SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ภาวะเหงื่ออกมากผิดปกติ (hyperhidrosis)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อนายวัชรพล จันทร์มา เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายวัชรพล จันทร์มา เลขที่ 14
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ภาวะเหงื่ออกมากผิดปกติ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
hyperhidrosis
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายวัชรพล จันทร์มา
ชื่อที่ปรึกษา อาจารย์ เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากผู้จัดทาโครงงานนี้ได้ประสบกับภาวะเหงื่ออกมากผิดปกติโดยตรง ซึ่งเป็นภาวะที่ก่อให้เกิดความไม่
สะดวกและไม่สบายใจอย่างมากกับผู้ป่วย เนื่องจากจะทาให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกไม่สะดวกในการออกสังคมและใช้ชีวิตได้
อย่างปกติสุข ผู้ป่วยจะมีเหงื่อออกมากผิดปกติ บริเวณรักแร้และฝ่ามือซึ่งเปียกมากกว่าคนปกติโดยทั่วไป ทาให้เกิด
ความรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่สบายใจ และมีความกังวลอย่างมากต่อการออกสังคม ภาวะดังกล่าวเกิดจากมีการทางานที่
มากกว่าปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการทางานของต่อมเหงื่อ ซึ่งอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเกิดจาก
การทางานที่ผิดปกติของต่อมใต้สมอง โรคเรื้อรังอื่นๆ การรักษาความผิดปกติดังกล่าวมักให้การรักษาทางยาเป็นหลัก
ซึ่งยาที่ใช้มักจะเป็นยาในกลุ่มที่ลดการขับเหงื่อ ยาที่มีคุณสมบัติในการกระชับรูขุมขน หรือยาที่ใช้ดูดซับเหงื่อ การ
รักษาดังกล่าวมักจะเป็นการรักษาชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งถ้าอยากให้หายในระยะยาวต้องทาการผ่าตัดเลยทีเดียว ทาง
ผู้จัดทาทาจึงให้ความสนใจกับโรคนี้เป็นพิเศษในการจะหาแนวทางในการรักษา และลักษณะต่างๆของโรคนี้ และ
ต้องการที่จะเผยแพร่ข้อมูลข้อมูลต่างที่ประสบกับภาวะนี้หรือผู้ที่สนใจในเรื่องนี้ ซึ่งทาให้ผู้ที่ได้รับข้อมูลต่างๆในเรื่องนี้
ได้มีแนวทาง ในการป้องกันให้กับตนเอง หรือคนรอบตัว
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ
2.เพื่อศึกษาหาแนวทางการแก้ไข ในลักษณะต่างๆของภาวะนี้
3.เพื่อเป็นแนวทางอีกทางหนึ่งของผู้ที่สนใจ หรือประสบกับภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงาน ภาวะเหงื่ออกมากผิดปกติ ได้ทาการศึกษาข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับภาวะนี้ เช่น การรักษา สาเหตุของ
โรคนี้พฤติกรรมต่างๆผู้คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ การวินิจฉัย ผลกระทบของผู้ป่วย ภาวะโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับโรคนี้
ผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมี
ระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ภาวะหลั่งเหงื่อมากผิดปกติ (Hyperhidrosis) ก็คือภาวะที่ร่างกายหลั่งเหงื่อมากเกินความจาเป็น โดยจุดที่
พบว่ามีเหงื่อออกเยอะมักจะเป็นที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า รักแร้ ทั้งนี้ภาวะหลั่งเหงื่อมาก สามารถแยกสาเหตุได้ 2 ประเภทคือ
อาการเหงื่อออกมากชนิดปฐมภูมิ หรือเหงื่อออกมากผิดปกติโดยไม่ทราบสาเหตุ ผู้ป่วยมักมีเหงื่อออกมากบริเวณมือ
เท้า ศีรษะ ใบหน้า หรือรักแร้ทั้งด้านซ้ายและด้านขวาในปริมาณเท่า ๆ กันต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป ผู้ป่วยอาจ
มีภาวะนี้อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง ซึ่งอาจเกิดขึ้นเมื่อใดก็ได้ โดยมักมีเหงื่อออกในช่วงกลางวันแต่จะไม่มีเหงื่อออกขณะ
นอนหลับ
 อาการเหงื่อออกมากชนิดทุติยภูมิ
หรือเหงื่อออกมากผิดปกติโดยทราบสาเหตุ ผู้ป่วยอาจมีเหงื่อออกมากผิดปกติเป็นบางแห่งอย่างฉับพลันหรือ
