr-body เป็นจุดดาเพียงจุดเดียว 23. ตอบ 2 Garlic หรือกระเทียม ผลในการลดระดับ ไขมันในเลือดไม่แน่นอน จากการวิเคราะห์โดยวิธี meta-analysis พบว่าการศึกษาเกี่ยวกับกระเทียมส่วน ใหญ่มักเป็นการศึกษาระยะสั้น มีประชากรที่ศึกษาไม่ มากนัก และไม่มีการควบคุมอาหารอย่างเคร่งครัด และมีผลลด ระดับ cholesterol ลงเพียงเล็กน้อยระยะแรก และไม่ ได้ผลเกิน 6 เดือน Soy protein หรือ โปรตีนจากถั่วเหลือง มี isoflavones ซึ่งเป็น phytoestrogen จากการวิเคราะห์ โดยวิธี meta-analysis จานวน 38 ตัวอย่างพบว่าการ บริโภคโปรตีนจากถั่วเหลือง ทดแทน โปรตีนจากสัตว์ โดยเฉลี่ยวันละ 47 กรัม ลดระดับ serum cholesterol LDL และ triglyceride ลงร้อยละ 9.3, 12.9 และ 10.5 ตามลาดับ และเพิ่ม HDL ขึ้นร้อยละ 2.4 Fish oil เป็น ยาที่ได้ผลดีในการลดระดับ triglyceride 24. ตอบ 2 อาหารที่มีไขมันชนิดอิ่มตัวสูงได้แก่ ไขมันจาก สัตว์ทุกชนิด ไข่แดง เครื่องในสัตว์ หนังสัตว์ทุกชนิด เนย ครีม ไอศกรีม ช็อคโกแลต หอยนางรม ปลาหมึก ผลิตภัณฑ์ที่ทาจากไข่แดง นม เนย และ ครีม เช่น ขนมเค้ก ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง สังขยา ขนมใส่เนย เป็นต้น น้ามันพืชที่มีไขมันชนิด อิ่มตัวมาก ได้แก่ ไขมันจากสัตว์น้ามันปาล์ม น้ามันมะพร้าว 25. ตอบ 1 พรุน  บลูเบอรี  สตรอเบอรี  กีวี  ข้าวโพด ในผลไม้ที่มีสีม่วงอมน้าเงินนั้นจะมีสาร ANTHOCYANIN ซึ่งเป็นสาร FLAVONOID ที่มีสีน้าเงิน มีฤทธิ์เป็นสาร ANTIOXIDANT สารนี้จะทาลายอนุมูล อิสระ (FREE RADICAL) ที่จะทาลายเนื้อเยื่อทาให้แก่ ได้ 26. ตอบ 1 เกิดการกลายพันธุ์ 27. ตอบ 3 เป็นเชื้อไวรัสที่ก่อโดยการสัมผัสโดยตรง 28. ตอบ 4 โครงสร้างโปรตีนแคปซิคของไวรัสแตกสลาย ง่ายเมื่อถูกความร้อนและกรด 29. ตอบ 2 เป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ใน Phylum Echinodermata 30. ตอบ 1 อยู่ในทะเลทั้งหมด 31. ตอบ 4 มีการงอกใหม่แทนส่วนขาด 32. ตอบ 2 ในรูปคือ Hydra อยู่ในพวกที่มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น 33. ตอบ 2 DNA มีส่วนย่อยเป็น nucleotide 34. ตอบ 3 natural selection เป็นการคัดเลือกพันธุ์ตาม ธรรมชาติ 35. ตอบ 1 ให้ลักษณะสีดาควบคุมด้วย allele B ลักษณะสีขาวควบคุมด้วย allele b Bb  Bb 1 BB, 1 Bb, 1 bb 4 2 4 สีดาพันธุ์แท้มีโอกาส = 1 4 36. ตอบ 3 พืชใบเลี้ยงคู่จะมีท่อลาเลียงน้าและอาหารอยู่ เป็นกลุ่ม ถ้าอยู่ที่เส้นกลางใบ มัดท่อน้าและอาหารจะ ใหญ่ 37. ตอบ 3 ความถี่ของฟีโนไทป์เอจะต้องได้จากความถี่ ของ IA i + IA IA ความถี่ของฟีโนไทป์ของเลือดโอ = 0.67  0.67 = 0.4489 38. ตอบ 3 ต่างกันที่คลอโรฟิลล์เป็น Mg แต่ฮีโมโกลบิน เป็น Fe
