SlideShare a Scribd company logo
คํานํา

          จากการประชุมปรึกษาคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2552 ไดมีมติเห็นชอบกับ
แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ตามทีคณะกรรมการจัดทําแผนการบริหาร
                                                     ่
ราชการแผนดิน เสนอ ทั้งนี้ โดยมอบหมายใหสวนราชการและหนวยงานของรัฐนําแผนการ
                                             
บริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ไปประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 ปและ
แผนปฏิบัตราชการประจําป
              ิ
           เพื่อใหการแปลงแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ไปสูการจัดทํา
แผนปฏิบติราชการ 4 ป ทังในระดับกระทรวงและหนวยงานในสังกัด เปนไปอยางถูกตอง
            ั             ้
สอดคลองตรงกัน สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงไดจัดทําแผนการบริหาร
ราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ในสวนกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ขึ้น ซึ่งจะเปนคูมอที่สําคัญใน
                                                                               ื
การจัดทําแผนระดับหนวยงานตอไป
          แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ในสวนกระทรวงวิทยาศาสตรฯ
ประกอบดวยสาระสําคัญ 4 สวน ไดแก สวนที่หนึ่ง คือ เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชีวด กลยุทธ/
                                                                            ้ั
วิธีดําเนินการ ตามแผนการบริหารราชการแผนดินฯ ในสวนที่เกียวของกับกระทรวงวิทยาศาสตรฯ
                                                           ่
ไดแก นโยบายขอ 1 นโยบายขอ 3 นโยบายขอ 6 และนโยบายขอ 8 สวนที่สอง คือ แผนงาน/
โครงการของกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ภายใตแผนการบริหารราชการแผนดิน สวนทีสาม คือ  ่
แผนงาน/โครงการสําคัญ (Flagship Projects) ของกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ภายใตแผนการ
บริหารราชการแผนดิน สวนที่สี่ คือ แผนงาน/โครงการ (Non - Flagship Projects) ของ
กระทรวงวิทยาศาสตรฯ ภายใตแผนงานตามแผนการบริหารราชการแผนดิน




                                          สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร
                                                   และเทคโนโลยี
                                                  มกราคม 2552
สารบัญ

                                                                                             หนา
สวนที่ 1 เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด กลยุทธ/วิธีดําเนินการ ตามแผนการบริหารราชการแผนดิน    1-1
           พ.ศ. 2552-2554 ในสวนที่เกี่ยวของกับกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สวนที่ 2 แผนการบริหารราชการแผนดิน ในสวนของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พ.ศ.             2-1
          2552-2554
สวนที่ 3 แผนงาน/โครงการสําคัญของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ( Flagship Project)          3-1

สวนที่ 4 คําอธิบายแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                  4-1

         (ที่มิใชแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมสําคัญ Flagship Project)