ต่อเนื่อง เช่น รักแร้ มือ เท้า หรือทั่วร่างกาย ซึ่งเหงื่ออาจออกช่วงเวลาใดก็ได้ ทั้งเวลากลางวัน กลางคืน หรือ
ทั้งกลางวันและกลางคืน และอาจมีอาการอื่น ๆ เกิดขึ้นร่วมด้วย ดังนี้ปวดศีรษะ มีไข้คลื่นไส้ น้าหนักลด
หายใจไม่อิ่ม หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหรือแน่นหน้าอก ซึมเศร้า หลีกหนีสังคม
 สาเหตุของเหงื่อออกมาก
โดยปกติ การออกกาลังกาย อากาศที่ร้อนอบอ้าว รวมถึงภาวะวิตกกังวลหรือภาวะเครียด มักเป็นสาเหตุให้
ร่างกายขับเหงื่อมากขึ้น แต่ภาวะเหงื่อออกมากจนผิดสังเกตเป็นความผิดปกติที่อาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ซึ่ง
แยกตามประเภท ดังนี้
 เหงื่อออกมากชนิดปฐมภูมิ เหงื่อออกมากชนิดนี้เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ แต่อาจเกิดจากพันธุกรรมได้ โดยผู้
ที่มีเหงื่อออกมากมักมีประวัติคนในครอบครัวเป็นภาวะนี้เช่นเดียวกัน และมักพบในผู้ที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี
ส่วนปัจจัยร่วมที่ทาให้อาการนี้แย่ลง ได้แก่ การออกกาลังกาย ภาวะเครียด หรือความวิตกกังวล
เหงื่อออกมากชนิดทุติยภูมิ เป็นชนิดที่พบได้ไม่บ่อยนัก ซึ่งอาจมีสาเหตุจากโรคหรือภาวะอื่น ๆ ได้แก่ การตั้งครรภ์
อ้วน น้าตาลในเลือดต่า เบาหวาน หมดประจาเดือนซึ่งมักเกิดขึ้นร่วมกับอาการร้อนวูบวาบ มะเร็งบางชนิดอย่างมะเร็ง
ต่อมน้าเหลือง หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมองอุดตัน โรคปอด ต่อมหมวกไตทางานผิดปกติ ไทรอยด์เป็นพิษ ข้อ
อักเสบรูมาตอยด์ เก๊าท์ พาร์กินสัน และโรคติดเชื้อ เช่น เอดส์ วัณโรค เป็นต้น หรืออาจเกิดจากผลข้างเคียงของยา
บางชนิด เช่น เดซิพรามีน นอร์ทริปไทลีน และโพรทริปไทลีน เป็นต้น
4
 การวินิจฉัยเหงื่อออกมาก
ผู้ป่วยที่มีอาการเหงื่อออกมากผิดปกติอาจไปพบแพทย์เฉพาะทางด้านผิวหนังซึ่งมักวินิจฉัยภาวะนี้จากการซัก
ประวัติของผู้ป่วยร่วมกับการตรวจร่างกาย โดยผู้ป่วยควรแจ้งให้แพทย์ทราบถึงบริเวณที่มีเหงื่อออกมาก ปริมาณของ
เหงื่อ วิธีที่เคยลองรักษาด้วยตนเอง ปัจจัยกระตุ้นอย่างอารมณ์ และอาการผิดปกติอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น เหงื่อออกแม้
อากาศเย็นหรือในขณะนอนหลับ คันตามผิวหนัง มีไข้ น้าหนักลดโดยไม่มีสาเหตุ เจ็บหน้าอก ใจสั่น หายใจไม่อิ่ม มี
ปัญหาความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง เป็นต้น
ในกรณีที่แพทย์สงสัยว่าผู้ป่วยมีเหงื่อออกมากชนิดทุติยภูมิ แพทย์อาจให้ผู้ป่วยตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ
และตรวจเฉพาะทางอื่น ๆ เพื่อหาสาเหตุของอาการป่วย เช่น ภาวะน้าตาลในเลือดต่า เบาหวาน ไทรอยด์เป็นพิษ
โรคหัวใจ เป็นต้น
นอกจากนั้น แพทย์อาจทดสอบด้วยวิธีการอื่น ๆ แต่ยังไม่เป็นที่นิยมนัก เช่น ใช้แป้งกับไอโอดีนทดสอบบน
ผิวหนังบริเวณที่มีเหงื่อออกมาก ใช้กระดาษชนิดพิเศษซับเหงื่อบนผิวหนัง วัดค่าการนาไฟฟ้าบนผิวหนัง และให้ผู้ป่วย
นั่งในห้องอบหรือตู้อบซาวน่า เป็นต้น การรักษาเหงื่อออกมาก
ภาวะเหงื่อออกมากชนิดที่ทราบสาเหตุนั้น ผู้ป่วยต้องรักษาโรคที่เป็นสาเหตุของอาการป่วย รวมทั้งอาจ
ปรับเปลี่ยนยาในกรณีที่มีเหงื่อออกมากจากผลข้างเคียงของยา
 ส่วนการรักษาเหงื่อออกมากชนิดที่หาสาเหตุไม่พบ มักต้องรักษาหลายวิธีร่วมกันเพื่อช่วยลดความรุนแรงของ
ภาวะนี้ โดยผู้ป่วยควรเริ่มรักษาอาการด้วยตนเองก่อน เช่น อาบน้าและรักษาความสะอาดร่างกายเป็นประจา
สวมใส่เสื้อผ้าให้เหมาะสมกับกิจกรรมบางประเภทเพื่อให้เหงื่อระบายได้ดี ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยลดเหงื่อและ
ระงับกลิ่นกาย เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม หากวิธีข้างต้นไม่ได้ผล ผู้ป่วยควรไปพบแพทย์เพื่อรักษาด้วยยาหรือวิธีต่าง ๆ ดังนี้
 การใช้ผลิตภัณฑ์ระงับเหงื่อ ผู้ป่วยต้องทายาก่อนนอนในบริเวณที่เหงื่อออกมากแล้วล้างออกตอนเช้า โดยต้อง