  • 3. เฉลย ชีวะ Ent48 39. ตอบ 1 อุจจาระร่วงมีสาเหตุจากเชื้อทั้ง 3 ชนิดได้ แต่ลักษณะอาการของอุจจาระร่วงจะแตกต่างกัน 40. ตอบ 4 amniotic fluid คือ น้าคร่า 41. ตอบ 1 guard cell จึงสังเคราะห์แสงได้ 42. ตอบ 1 ทาให้ฮีโมโกลบินผิดปกติ เนื่องจากกรดอะมิโน ที่มาเรียงต่อกันผิดปกติ 43. ตอบ 3 พืช C4 ทนความร้อนและทนความแล้งได้ดี 44. ตอบ 4 ไมโทคอนเดรีย พบในยูคารีโอต 45. ตอบ 1 ไวรัสเข้าสู่เซลล์ด้วยขบวนการ endocytosis ที่ใช้พลังงาน 46. ตอบ 2 S-ER เป็นโครงสร้างที่มีเอนไซม์ในการกาจัด สารพิษ 47. ตอบ 4 ความผิดปกติของโครโมโซมอีกแบบหนึ่ง เรียกว่า กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ (Turner’s syndrome) ผู้ป่วยเป็นเพศหญิง มีลักษณะตัวเตี้ย กระดูกอกกว้าง แบน หัวนมห่าง ที่บริเวณคอเป็นพังผืดกางเป็นปีก ไม่มีประจาเดือน เป็นหมันและอาจมีปัญญาอ่อน ผู้ป่วย ในกลุ่มนี้มีจานวนโครโมโซม 45 โครโมโซม เนื่องจากมี โครโมโซมเพศ คือ โครโมโซม X เพียงโครโมโซมเดียว พบในหญิง 1 ต่อ 2,500 คน 48. ตอบ 4 เมื่อมีการย่อยโปรตีนเกิดขึ้น ควรพบ Peptide ที่กระเพาะอาหารและลาไส้เล็ก เพราะในกระเพาะ อาหารและในลาไส้เล็กมีน้าย่อยสาหรับย่อยโปรตีน 49. ตอบ 4 โครงสร้างภายในเซลล์ประสาท ได้แก่ - Nissle substance - ไมโทคอนเดรีย - Golgi body - Microtubule และ Microfilament 50. ตอบ 1 เพราะเซลล์เม็ดเลือดแดงไม่มีการแบ่งเซลล์ 51. ตอบ 2 พยาธิใบไม้ตับ เป็นสัตว์ที่มีระบบทางเดิน อาหารไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestive tract) 52. ตอบ 1 การแตกกิ่งของลาต้นแตกจากชั้น Cortex ส่วนการแตกแขนงของรากแตกจาก ชั้น Pericycle 53. ตอบ 1 CO2 ถูกตรึงครั้งแรกที่ Mesophyll ได้ สารอินทรีย์ C4 และเมื่อเกิด CO2 จะได้สาร C3 (Pyruvate) เข้าสู่ Kreb’s cycle ส่วน CO2 จะถูกตรึงใน Bundle sheath ต่อไป 54. ตอบ 3 หน้าที่ของ Interneuron เป็น ตัวกลาง ของการรับ-ส่งผ่านสัญญาณประสาท 55. ตอบ 2 ATP และ NADPH. H+ เป็นสารที่ถูกสร้างขึ้น ใน Light reaction ของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และนาไปใช้ต่อในกระบวนการตรึง CO2 ในวัฏจักรคัล วิน 56. ตอบ 3 ระยะ Metaphase โครโมโซมเห็นเด่นชัดและ เรียงตรงกลางเซลล์ 57. ตอบ 4 เอนไซม์ Enterokinase