ภาคผนวก
นโยบายที่ ๑ นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก
              จากป ญ หาความขั ด แย ง ในสั ง คมที่ ส ง ผลให ก ารบริ ห ารประเทศในช ว งที่ ผ า นมา
ขาดความกาวหนา และปญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่สงผลกระทบอยางรุนแรงตอระบบเศรษฐกิจไทยเร็วกวา
ที่คาดการณไว รัฐบาลถือเปนความจําเปนเรงดวนในการมุงสรางความสมานฉันทในสังคม ควบคูไปกับ
การขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถรอดพนจากปญหาวิกฤตตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน
โดยรัฐบาลจะดําเนินการปฏิรูปการเมืองเพื่อวางระบบการบริหารประเทศใหมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ
ในแนวทางการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัต ริยท รงเปน ประมุข และเสริมสราง
ความสามัค คีใ หเ กิด ขึ้น ในสัง คมโดยเร็ว เรง แกไ ขปญ หาเศรษฐกิจ ที่เ กิด ขึ้น ในปจ จุบั น โดยการสรา ง
ความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก ควบคูไปกับการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยจัดตั้ง
กลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ การเรงนําเม็ดเงินของรัฐเขาสูระบบเศรษฐกิจเพื่อบรรเทาภาวะ
ความเดือ นรอ นของประชาชน และภาคธุร กิ จ เรง รั ด ดํ า เนิ น มาตรการร วมกั บ ภาคเอกชนทั้ง ในด า น
การทอ งเที่ย ว และการรองรั บ ผู วางงานในภาคอุ ต สาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดยอ ม
ภาคการทองเที่ยว ภาคธุรกิจ และแรงงานจบใหม รวมทั้งรัฐบาลจะดําเนินมาตรการเพื่อรักษาและสราง
รายได และลดภาระคาครองชีพของประชาชนและชุมชน รวมทั้งการกระตุนการบริโภค โดยกํากับดูแลราคา
สินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปน ลดภาระคาใชจายดานสาธารณูปโภคใหแกผูมีรายไดนอย และเรงดําเนินการ
ใหการศึกษา ๑๕ ป โดยไมเสียคาใชจาย นอกจากนี้ รัฐบาลจะมุงเนน การเสริมสรางความเขมแข็งของ
เศรษฐกิจฐานรากซึ่งเปนภาคสวนที่มีความสําคัญอยางยิ่งของประเทศ โดยจะดําเนินการรักษาเสถียรภาพ
ราคาสินคาเกษตรที่สาคัญ การจัดตั้งกองทุนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน และการจัดสรรเบียยังชีพ
                      ํ                                                                              ้
แกผสงอายุ เพื่อสรางรายได และอาชีพที่ยั่งยืนใหแกเกษตรกรและประชาชนในชนบท รวมทั้งการสรางขวัญ
     ู ู
กําลังใจใหแกบุคลากรดานสุขภาพในชุมชน

               นอกเหนือจากการเรงแกไขปญหาดานความสมานฉันทในสังคม การปฏิรูปการเมือง และการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศ และระดับ ฐานรากแลว รัฐ บาลจะเรงรัดการลงทุนสําคัญ ทั้งใน
ดานการศึกษา ดานสาธารณสุข ดานทรัพยกรน้ํา และดานโครงสรางพื้นฐาน ซึ่งนอกจากจะเปนการสราง
ฐานการพัฒนา และการเพิ่มขีดความสามารถในการแขง ขัน ของประเทศในระยะตอไปแลว การลงทุน
ดังกลาวจะมีสวนชวยกระตุนการลงทุนจากภาคเอกชนภายในประเทศ และตางประเทศ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ
ในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ ใหสามารถขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยมีเปาหมาย ตัวชี้วัด
กลยุทธ วิธีดําเนินการที่สาคัญ ดังนี้
                          ํ




แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                               ๗
๑.๑ การสรางความเชื่อมั่นและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่น
    แกภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค

       ๑.๑.๑ เสริมสรางความสมานฉันทและความสามัคคีของคนในชาติ
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                  เปาหมายเชิงนโยบาย                                         ตัวชี้วัด
        ๑. ประชาชนในชาติ มีความรั กความสมาน − มีสื่อภาครัฐ ที่เสนอขาวในเชิงสรางสรรค
           สามั ค คี เ ป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น และ ต อ การสร า งความสมานฉั น ท ใ นสั ง คม
           เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย                       และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยซึ่งเปน
                                                             ศูนยรวมจิตใจของปวงชน