ระวังไม่ให้ยาเข้าตา หากผู้ป่วยรู้สึกระคายเคืองที่ผิวหนัง อาจต้องใช้ยาไฮโดรคอร์ติโซนทาเพื่อช่วยบรรเทา
อาการด้วย
 การใช้ยา อาจใช้ยากลุ่มแอนตี้โคลิเนอร์จิกโดยให้ผู้ป่วยทาครีมที่มีส่วนผสมของไกลโคไพโรเลตเพื่อช่วยลด
อาการเหงื่อออกมากบริเวณศีรษะและใบหน้า หรือแพทย์อาจให้ผู้ป่วยรับประทานยากลุ่มแอนตี้โคลิเนอร์จิก
ซึ่งต้องรับประทานติดต่อกันอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ซึ่งยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต้านแอซิติลโคลีนที่กระตุ้นต่อมเหงื่อ
และช่วยให้เหงื่อออกน้อยลง อย่างไรก็ตาม ยานี้ได้ผลดีในผู้ป่วยบางราย และอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียง เช่น
ปากแห้ง ตาแห้ง เวียนศีรษะ ท้องผูก ใจสั่น กระเพาะปัสสาวะทางานผิดปกติ เป็นต้น หรือแพทย์อาจให้
ผู้ป่วยรับประทานยาต้านเศร้าเพื่อลดอาการเหงื่อออกมากรวมทั้งช่วยลดความวิตกกังวลซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่
ทาให้มีเหงื่อออกมากขึ้น
 การฉีดโบทอกซ์ แพทย์อาจฉีดโบทอกซ์หรือสารโบทูลินั่ม ท็อกซิน เอ เพื่อกดการทางานของเส้นประสาทที่
ควบคุมการหลั่งเหงื่อ ก่อนฉีดต้องประคบน้าแข็งหรือฉีดยาชา และแพทย์ต้องฉีดยาซ้า ๆ ในบริเวณที่มีอาการ
โดยเฉพาะรักแร้ มือ หรือเท้า ซึ่งฤทธิ์ยาจะอยู่ได้นานประมาณ 6-12 เดือน ทั้งนี้ ผู้ป่วยอาจรู้สึกเจ็บและมี
อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงชั่วคราวในบริเวณที่รักษา
5
 การรักษาด้วยคลื่นไมโครเวฟ เป็นการใช้คลื่นไมโครเวฟทาลายต่อมเหงื่อโดยใช้เวลาในการรักษา 20-30
นาที/ครั้ง แต่ละครั้งห่างกัน 3 เดือน แต่วิธีนี้อาจทาให้การรับรู้ของผิวหนังเปลี่ยนไปและรู้สึกไม่สบายผิว อีก
ทั้งยังเป็นวิธีที่มีค่าใช้จ่ายสูงและไม่เป็นที่นิยม
 การรักษาด้วยไอออนโตฟอรีซีส เป็นวิธีที่ใช้กระแสไฟฟ้าพลังงานต่าช่วยส่งผ่านน้าหรือยาเข้าสู่ผิวหนังบริเวณ
ต่อมเหงื่อของรักแร้ มือ หรือเท้าที่มีอาการผิดปกติโดยตรง ซึ่งส่งผลให้ต่อมเหงื่อบริเวณนั้นทางานลดลง
ผู้ป่วยอาจต้องเข้ารับการรักษาอย่างน้อย 2-3 ครั้งจึงจะเห็นผล และอาจต้องทาซ้าทุกเดือนเพื่อให้ได้ผลอย่าง
ต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม หญิงมีครรภ์ ผู้ที่ใส่เครื่องควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ ผู้ที่ใส่อวัยวะเทียมที่มีโลหะ
เป็นส่วนประกอบ รวมทั้งผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือลมชัก ไม่ควรเข้ารับการรักษาด้วยวิธีนี้ เพราะกระแสไฟฟ้า
อาจก่ออันตรายได้
 การกาจัดต่อมเหงื่อด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ และมี
เหงื่อออกมากโดยเฉพาะรักแร้ อาจใช้เครื่องดูดสุญญากาศไฟฟ้าช่วยกาจัดต่อมเหงื่อบริเวณรักแร้การผ่าตัด
หรือการจี้ปมประสาท หากรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ ไม่ได้ผล แพทย์อาจผ่าตัดจี้ทาลายปมประสาทบริเวณรักแร้ที่
กระตุ้นการหลั่งเหงื่อ หรือผ่าตัดจี้ปมประสาทไขสันหลังที่กระตุ้นการหลั่งเหงื่อบริเวณมือ แม้เป็นวิธีที่ได้ผลดี
แต่มักทิ้งรอยแผลเป็นไว้และอาจทาให้ผู้ป่วยมีเหงื่อออกมากบริเวณอื่น ๆ อย่างตามหน้าอกและใบหน้าได้
ส่วนผู้ป่วยที่มีเหงื่อออกมากบริเวณศีรษะและใบหน้าไม่สามารถเข้ารับการรักษาด้วยวิธีนี้ได้
 ภาวะแทรกซ้อนของเหงื่อออกมาก
เหงื่อออกมากอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยภาวะนี้อาจส่งผลเสียต่อจิตใจ
เช่น รู้สึกอับอาย มีพฤติกรรมหลีกหนีสังคม มีปัญหาความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง หรือกระทบต่อหน้าที่การงาน เป็น
ต้น
ส่วนภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นทางร่างกาย มีดังนี้
 เกิดการหมักหมมของเหงื่อไคลจนเป็นเหตุให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมาได้ แต่มักไม่รุนแรง
 ผิวหนังมีกลิ่นอับซึ่งเกิดจากเหงื่อปะปนกับสารที่เชื้อแบคทีเรียบนผิวหนังสร้างขึ้น โดยเฉพาะบริเวณรักแร้