ที่หลั่งออกมาจากต่อม ในลาไส้เล็ก มีหน้าที่ไปกระตุ้น Trypsinogen ให้ เปลี่ยนเป็น Trypsin 58. ตอบ 4 ระยะ Anaphase ของการแบ่งเซลล์แบบ Mitosis จะมีโครโมโซมเป็น 4n 59. ตอบ 2 3 -T-G-C-A-C-G-G- 5 (ในโมเลกุลของ DNA เบส A คู่กับ T , C คู่กับ G) 60. ตอบ 3 Megaspore มีจานวนโครโมโซมลดลง ครึ่งหนึ่งจากเซลล์เดิม เนื่องจากเป็นเซลล์ที่ได้จากการ แบ่งแบบ Meiosis หลังจากนั้น Megaspore จะแบ่ง แบบ Mitosis 3 ครั้ง ได้ 8 นิวเคลียสแต่ละนิวเคลียสมี 12 โครโมโซม 61. ตอบ 1 C A U (A คู่กับ U , C คู่กับ G) 62. ตอบ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมของ ไมโทคอนเดรีย จะเป็นการสั่งการจาก Ovum ของแม่ 63. ตอบ 2 ในรูปเป็น โพรคารีโอต คือ แบคทีเรีย เพราะไม่ มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส 64. ตอบ 4 ฟันชนิดต่าง ๆ และจานวนต่าง ๆ เหล่านี้เขียนเป็นสูตรสั้น ๆ ได้ว่า I. C. P. M. ใช้เขียนจานวนฟันครึ่งปากเท่านั้น I. C. P. M. -ในฟันแท้ที่มี 32 ซี่ มีสูตรดังนี้ 2. 1. 2. 3
  • 4. 4 2. 1. 2. 3 แถวบนแสดงชนิดของฟันครึ่งขากรรไกรบน แถวล่างแสดงชนิดฟันของครึ่งขากรรไกรล่างโดย นับจากฟันตัดเข้าไป ดังนั้น 2. 1. 2. 3 2. 1. 2. 3 จึงหมายถึง ฟันตัด บน 2 ซี่ ล่าง 2 ซี่ ฟันเขี้ยว บน 1 ซี่ ล่าง 1 ซี่ ฟันกรามหน้า บน 2 ซี่ ล่าง 2 ซี่ ฟันกรามหลัง บน 3 ซี่ ล่าง 3 ซี่ - ในฟันแท้ที่มี 28 ซี่ มีสูตรดังนี้ 2. 1. 2. 2 2. 1. 2. 2 (ฟันกรามหลังลดจานวนลง) - ในฟันน้านมมี 20 ซี่ มีสูตรดังนี้ 2. 1. 2. 0 2. 1. 2. 0 (ไม่มีฟันกรามหลัง) 65. ตอบ 4 ความแตกต่างระหว่างฟันนานมกับฟันแท้ 66. ตอบ 2 ให้ B เป็นอัลลีลที่มีขนสีดา b เป็นอัลลีลที่มีขนสีขาว จากโจทย์ ขนดา (BB)  ขนขาว (bb)  ลูก F1 Bb (ขนดา)  bb  ลูก F2 Bb (ดา), bb (ขาว) ถ้าลูกคอกนี้มี 40 ตัว เป็นสีดาครึ่งหนึ่ง คือ 20 ตัว 67. ตอบ 4 ผึ้ง ต่อ แตน มด ตัวผู้มีจานวนชุด โครโมโซมในเซลล์ร่างกาย 1 ชุด (monoploid) แต่ตัวเมียมี 2 ชุด (diploid) 68. ตอบ 3 เหตุผล จากความรู้ทางพันธุวิศวะกรรมทาให้เอนไซม์ที่ ตัดชิ้นส่วนของ DNA ข้อสอบข้อนี้ คือ เอนไซม์ EcoRI ที่จะตัดบริเวณ –GA- จากปลาย 5’ (ดูในตารา สสวท. หน้า 77 เล่ม 6 และ NEW BIO. ของ ดร.