        ๒. สังคมใชแนวทางสันติวิธีใ นการแกปญหา − มีการจัดเวทีสาธารณะที่นําไปสูการแกไข
           ความขัดแยงภายใตระบอบประชาธิปไตย       ป ญ หาอย า งสั น ติ หรื อ การจั ด ตั้ ง กลไก
           อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข        ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ร ว ม ข อ ง ภ า ค ส ว น ที่
                                                   เกี่ย วของเพื่อสรางการมีสวนรวมในการ
                                                   แกไขปญหาความขัดแยงดวยกระบวนการ
                                                   ของระบอบประชาธิ ป ไตยภายใต ค วาม
                                                   เคารพความคิ ด เห็น ที่แ ตกตา งและสิท ธิ
                                                   ของเสียงสวนนอย
        ๓. ประชาชนเคารพกฎหมายและกติกาสังคม − มีกิจกรรมที่สงเสริมการสรางจิตสํานึกใน
           ตลอดจนปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายในทุ ก        ประโยชน ส าธารณะ การมี ส ว นร ว ม
           สถานการณ                               การเอื้อ อาทรกัน หลัก เหตุผ ล และหลั ก
                                                   นิติธรรมในการจรรโลงสังคม

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                           นโยบาย                                  กลยุทธ/วิธการ
                                                                               ี
         ๑. เสริ ม สร า งความสมานฉั น ท แ ละความ − เสริมสรางสภาวะแวดลอมที่เอื้ออํานวยให
            สามัค คีของคนในชาติใ หเ กิด ขึ้น โดยเร็ ว มีก ารบั ง คั บ ใชก ฎหมายอย างเท าเทีย ม
            โดยใชแนวทางสันติ รับฟงความเห็นจาก        และเปน ธรรมแกทุก ฝาย รวมทั้ง สงเสริม
            ทุกฝาย และหลีกเลี่ยงการใชความรุนแรง      ใหทุกฝายเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย
            ในการแกไขปญหาความขัดแยงในชาติใน

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                          ๘
นโยบาย                                     กลยุทธ/วิธการ   ี
             ทุก กรณี รวมทั้ง ฟน ฟูระเบีย บสังคมและ − เสริมสรางความรูความเขาใจของประชาชน
             บังคับใชกฎหมายอยางเทาเทียมและเปน       ในชาติ ให ยึ ดมั่ นการปกครองในระบอบ
             ธรรมแกทุกฝาย ตลอดจนสนับสนุนองคกร        ประชาธิ ป ไตยอั นมี พ ระมหากษั ตริ ยเ ป น
             ตามรัฐธรรมนูญใหมีสวนรวมในการสราง       ประมุ ข และส ง เสริ ม การเรี ย นการสอน
             ความสมานฉั น ท ภายใต ก รอบของ            การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยเพื่ อ
             บทบาท อํานาจและหนาที่ขององคกร            สนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในระบอบ
                                                        ประชาธิปไตย
                                                      − เสริ ม สร า งจิ ต สํ า นึ ก ความรั ก ชาติ แ ละ
                                                        ความสามั ค คี ข องคนในชาติ โดยใช
                                                        วั ฒ นธรรม ประเพณี และกี ฬ าเป น สื่ อ
                                                        ในการเสริ มสร า งความสมานฉัน ท แ ละ
                                                        ความสามัคคี
                                                      − สนั บ สนุ น องค ก รตามรั ฐ ธรรมนู ญ และ
                                                        เสริ ม สร า งกลไกชุ ม ชนในการส ง เสริ ม
                                                        ประชาธิปไตยและเสริมสรางความเขาใจ
                                                        ร ว มกั น เพื่ อ ให เ กิ ด ความสมั ค รสมาน
                                                        สามัคคี
                                                      − พัฒ นาประสิ ท ธิภ าพด า นการข า วกรอง
                                                        เพื่อสนั บ สนุ น การแก ไ ขป ญ หาความ
                                                        ขัด แยง โดยสั น ติ วิธี ตรงกลุมเปาหมาย
                                                        รวมทั้ ง เสริม สรา งความสมานฉั น ทแ ละ
                                                        ความสามัคคีของคนในชาติ
                                                      − เสริ ม สร า งวั ฒ นธรรมการอยู ร ว มกั น ใน
                                                        สังคมไทยโดยไมใชความรุนแรง




แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                           ๙
๑.๑.๒ จัดใหมีสํานักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใตเปนองคกรถาวร
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                   เปาหมายเชิงนโยบาย                                          ตัวชี้วัด
        ๑. จัดระบบและกลไกการบริหารจัดการและ − มีกลไกที่รับผิดชอบดานการบริหารจัดการ
           กําหนดใหจังหวัดชายแดนภาคใตเปนเขต                 การพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ที่ มี
           พัฒนาพิเศษ                                          เอกภาพ
                                                             − จังหวัดชายแดนภาคใตไดรับการกําหนด
                                                               เปนเขตพัฒนาพิเศษ
        ๒. ประชาชนมี ค วามปลอดภั ย ในชี วิ ต และ − เหตุ ก ารณ ค วามไม ส งบลดลงอย า ง
           ทรัพยสิน สามารถดํารงชีพและประกอบ                   ตอเนื่อง
           อาชี พ ได อ ย า งปกติ รวมทั้ ง ได รั บ สิ ท ธิ − ชุ ม ชนในพื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย มี ก ารกํ า หนด
           พื้นฐานตามกฎหมายอยางเสมอภาคและ                     มาตรการการรักษาความปลอดภัยอยาง
           เปนธรรม มีความเชื่อถือและศรัทธาตอรัฐ              เปนระบบ
           ตลอดจนได รั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพให − ประชาชนได รั บ ความเป น ธรรมมากขึ้ น
           สามารถพึ่งตนเองและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น            โดยมีเรื่องรองเรียนความไมเปนธรรมและ
                                                               การละเมิดสิทธิ์ลดลง
                                                             − ผูห ลงผิดกลับ ใจคืน สูสังคมเพิ่มขึ้น อยาง
                                                               ตอเนื่อง และประชาชนที่เขามามีสวนรวม
                                                               ในกิจกรรมของรัฐเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง
                                                             − ประชาชนได รั บ การขยายโอกาสทาง
                                                               การศึ ก ษา โดยอั ต ราการเรี ย นรู เ พิ่ ม ขึ้ น
                                                               อยางตอเนื่อง
                                                             − ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นจากอัตรา
                                                               การตายแมและเด็กและอัตราการเจ็บปวย
                                                               ลดลงอยางตอเนื่อง
        ๓. ระบบเศรษฐกิจมีความเขมแข็ง ประชาชน − ประชาชนมีโอกาสการทํางานเพิ่มขึ้นจาก
           มี ค วามมั่ น ค งในอาชี พ แ ละมี ร ายได            อัตราการวางงานไมสูงกวาระดับภาคและ
           เพี ย งพอต อ การดํ า รงชี วิ ต โดยมี ก าร          แรงงานมีหลักประกันและความปลอดภัย
           กระจายผลการพั ฒ นาอย า งเป น ธรรม                 ในการทํางาน
           มากขึ้น                                           − สัดสวนคนจนลดลงอยางตอเนื่อง