อวัยวะเพศ หรือเท้ามีความเสี่ยงสูงในการเป็นโรคผิวหนังติดเชื้อหากผิวหนังถูกทาลาย เช่น หูดจากเชื้อไวรัส
สังคังจากเชื้อราบริเวณขาหนีบ หรือติดเชื้อราที่เท้าโดยเฉพาะบริเวณนิ้วเท้า เป็นต้นแม้เข้ารับการรักษาจนมี
อาการดีขึ้นแล้วก็อาจมีโอกาสกลับมาเป็นซ้าได้อีก
 การป้องกันเหงื่อออกมาก
แม้ไม่มีวิธีป้องกันภาวะเหงื่อออกมาก แต่อาจมีวิธีที่ช่วยให้เหงื่อออกน้อยลง และป้องกันการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนจากเหงื่อออกมาก ดังนี้
 อาบน้าและฟอกสบู่ให้สะอาดเป็นประจาทุกวัน แล้วเช็ดตัวให้แห้งโดยเฉพาะบริเวณรักแร้และนิ้วเท้า เพื่อ
ช่วยลดการสะสมของแบคทีเรีย
6
 ใช้ผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกายที่ผสมสารลดเหงื่อจาพวกอะลูมิเนียมคลอไรด์ทั้งในระหว่างวันและก่อนนอน เพื่อ
ช่วยปิดต่อมเหงื่อบริเวณรักแร้ มือ เท้า หรือศีรษะชั่วคราว
 ทาผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของกรดแทนนิกในบริเวณที่เหงื่อออกมากเพื่อช่วยลดเหงื่อ
 สวมใส่เสื้อผ้าที่ผลิตจากใยธรรมชาติซึ่งระบายเหงื่อได้ดี ใส่เสื้อผ้าที่ออกแบบมาให้ช่วยระบายเหงื่อเมื่อออก
กาลังกาย และใช้ผ้าคอยซับเหงื่อเพื่อไม่ให้เสื้อผ้าเปียกชุ่ม
 สวมใส่รองเท้าที่ผลิตจากหนังสัตว์ซึ่งระบายเหงื่อได้ดีและช่วยป้องกันเท้าเหม็นได้ รวมทั้งควรถอดรองเท้าทุก
ครั้งเมื่อมีโอกาส เพื่อให้ไม่เกิดการหมักหมม
 หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มร้อนอย่างชาและกาแฟ รวมทั้งแอลกอฮอล์และอาหารรสเผ็ด เพราะอาหารเหล่านี้มีฤทธิ์
กระตุ้นการหลั่งเหงื่อ
 เล่นโยคะหรือฝึกสมาธิให้ร่างกายและจิตใจผ่อนคลาย รวมถึงช่วยลดความเครียดซึ่งเป็นปัจจัยกระตุ้นให้หลั่ง
เหงื่อ และอาจฝึกไบโอฟีดแบ็คซึ่งเป็นการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าช่วยกระตุ้นกระบวนการทางานของร่างกายภายใต้
การดูแลของเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญ
 ควบคุมน้าหนักไม่ให้เกินเกณฑ์ด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบทั้ง 5 หมู่ในปริมาณที่
เหมาะสม โดยจากัดปริมาณอาหารจาพวกแป้ง น้าตาล ไขมัน อาหารรสหวานและเค็ม และเพิ่มอาหารที่มี
กากใยสูงอย่างผักและผลไม้ควบคู่ไปกับการออกกาลังกายตามสมควรอย่างสม่าเสมอ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ปรึกษาเลือกหัวข้อ
2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
3. ศึกษารวบรวมข้อมูล
4. จัดทารายงาน
5. นาเสนอครู
6. ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. อินเตอร์เน็ต
2. หนังสือที่เกี่ยวข้อง
3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
___________________________________________________________________
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. .มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติมากขึ้น
2. .ผู้ค้นหาได้เห็นถึงลักษณะต่างๆของภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ และเป็นแนวทางป้องกัน และรักษาต่อไป
3. บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่ศึกษาได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ และสามารถนาไปปฏิบัติ
ได้จริง
สถานที่ดาเนินการ
ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
K@POOK! HEALTH. (2552). เหงื่อออกเยอะ เหงื่อออกมากเกินไป. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จาก
เว็บไซต์: https://health.kapook.com/view170779.html
pobpad. (2561). เหงื่อออกมาก (Hyperhidrosis). สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์:
https://www.pobpad.com/เหงื่อออกมาก
กองบรรณาธิการ HONESTDOCS. (2562). เหงื่อออกง่าย. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์:
https://www.honestdocs.co/easy-sweat