ยุพา ผลโภค บทพันธุ-ศาสตร์โมเลกุล) จากโจทย์ EcoRI จะตัดชิ้นส่วน DNA ดังรูปต่อไปนี้ จะได้ DNA สายคู่ 3 ท่อน 69. ตอบ ข้อ 4 ถ้า p แทนความถี่อัลลีล IA = 0.3 q แทนความถี่อัลลีล IB = 0.5 r แทนความถี่อัลลีล i = 0.2 จากสูตร p2 + q2 + r2 +2pq + 2pr + 2qr = 1 หมู่เลือด B เป็นฟีโนไทป์ที่กาหนดโดย IB IB (หรือ q2 ) กับ IB i (หรือ 2 qr) ความถี่จีโนไทป์ของ q2 = 0.5  0.5 = 0.25 ความถี่จีโนไทป์ของ 2qr = 2  0.5  0.2 = 0.20 ฟีโนไทป์เลือดหมู่ B = ความถี่จีโนไทป์ IB IB + ความถี่จีโนไทป์ IB i = 0.25 + 0.20 = 0.45 หรือ ร้อยละ 45 70. ตอบ 3 วิธีทา ประชากรที่มีจีโนไทป์ aa = 49% ความถี่ของประชากรที่มีจีโนไทป์ aa = q2 =49/100 ความถี่แอลลีล a = q =  49/100 = 7/10 ความถี่แอลลีล A = 1-7/10 = 3/10 ดังนั้นความถี่แอลลีล A ทั้ง 2 รูปแบบนี้จะนาไป คานวณหาความถี่จีโนไทป์ Aa โดยใช้สูตร ความแตกต่าง ฟันนานม ฟันแท้ 1. ขนาด เล็ก ใหญ่ 2. สี สีขาว สีน้าตาลอ่อน 3. คอฟัน คอดมาก คอดน้อย 4. รากฟันของ ฟันกราม ถ่างมาก ถ่างน้อย
  • 5. เฉลย ชีวะ Ent48 p2 +2pq + q2 = 1 ดังนี้ ความถี่จีโนไทป์ Aa = 2pq = 2  3/10  7/10 = 0.42 หรือ 42% ความถี่จีโนไทป์ AA = p2 = 3/10  3/10 = 9/100 ถ้าประชากรของสัตว์กลุ่มนี้มี 500 ตัว จะมีสัตว์ที่มี จีโนไทป์ AA = 9/100  500 = 45 ตัว 71. ตอบ 1 คนถนัดมือขวามี 96% ดังนั้นคนถนัดมือซ้ายมี 100-96 = 4% ความถี่ของจีโนไทป์ rr เท่ากับ 0.04 ความถี่ของแอลลีล r เท่ากับ 0.04 = 0.2 ความถี่ของแอลลีล R เท่ากับ 1 – 0.2 = 0.8 ประชากรที่มีจีโนไทป์ Rr เท่ากับ 2  0.2  0.8 = 0.32 หรือ 32% ดังนั้นจานวนประชากรที่มีจีโนไทป์ Rr = 32/100  200,000 = 64,000 คน คนถนัดมือขวาที่มีจีโนไทป์ RR = (0.8)2 = 0.64 หรือ 64% ดังนั้น จานวนประชากรที่มีจีโนไทป์ RR = 64/100  200,000 = 128,000 คน 72. ตอบ 1 จากโจทย์: ลาตัวสีเทา (B-) ไม่มีขน (H-) 9.19% ลาตัวสีเทา (B-) มีขน (hh) 9.31% ลาตัวสีดา (bb) ไม่มีขน (H-) 41.31% ลาตัวสีดา (bb) มีขน (hh) 39.69% ให้ ความถี่ของอัลลีลลาตัวมีขน (h) = q1 ความถี่ของอัลลีลสีดา (b) = q2 ประชากรมีการเลือกแบบสุ่มตาม ฮาร์ดีไวน์เบิร์ก เนื่องจากยีนทั้งสองอยู่กันคนละ โครโมโซม จึงคิดแบบแยกยีนกัน ดังนี้ คือ รวมแมลงหวี่สีดา = 41.31 + 39.69 = 81% รวมแมลงหวี่มีขน = 9.31 + 39.69 = 49% ความถี่จีโนไทป์สีดา (bb) = 81/100 = 0.81 = q2 1 ความถี่อัลลีล (b) = 0.9 ความถี่จีโนไทป์มีขน (hh)= 49/100 = 0.49 = q2 2 ความถี่อัลลีล (h) = 0.7 73. ตอบ 1 วิธีทา เนื่องจากหมู่เลือด Rh ถูกควบคุมด้วยยีนด้อย เมื่อกาหนดให้ D แทนยีนเด่นที่ควบคุมลักษณะหมู่เลือด Rh+ d แทนยีนด้อยที่ควบคุมลักษณะหมู่เลือด Rh- ถ้ามีประชากรที่มีหมู่เลือด Rh- 20% สัดส่วน ของ d = 20% หรือ 20/100 = 0.2 ดังนั้นสัดส่วนของ D = 1 – 0.2 = 0.8 74. ตอบ 4 เหตุผล กาหนดให้ยีน b เป็นยีนตาบอดสี B เป็นยีนตา ปกติ ผู้หญิงจะมีโอกาสเป็นตาบอดสีเมื่อ genotype ของ พ่อเป็น Xh Y และของแม่เป็น XB Xb เพราะยืนตาบอดสีเป็น ยีนด้อยอยู่บนโครโมโซม X ไม่มีอยู่บนโครโมโซม Y ดังนั้นถ้าพ่อมียีนตาบอดสีบนโครโมโซม X และแม่มียีน ตาบอดสีบนโครโมโซม X ลูกผู้หญิงจะเป็นโรคตาบอดสี คือมีโครโมโซม Xb Xb 75. ตอบ 3 พืชรุ่น F1 มี genotype เป็น CcYy ซึ่งจะมีโอกาส สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มี genotype ได้ 4 แบบ คือ ดังนั้นพืชรุ่น F1 สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มียีน C หรือ c และ Y หรือ y 76. ตอบ 4 ถ้าให้ F1 ผสมกันเอง ได้ F2 F2 ที่แสดงลักษณะฝักยาวสีเหลืองซีด จะมี Genotype CCyy และ Ccyy ในอัตราส่วน 1 : 2 77. ตอบ 4 สัตว์ที่มีนีมาโทซิสต์ได้แก่พวกเลนเทอเรต สัตว์ที่มีหินปูนเป็นส่วนประกอบของลาตัวที่แข็ง ได้แก่ พวกฟองน้า สัตว์พวกมอลลัสก์ เช่น หอยต่าง ๆ ลาตัวจะไม่แบ่งเป็นปล้อง ความถี่จีโนไทป์โฮโมไซกัส = กาลังสองของความถี่อัลลีล
  • 6. 6 ดังนั้นข้อ 1 2 และ 3 จึงผิด ส่วนสัตว์พวก เอไคโนเดิร์ม เช่น เหรียญ ทะเล ลาตัวจะแข็ง มี ลักษณะกลม ๆ จึงไม่สามารถ บอกความแตกต่างของส่วนหัวและส่วนท้ายได้ 78. ตอบ 2 heterotrophic organism เป็นสิ่งมีชีวิตที่ ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ต้องดารงชีพโดย การกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร ได้แก่ พวก ผู้บริโภคและผู้ย่อยสลาย 79. ตอบ 4 สัตว์ที่มีลักษณะลาตัวเป็นปล้องที่แท้จริง พบได้ในไฟลัมแอนนีลิดา ได้แก่ พวกไส้เดือนดิน ส่วนสัตว์ในไฟลัมแพลทีเฮลมินเทสพวกพยาธิตัวตืด ก็มีลักษณะเป็นปล้อง แต่ไม่จัดเป็นปล้องที่แท้จริง 80. ตอบ 3 การถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในโซ่ อาหารจะถ่ายทอดไปทิศทางเดียวจากผู้ผลิตไปยัง ผู้บริโภคอันดับต่าง ๆ จนกระทั่งถึงผู้ย่อยสลายเป็น อันดับสุดท้าย พลังงานที่มีการถ่ายทอดจะลดลงไป เรื่อย ๆ จนถึงผู้ย่อยสลายจะได้รับพลังงานน้อย ที่สุด การถ่ายทอดพลังงานจึงไม่มีการหมุนเวียน เป็นวัฏจักร 81. ตอบ 2 เมมเบรนซึ่งมีคุณสมบัติในการเลือกผ่าน (differentially permeable membrane) ในพืช เกิดขึ้นในเซลล์ที่มีชีวิต ถ้าเซลล์นั้นถูกทาลาย เพราะได้รับอุณหภูมิสูงเกินไปหรือเมื่อได้รับสารพิษ บางอย่างทาให้กระบวนการเมตะโบลิซึมถูกยับยั้ง