More Related Content

What's hot

Asdfghj
AsdfghjAsdfghj
Asdfghj
pang46245
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
ssuser692fda
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
kunsidaphitakham
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
ssuser015151
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gitniphat Prom
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
Napisa22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
Knooknickk Pinpukvan
 

What's hot (8)

Asdfghj
AsdfghjAsdfghj
Asdfghj
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 

Similar to 2562 final-project -3-kheng

Kingg 16
Kingg 16Kingg 16
Kingg 16
Kingchat Laolee
 
King 16
King 16King 16
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
Charinrat Surijan
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
Yuthtachai Chaijaroen
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
Nantharat Pansara
 
Work1
Work1Work1
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
Korakrit Jindadang
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
MaryW6
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser9e401a1
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
Narrongdej3110
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser9e401a1
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
pornkanok02
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Dduang07
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
NattanichaYRC
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
French Natthawut
 
Final1
Final1Final1
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
ssuser5d7fc5
 
W.1
W.1W.1
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
Nichaphat Sanguthai
 

Similar to 2562 final-project -3-kheng (20)

Kingg 16
Kingg 16Kingg 16
Kingg 16
 
King 16
King 16King 16
King 16
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
Cf
CfCf
Cf
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 

2562 final-project -3-kheng

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ภาวะเหงื่ออกมากผิดปกติ (hyperhidrosis) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อนายวัชรพล จันทร์มา เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นายวัชรพล จันทร์มา เลขที่ 14 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภาวะเหงื่ออกมากผิดปกติ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) hyperhidrosis ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายวัชรพล จันทร์มา ชื่อที่ปรึกษา อาจารย์ เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากผู้จัดทาโครงงานนี้ได้ประสบกับภาวะเหงื่ออกมากผิดปกติโดยตรง ซึ่งเป็นภาวะที่ก่อให้เกิดความไม่ สะดวกและไม่สบายใจอย่างมากกับผู้ป่วย เนื่องจากจะทาให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกไม่สะดวกในการออกสังคมและใช้ชีวิตได้ อย่างปกติสุข ผู้ป่วยจะมีเหงื่อออกมากผิดปกติ บริเวณรักแร้และฝ่ามือซึ่งเปียกมากกว่าคนปกติโดยทั่วไป ทาให้เกิด ความรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่สบายใจ และมีความกังวลอย่างมากต่อการออกสังคม ภาวะดังกล่าวเกิดจากมีการทางานที่ มากกว่าปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการทางานของต่อมเหงื่อ ซึ่งอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเกิดจาก การทางานที่ผิดปกติของต่อมใต้สมอง โรคเรื้อรังอื่นๆ การรักษาความผิดปกติดังกล่าวมักให้การรักษาทางยาเป็นหลัก ซึ่งยาที่ใช้มักจะเป็นยาในกลุ่มที่ลดการขับเหงื่อ ยาที่มีคุณสมบัติในการกระชับรูขุมขน หรือยาที่ใช้ดูดซับเหงื่อ การ รักษาดังกล่าวมักจะเป็นการรักษาชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งถ้าอยากให้หายในระยะยาวต้องทาการผ่าตัดเลยทีเดียว ทาง ผู้จัดทาทาจึงให้ความสนใจกับโรคนี้เป็นพิเศษในการจะหาแนวทางในการรักษา และลักษณะต่างๆของโรคนี้ และ ต้องการที่จะเผยแพร่ข้อมูลข้อมูลต่างที่ประสบกับภาวะนี้หรือผู้ที่สนใจในเรื่องนี้ ซึ่งทาให้ผู้ที่ได้รับข้อมูลต่างๆในเรื่องนี้ ได้มีแนวทาง ในการป้องกันให้กับตนเอง หรือคนรอบตัว วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ 2.