พบว่าเมมเบรนจะสูญเสียคุณสมบัติการเลือกผ่าน ทาให้ตัวละลายหลายชนิดสามารถไหลเข้าภายใน เซลล์และรั่วออกนอกเซลล์ได้ ในเซลล์ที่มีชีวิต โมเลกุลของน้าและก๊าซต่าง ๆ ที่ละลายได้ในน้า ได้แก่ ออกซิเจน คาร์บอนได ออกไซด์ และไนโตรเจน สามารถแพร่ผ่านเมมเบรน ได้โดยสะดวกอย่างรวดเร็ว โมเลกุลของสารที่ชอบน้าและไม่แตกตัวในน้า โดยทั่ว ๆ ไป ถ้าโมเลกุลของตัวละลายมีขนาดเล็ก อัตราการแพร่ผ่านเมมเบรนจะเกิดขึ้นรวดเร็วกว่า โมเลกุลของตัวละลายที่มีขนาดใหญ่ ส่วนตัวละลาย ที่ไม่ชอบน้า อัตราการแพร่ผ่านเมมเบรนจะ สัมพันธ์ โดยตรงกับความสามารถของสารนั้นที่จะ ละลายได้ใน ลิปิด สารที่ละลายได้ในลิปิดจะแพร่ ผ่านเมมเบรนได้รวดเร็วกว่าสารที่ไม่ละลายในลิปิด สาหรับตัวละลายที่สามารถแตกตัวได้หรือมี ประจุเมื่ออยู่ในน้าจะลดความสามารถที่จะละลายใน ลิปิดมีผลทาให้ลดอัตราการแพร่ผ่านเมมเบรนด้วย จานวนประจุของไอออนมีผลต่อการแพร่ผ่าน เมมเบรน ตัวอย่างเช่นไอออนของเหล็ก (Fe+++ ) ซึ่งมี 3 ประจุจะแพร่ผ่านเมมเบรนได้ช้ากว่า แมกนีเซียมไอออน (Mg++ ) ซึ่งมี 2 ประจุ ส่วน แคลเซียมไอออน (Ca++ ) หรือแมกนีเซียมไอออน (Mg++ ) จะแพร่ผ่านเมมเบรนได้ช้ากว่าโพแทสเซียม ไอออน (K+ ) หรือโซเดียมไออน (Na+ ) ซึ่งมีประจุ เดียว 82. ตอบ 1 83. ตอบ 3 สารพันธุกรรม ได้แก่ DNA และ RNA ซึ่งมี base ต่างกันไป สารพันธุกรรมจะต้องมี self duplication ไม่เกิด mutation ง่ายและสามารถ translate ได้ 84. ตอบ 2 ดอกบานเย็นที่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโร ไซกัส (Rr) แสดงฟีโนไทป์ผสมระหว่างสีแดงกับสี ขาว แต่ค่อนไปทางสีแดงได้เป็นสีชมพู แสดงว่า ยีนเด่นที่นาลักษณะดอกสีแดงข่มยีนด้อยที่นา ลักษณะดอกสีขาวได้ ไม่สมบูรณ์ 85. ตอบ 2 ในบุหรี่มีสารนิโคตินซึ่งมีสมบัติกระตุ้นการ หลั่งฮอร์โมน ADH มีผลเพิ่มการดูดน้ากลับที่ บริเวณท่อหน่วยไต ทาให้ปริมาณของน้าปัสสาวะ ลดน้อยลง จึงปัสสาวะไม่บ่อย ชนิด neuron สมอง ไขสันหลัง ปมประสาท association neuron - ตัวเซลล์   - ใยประสาท   sensory neuron - ตัวเซลล์   - ใยประสาทเป็นมัด motor neuron - ตัวเซลล์   - ใยประสาทเป็นมัด
  • 7. เฉลย ชีวะ Ent48 86. ตอบ 1 purines ประกอบด้วย adenine และ guanine pyrimidines ประกอบด้วยวงแหวน 2 วง ได้แก่ ไซโทซิน, ไธมีน 87. ตอบ 3 แคมเบียมของพืชใบเลี้ยงคู่ที่อยู่ระหว่าง ท่อลาเลียงน้าและอาหารจะแบ่งตัวออกสู่ภายนอก เป็นเนื้อเยื่อ secondary phloem และเจริญเข้าสู่ ภายในคือ secondary xylem 88. ตอบ 3 passage cell เกิดจาก endodermis ที่มี ลักษณะแตกต่าง คือไม่มี casparian strip คาดรอบ เซลล์จึงลาเลียงน้าได้ ถ้ามี casparian strip เซลล์ จะมีอุปสรรคในการลาเลียงน้าและเกลือแร่ 89. ตอบ 2 vein 90. ตอบ 3 ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์สามารถจะศึกษา ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและจาแนกหมวดหมู่ได้ โดยพิจารณาออร์แกเนลล์ และสารเคมีภายในเซลล์ เช่น การเรียงตัวของกรดอะมิโนโปรตีน และชนิด ของเอนไซม์โดยถือว่าสิ่งมีชีวิตที่มีความใกล้ชิดกัน ทางพันธุกรรมมากเท่าใดก็ย่อมมีออร์แกเนลล์ของ เซลล์และสารเคมีที่คล้ายคลึงกันมากเท่านั้น ลาดับ ของการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตมีหลักสาคัญใน ขั้นตอนที่เรียงลาดับดังต่อไปนี้ อาณาจักร (Kingdom) ไฟลัม (Phylum) ในกรณีที่เป็นสัตว์ และ ดิวิชั่น (Division) ในกรณีที่เป็นพืช คลาส (Class) ออร์เดอร์ หรืออันดับ (Order) แฟมมิลี่ หรือครอบครัว (Family) จีนัส หรือสกุล (Genus) สปีชีส์ (Species) สาหรับขั้นตอนที่ต่าที่สุด คือ Species หมายถึงชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีสภาพทาง ชีววิทยา แตกต่างจากชนิดอื่น แต่เหมือนกันใน ชนิดเดียวกัน และสามารถผสมพันธุ์กันได้ แล้วให้ ลูกหลานต่อเนื่องเป็นการสืบทอด เผ่าพันธุ์ 91. ตอบ 2 โมเลกุลของ DNA ประกอบด้วยโมเลกุล ย่อย ๆ 3 ชนิด คือ 1. น้าตาล เป็นน้าตาลที่ประกอบด้วยคาร์บอน 5 ตัว มีชื่อเรียกว่าดีออกซีไรโบส (deoxyribose) มีสูตรโมเลกุล ดังรูป รูปแสดงสูตรโครงสร้างของดีออกซีไรโบส 2. หมู่ฟอสเฟต ( ) จะเชื่อมติดกับ น้าตาล แต่ละตัวที่คาร์บอนตาแหน่ง 3 และ 5 3. nitrogenous base เป็นเบสที่มีไนโตรเจน ประกอบอยู่ด้วย แบ่งออกเป็น 2 พวก ตามจานวนวงของคาร์บอน-ไฮโดรเจน ซึ่งจะมี 1 วง หรือ 2 วง ได้แก่ (ก) ไพริมิดีน (pyrimidine) เป็นเบสที่ ประกอบด้วยวงของคาร์บอน-ไฮโดรเจน 1 วง ได้แก่ ไธมีน(thymine) และไซโตซีน (cytosine) (ข) พิวรีน (purine) เป็นเบสที่ประกอบด้วยวง ของคาร์บอนไฮโดรเจน 2 วง ได้แก่ อะดีนีน (adenine) และกวานีน (guanine) ในโมเลกุลของ DNA พิวรีนจะเชื่อมต่อกับ ไพริมิดีน โดยที่อะดีนีนจะจับคู่กับไธมีนด้วย 2 บอนด์ ไฮโดรเจน (hydrogen bond : A = T) และกวานีนจะจับคู่กับไซโตซีนด้วย 3 บอนด์ ไฮโดรเจน (G  C) เสมอ ในการแบ่งชนิดของเบส นอกจากดูว่าเป็น 1 วง หรือ 2 วงแล้ว ยังสามารถดูชนิดของ หมู่ อะตอมที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 6 ได้อีก คือ ถ้าเป็นไซโตซีนกับ อะดีนีนจะมีหมู่อะมิโน (amino group : NH2) ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 6 -3PO4