เพื่อศึกษาหาแนวทางการแก้ไข ในลักษณะต่างๆของภาวะนี้ 3.เพื่อเป็นแนวทางอีกทางหนึ่งของผู้ที่สนใจ หรือประสบกับภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงาน ภาวะเหงื่ออกมากผิดปกติ ได้ทาการศึกษาข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับภาวะนี้ เช่น การรักษา สาเหตุของ โรคนี้พฤติกรรมต่างๆผู้คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ การวินิจฉัย ผลกระทบของผู้ป่วย ภาวะโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับโรคนี้ ผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมี ระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ภาวะหลั่งเหงื่อมากผิดปกติ (Hyperhidrosis) ก็คือภาวะที่ร่างกายหลั่งเหงื่อมากเกินความจาเป็น โดยจุดที่ พบว่ามีเหงื่อออกเยอะมักจะเป็นที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า รักแร้ ทั้งนี้ภาวะหลั่งเหงื่อมาก สามารถแยกสาเหตุได้ 2 ประเภทคือ อาการเหงื่อออกมากชนิดปฐมภูมิ หรือเหงื่อออกมากผิดปกติโดยไม่ทราบสาเหตุ ผู้ป่วยมักมีเหงื่อออกมากบริเวณมือ เท้า ศีรษะ ใบหน้า หรือรักแร้ทั้งด้านซ้ายและด้านขวาในปริมาณเท่า ๆ กันต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป ผู้ป่วยอาจ มีภาวะนี้อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง ซึ่งอาจเกิดขึ้นเมื่อใดก็ได้ โดยมักมีเหงื่อออกในช่วงกลางวันแต่จะไม่มีเหงื่อออกขณะ นอนหลับ  อาการเหงื่อออกมากชนิดทุติยภูมิ หรือเหงื่อออกมากผิดปกติโดยทราบสาเหตุ ผู้ป่วยอาจมีเหงื่อออกมากผิดปกติเป็นบางแห่งอย่างฉับพลันหรือ ต่อเนื่อง เช่น รักแร้ มือ เท้า หรือทั่วร่างกาย ซึ่งเหงื่ออาจออกช่วงเวลาใดก็ได้ ทั้งเวลากลางวัน กลางคืน หรือ ทั้งกลางวันและกลางคืน และอาจมีอาการอื่น ๆ เกิดขึ้นร่วมด้วย ดังนี้ปวดศีรษะ มีไข้คลื่นไส้ น้าหนักลด หายใจไม่อิ่ม หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหรือแน่นหน้าอก ซึมเศร้า หลีกหนีสังคม  สาเหตุของเหงื่อออกมาก โดยปกติ การออกกาลังกาย อากาศที่ร้อนอบอ้าว รวมถึงภาวะวิตกกังวลหรือภาวะเครียด มักเป็นสาเหตุให้ ร่างกายขับเหงื่อมากขึ้น แต่ภาวะเหงื่อออกมากจนผิดสังเกตเป็นความผิดปกติที่อาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ซึ่ง แยกตามประเภท ดังนี้  เหงื่อออกมากชนิดปฐมภูมิ เหงื่อออกมากชนิดนี้เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ แต่อาจเกิดจากพันธุกรรมได้ โดยผู้ ที่มีเหงื่อออกมากมักมีประวัติคนในครอบครัวเป็นภาวะนี้เช่นเดียวกัน และมักพบในผู้ที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี ส่วนปัจจัยร่วมที่ทาให้อาการนี้แย่ลง ได้แก่ การออกกาลังกาย ภาวะเครียด หรือความวิตกกังวล เหงื่อออกมากชนิดทุติยภูมิ เป็นชนิดที่พบได้ไม่บ่อยนัก ซึ่งอาจมีสาเหตุจากโรคหรือภาวะอื่น ๆ ได้แก่ การตั้งครรภ์ อ้วน น้าตาลในเลือดต่า เบาหวาน หมดประจาเดือนซึ่งมักเกิดขึ้นร่วมกับอาการร้อนวูบวาบ มะเร็งบางชนิดอย่างมะเร็ง ต่อมน้าเหลือง หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมองอุดตัน โรคปอด ต่อมหมวกไตทางานผิดปกติ ไทรอยด์เป็นพิษ ข้อ อักเสบรูมาตอยด์ เก๊าท์ พาร์กินสัน และโรคติดเชื้อ เช่น เอดส์ วัณโรค เป็นต้น หรืออาจเกิดจากผลข้างเคียงของยา บางชนิด เช่น เดซิพรามีน นอร์ทริปไทลีน และโพรทริปไทลีน เป็นต้น
  • 4. 4  การวินิจฉัยเหงื่อออกมาก ผู้ป่วยที่มีอาการเหงื่อออกมากผิดปกติอาจไปพบแพทย์เฉพาะทางด้านผิวหนังซึ่งมักวินิจฉัยภาวะนี้จากการซัก ประวัติของผู้ป่วยร่วมกับการตรวจร่างกาย โดยผู้ป่วยควรแจ้งให้แพทย์ทราบถึงบริเวณที่มีเหงื่อออกมาก ปริมาณของ เหงื่อ วิธีที่เคยลองรักษาด้วยตนเอง ปัจจัยกระตุ้นอย่างอารมณ์ และอาการผิดปกติอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น เหงื่อออกแม้ อากาศเย็นหรือในขณะนอนหลับ คันตามผิวหนัง มีไข้ น้าหนักลดโดยไม่มีสาเหตุ เจ็บหน้าอก ใจสั่น หายใจไม่อิ่ม มี ปัญหาความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง เป็นต้น ในกรณีที่แพทย์สงสัยว่าผู้ป่วยมีเหงื่อออกมากชนิดทุติยภูมิ แพทย์อาจให้ผู้ป่วยตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ และตรวจเฉพาะทางอื่น ๆ เพื่อหาสาเหตุของอาการป่วย เช่น ภาวะน้าตาลในเลือดต่า เบาหวาน ไทรอยด์เป็นพิษ โรคหัวใจ เป็นต้น นอกจากนั้น แพทย์อาจทดสอบด้วยวิธีการอื่น ๆ แต่ยังไม่เป็นที่นิยมนัก เช่น ใช้แป้งกับไอโอดีนทดสอบบน ผิวหนังบริเวณที่มีเหงื่อออกมาก ใช้กระดาษชนิดพิเศษซับเหงื่อบนผิวหนัง วัดค่าการนาไฟฟ้าบนผิวหนัง และให้ผู้ป่วย นั่งในห้องอบหรือตู้อบซาวน่า เป็นต้น การรักษาเหงื่อออกมาก ภาวะเหงื่อออกมากชนิดที่ทราบสาเหตุนั้น ผู้ป่วยต้องรักษาโรคที่เป็นสาเหตุของอาการป่วย รวมทั้งอาจ ปรับเปลี่ยนยาในกรณีที่มีเหงื่อออกมากจากผลข้างเคียงของยา  ส่วนการรักษาเหงื่อออกมากชนิดที่หาสาเหตุไม่พบ มักต้องรักษาหลายวิธีร่วมกันเพื่อช่วยลดความรุนแรงของ ภาวะนี้ โดยผู้ป่วยควรเริ่มรักษาอาการด้วยตนเองก่อน เช่น อาบน้าและรักษาความสะอาดร่างกายเป็นประจา สวมใส่เสื้อผ้าให้เหมาะสมกับกิจกรรมบางประเภทเพื่อให้เหงื่อระบายได้ดี ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยลดเหงื่อและ ระงับกลิ่นกาย เป็นต้น อย่างไรก็ตาม หากวิธีข้างต้นไม่ได้ผล ผู้ป่วยควรไปพบแพทย์เพื่อรักษาด้วยยาหรือวิธีต่าง ๆ ดังนี้  การใช้ผลิตภัณฑ์ระงับเหงื่อ ผู้ป่วยต้องทายาก่อนนอนในบริเวณที่เหงื่อออกมากแล้วล้างออกตอนเช้า โดยต้อง ระวังไม่ให้ยาเข้าตา หากผู้ป่วยรู้สึกระคายเคืองที่ผิวหนัง อาจต้องใช้ยาไฮโดรคอร์ติโซนทาเพื่อช่วยบรรเทา อาการด้วย  การใช้ยา อาจใช้ยากลุ่มแอนตี้โคลิเนอร์จิกโดยให้ผู้ป่วยทาครีมที่มีส่วนผสมของไกลโคไพโรเลตเพื่อช่วยลด อาการเหงื่อออกมากบริเวณศีรษะและใบหน้า หรือแพทย์อาจให้ผู้ป่วยรับประทานยากลุ่มแอนตี้โคลิเนอร์จิก ซึ่งต้องรับประทานติดต่อกันอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ซึ่งยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต้านแอซิติลโคลีนที่กระตุ้นต่อมเหงื่อ และช่วยให้เหงื่อออกน้อยลง อย่างไรก็ตาม ยานี้ได้ผลดีในผู้ป่วยบางราย และอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียง เช่น ปากแห้ง ตาแห้ง เวียนศีรษะ ท้องผูก ใจสั่น กระเพาะปัสสาวะทางานผิดปกติ เป็นต้น หรือแพทย์อาจให้ ผู้ป่วยรับประทานยาต้านเศร้าเพื่อลดอาการเหงื่อออกมากรวมทั้งช่วยลดความวิตกกังวลซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ ทาให้มีเหงื่อออกมากขึ้น  การฉีดโบทอกซ์ แพทย์อาจฉีดโบทอกซ์หรือสารโบทูลินั่ม ท็อกซิน เอ เพื่อกดการทางานของเส้นประสาทที่ ควบคุมการหลั่งเหงื่อ ก่อนฉีดต้องประคบน้าแข็งหรือฉีดยาชา และแพทย์ต้องฉีดยาซ้า ๆ ในบริเวณที่มีอาการ โดยเฉพาะรักแร้ มือ หรือเท้า ซึ่งฤทธิ์ยาจะอยู่ได้นานประมาณ 6-12 เดือน ทั้งนี้ ผู้ป่วยอาจรู้สึกเจ็บและมี อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงชั่วคราวในบริเวณที่รักษา
  • 5. 5  การรักษาด้วยคลื่นไมโครเวฟ เป็นการใช้คลื่นไมโครเวฟทาลายต่อมเหงื่อโดยใช้เวลาในการรักษา 20-30 นาที/ครั้ง แต่ละครั้งห่างกัน 3 เดือน แต่วิธีนี้อาจทาให้การรับรู้ของผิวหนังเปลี่ยนไปและรู้สึกไม่สบายผิว อีก ทั้งยังเป็นวิธีที่มีค่าใช้จ่ายสูงและไม่เป็นที่นิยม  การรักษาด้วยไอออนโตฟอรีซีส เป็นวิธีที่ใช้กระแสไฟฟ้าพลังงานต่าช่วยส่งผ่านน้าหรือยาเข้าสู่ผิวหนังบริเวณ ต่อมเหงื่อของรักแร้ มือ หรือเท้าที่มีอาการผิดปกติโดยตรง ซึ่งส่งผลให้ต่อมเหงื่อบริเวณนั้นทางานลดลง ผู้ป่วยอาจต้องเข้ารับการรักษาอย่างน้อย 2-3 ครั้งจึงจะเห็นผล และอาจต้องทาซ้าทุกเดือนเพื่อให้ได้ผลอย่าง ต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม หญิงมีครรภ์ ผู้ที่ใส่เครื่องควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ ผู้ที่ใส่อวัยวะเทียมที่มีโลหะ เป็นส่วนประกอบ รวมทั้งผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือลมชัก ไม่ควรเข้ารับการรักษาด้วยวิธีนี้ เพราะกระแสไฟฟ้า อาจก่ออันตรายได้  การกาจัดต่อมเหงื่อด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ และมี เหงื่อออกมากโดยเฉพาะรักแร้ อาจใช้เครื่องดูดสุญญากาศไฟฟ้าช่วยกาจัดต่อมเหงื่อบริเวณรักแร้การผ่าตัด หรือการจี้ปมประสาท หากรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ ไม่ได้ผล แพทย์อาจผ่าตัดจี้ทาลายปมประสาทบริเวณรักแร้ที่ กระตุ้นการหลั่งเหงื่อ หรือผ่าตัดจี้ปมประสาทไขสันหลังที่กระตุ้นการหลั่งเหงื่อบริเวณมือ แม้เป็นวิธีที่ได้ผลดี แต่มักทิ้งรอยแผลเป็นไว้และอาจทาให้ผู้ป่วยมีเหงื่อออกมากบริเวณอื่น ๆ อย่างตามหน้าอกและใบหน้าได้ ส่วนผู้ป่วยที่มีเหงื่อออกมากบริเวณศีรษะและใบหน้าไม่สามารถเข้ารับการรักษาด้วยวิธีนี้ได้  ภาวะแทรกซ้อนของเหงื่อออกมาก เหงื่อออกมากอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยภาวะนี้อาจส่งผลเสียต่อจิตใจ เช่น รู้สึกอับอาย มีพฤติกรรมหลีกหนีสังคม มีปัญหาความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง หรือกระทบต่อหน้าที่การงาน เป็น ต้น ส่วนภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นทางร่างกาย มีดังนี้  เกิดการหมักหมมของเหงื่อไคลจนเป็นเหตุให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมาได้ แต่มักไม่รุนแรง  ผิวหนังมีกลิ่นอับซึ่งเกิดจากเหงื่อปะปนกับสารที่เชื้อแบคทีเรียบนผิวหนังสร้างขึ้น โดยเฉพาะบริเวณรักแร้ อวัยวะเพศ หรือเท้ามีความเสี่ยงสูงในการเป็นโรคผิวหนังติดเชื้อหากผิวหนังถูกทาลาย เช่น หูดจากเชื้อไวรัส สังคังจากเชื้อราบริเวณขาหนีบ หรือติดเชื้อราที่เท้าโดยเฉพาะบริเวณนิ้วเท้า เป็นต้นแม้เข้ารับการรักษาจนมี อาการดีขึ้นแล้วก็อาจมีโอกาสกลับมาเป็นซ้าได้อีก  การป้องกันเหงื่อออกมาก แม้ไม่มีวิธีป้องกันภาวะเหงื่อออกมาก แต่อาจมีวิธีที่ช่วยให้เหงื่อออกน้อยลง และป้องกันการเกิด ภาวะแทรกซ้อนจากเหงื่อออกมาก ดังนี้  อาบน้าและฟอกสบู่ให้สะอาดเป็นประจาทุกวัน แล้วเช็ดตัวให้แห้งโดยเฉพาะบริเวณรักแร้และนิ้วเท้า เพื่อ ช่วยลดการสะสมของแบคทีเรีย
  • 6. 6  ใช้ผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกายที่ผสมสารลดเหงื่อจาพวกอะลูมิเนียมคลอไรด์ทั้งในระหว่างวันและก่อนนอน เพื่อ ช่วยปิดต่อมเหงื่อบริเวณรักแร้ มือ เท้า หรือศีรษะชั่วคราว  ทาผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของกรดแทนนิกในบริเวณที่เหงื่อออกมากเพื่อช่วยลดเหงื่อ  สวมใส่เสื้อผ้าที่ผลิตจากใยธรรมชาติซึ่งระบายเหงื่อได้ดี ใส่เสื้อผ้าที่ออกแบบมาให้ช่วยระบายเหงื่อเมื่อออก กาลังกาย และใช้ผ้าคอยซับเหงื่อเพื่อไม่ให้เสื้อผ้าเปียกชุ่ม  สวมใส่รองเท้าที่ผลิตจากหนังสัตว์ซึ่งระบายเหงื่อได้ดีและช่วยป้องกันเท้าเหม็นได้ รวมทั้งควรถอดรองเท้าทุก ครั้งเมื่อมีโอกาส เพื่อให้ไม่เกิดการหมักหมม  หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มร้อนอย่างชาและกาแฟ รวมทั้งแอลกอฮอล์และอาหารรสเผ็ด เพราะอาหารเหล่านี้มีฤทธิ์ กระตุ้นการหลั่งเหงื่อ  เล่นโยคะหรือฝึกสมาธิให้ร่างกายและจิตใจผ่อนคลาย รวมถึงช่วยลดความเครียดซึ่งเป็นปัจจัยกระตุ้นให้หลั่ง เหงื่อ และอาจฝึกไบโอฟีดแบ็คซึ่งเป็นการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าช่วยกระตุ้นกระบวนการทางานของร่างกายภายใต้ การดูแลของเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญ  ควบคุมน้าหนักไม่ให้เกินเกณฑ์ด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบทั้ง 5 หมู่ในปริมาณที่ เหมาะสม โดยจากัดปริมาณอาหารจาพวกแป้ง น้าตาล ไขมัน อาหารรสหวานและเค็ม และเพิ่มอาหารที่มี กากใยสูงอย่างผักและผลไม้ควบคู่ไปกับการออกกาลังกายตามสมควรอย่างสม่าเสมอ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ปรึกษาเลือกหัวข้อ 2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน 3. ศึกษารวบรวมข้อมูล 4. จัดทารายงาน 5. นาเสนอครู 6. ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. อินเตอร์เน็ต 2. หนังสือที่เกี่ยวข้อง 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ ___________________________________________________________________
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. .มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติมากขึ้น 2. .ผู้ค้นหาได้เห็นถึงลักษณะต่างๆของภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ และเป็นแนวทางป้องกัน และรักษาต่อไป 3. บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่ศึกษาได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ และสามารถนาไปปฏิบัติ ได้จริง สถานที่ดาเนินการ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) K@POOK! HEALTH. (2552). เหงื่อออกเยอะ เหงื่อออกมากเกินไป. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จาก เว็บไซต์: https://health.kapook.com/view170779.html pobpad. (2561). เหงื่อออกมาก (Hyperhidrosis). สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.pobpad.com/เหงื่อออกมาก กองบรรณาธิการ HONESTDOCS. (2562). เหงื่อออกง่าย. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.honestdocs.co/easy-sweat