  • 8. 8 ส่วนไธมีนและกวานีนจะมีหมู่คีโต (keto group ; - C = O) ที่ตาแหน่งเดียวกัน ดังนั้นจึงมีเบสเป็น 2 พวก คือ 6-อะมิโน และ 6-คีโต (6-amino & 6-keto) 92. ตอบ 4 โรคประสาทไม่ใช่โรคทางพันธุกรรม 93. ตอบ 1 ระบบประสาท เจริญมาจากเอคโตเดิร์ม (ectoderm) และเป็นระบบที่เจริญและพัฒนา เปลี่ยนแปลงก่อนระบบอื่น นอกจากนี้ยังมีผิวหนัง (dermis), เลนส์ตา (lens) สิ่งปกคลุมร่างกาย (skin) เจริญมาจาก ectoderm ด้วย 94. ตอบ 2 ก๊าซเอทีลีนกระตุ้นการสุกของผลไม้ พืช จะปล่อยออกมามากขณะที่ผลไม้ใกล้สุกทาให้ ผลไม้ที่ยังดิบได้รับก๊าซเอทีลีนด้วยจึงสุกเร็วขึ้น 95. ตอบ 1 เซลล์คอลลาร์หรือเซลล์ปลอกคอใน ฟองน้าจะมีหนวด (flagella) ทาหน้าที่คอยโบกพัด หรือจับอาหารกิน 96. ตอบ 3 ความสัมพันธ์แบบที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ มี 2 แบบ ได้แก่ ภาวะปรสิต โดยสิ่งมีชีวิตที่เป็นปรสิตเข้าไปอาศัย สิ่งมีชีวิตอื่นได้ประโยชน์ แต่ฝ่ายที่ถูกอาศัยเสีย ประโยชน์ และภาวะการล่าเหยื่อ โดยสิ่งมีชีวิตเป็นผู้ ล่าได้ประโยชน์ ส่วนผู้ถูกล่าคือเหยื่อเป็นฝ่ายเสีย ประโยชน์ 97. ตอบ 3 พยาธิตัวตืดหมู ตัวอ่อนจะอาศัยอยู่ในเนื้อ หมูในลักษณะเม็ดสาคู เมื่อคนกินเนื้อหมูที่มีเม็ด สาคูและไม่สุกเข้าไป ตัวอ่อนพยาธิตัวตืดจะมีตะขอ เกี่ยวผนังลาไส้อาศัยดูดกินอาหารจากลาไส้เล็กและ เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยต่อไป ดังนั้นคนจะได้รับ พยาธิตัวตืดโดยการกินเนื้อสัตว์สุก ๆ ดิบ ๆ ที่มีตัวอ่อนของพยาธิเข้าไป 98. ตอบ 3 ตั๊กแตนและไส้เดือนดินซึ่งอาศัยอยู่ในนา ข้าวที่เดียวกันมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะเป็น กลาง โดยสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน ต่างฝ่ายต่างก็ไม่มี อิทธิพลต่อกัน หรือต่างคนต่างอยู่ ไม่ได้ประโยชน์ หรือเสียประโยชน์ต่อกัน 99. ตอบ 3 ฮอร์โมนออกซิโทซินจะกระตุ้นการบีบตัว ของมดลูกทาให้เกิดการคลอด ถ้าถึงกาหนดคลอด แล้วแต่ฮอร์โมนออกซิโทซินหลั่งออกมาน้อยจะทา ให้ไม่สามารถคลอดบุตรได้ ต้องฉีดฮอร์โมนออกซิ โทซินกระตุ้น เพื่อให้เกิดการคลอด 100.ตอบ 2 ต่อมไร้ท่อที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อชั้นกลาง ได้แก่ ต่อมหมวกไตชั้นนอก และต่อมเพศจะสร้าง ฮอร์โมนประเภทสเตรอยด์