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                 ๑๐
กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                             นโยบาย                                          กลยุทธ/วิธการ ี
        ๑. จัด ให มีสํา นัก งานบริ ห ารราชการจั ง หวั ด − จัดใหมีคณะกรรมการระดับนโยบายเพื่อ
           ชายแดนภาคใตเ ปน องคก รถาวร เพื่อทํา              ศึ ก ษาและพิ จ ารณาแนวทางการแก ไ ข
           หน า ที่ แ ก ไขป ญ ห า แ ล ะพั ฒ น า พื้ น ที่   ป ญ หาความไม ส งบในพื้ น ที่ จั ง หวั ด
           ชายแดนภาคใต โดยยึดมั่นหลักการสราง                 ชายแดนภาคใตใ หสอดคลองเหมาะสม
           ความสมานฉั น ท แ ละแนวทาง “เข า ใจ                กับสถานการณในพื้นที่ ซึ่งมีความยืดหยุน
           เขาถึง พัฒนา” ใชกระบวนการยุติธรรมกับ              และหลากหลายทางศาสนา และ
           ผูก ระทําผิด อยางเครง ครัดและเปน ธรรม           วัฒนธรรม โดยกําหนดใหจังหวัดชายแดน
           กํา หนดจั ง หวัด ชายแดนภาคใต เ ป น เขต            ภาคใตเ ปน เขตพัฒนาเศรษฐกิจ ที่มีก าร
           พัฒนาพิเ ศษที่มีการสนับ สนุนแหลงเงิน กู           สนับสนุนแหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํา และสิทธิ
           ดอกเบี้ ย ต่ํ า สิ ท ธิ พิ เ ศษด า นภาษี และ       พิ เ ศษด า นภาษี และพิ จ ารณาความ
           อุตสาหกรรมฮาลาล รวมทั้งสนับสนุน ให                 เหมาะสมในการปรั บ โครงสร างองค ก ร
           เปนเขตพัฒนาพิเศษที่มีความยืดหยุนและ               กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวของ
           หลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรม                       − ควบคุ ม สถานการณ ค วามไม ส งบและ
                                                               สรางความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
                                                               ของประชาชนเพื่อสรางความเชื่อมั่น ใน
                                                               อํานาจรัฐและสรางภูมิคุมกันแกค นกลุม
                                                               เสี่ยง
                                                               • เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพงานการข า วโดย
                                                                    บู ร ณ า ก า ร ข อ มู ล ก ล ไ ก แ ล ะ
                                                                    กระบวนการตรวจสอบตลอดจนการ
                                                                    ประมวลข า วกรองของหน ว ยงานที่
                                                                    เ กี่ ย ว ข อ ง ใ ห ค ร อ บ ค ลุ ม ทุ ก มิ ติ
                                                                    สถานการณและพื้นที่
                                                               • เพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความสงบ
                                                                    เรียบรอยโดยใหความสําคัญกับพื้นที่
                                                                    เสี่ย งภัย และ คุมครองผูบริสุทธิ์มิใ ห
                                                                    ถูก คุก คามหรือถูก ชัก จูงในทางที่ผิ ด
                                                                    และใหโอกาสผูหลงผิดกลับคืนสูสังคม
                                                               • เตรียมความพรอมดานทรัพยากรให
แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                     ๑๑
นโยบาย                              กลยุทธ/วิธการ  ี
                                                     พร อ มรั บ สถานการณ และเผชิ ญ ภั ย
                                                     รวมทั้ งป อ ง กั น แล ะแก ไ ขป ญ ห า
                                                     สาธารณภัย
                                             − อํานวยความเปนธรรมและความยุติธรรม
                                               แก ค นทุก ฝ ายอย างเทา เที ย มทั้ ง ผู ได รั บ
                                               ผลกระทบโดยตรง ประชาชนผูบ ริ สุ ท ธิ์
                                               และบุคคลผู ดอยโอกาสเพื่อ สร างความ
                                               เชื่อถือและศรัทธาตอรัฐ
                                               • เพิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก ร ะ บ ว น ก า ร
                                                     ยุติธรรมใหเปนที่พึ่งของประชาชน
                                               • เสริมสรางความเขาใจและการมีสวน
                                                     ร ว มของประชาชนในกระบวนการ
                                                     ยุติธรรม
                                               • ช ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ เ ยี ย ว ย า ผู ไ ด รั บ
                                                     ผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบ
                                                     อยางทั่วถึงและเปนธรรม
                                             − ส ง เสริ ม กระบวนการสั น ติ วิ ธี ที่ ยึ ด หลั ก
                                               ความเป น ธรรมและการมี ส ว นร ว มของ
                                               ทุกฝายใหเกิดความสามัคคีและลดความ
                                               ขัดแยง ตอกัน สามารถอยูรวมกัน อยางมี
                                               ความสุขบนพื้นฐานความหลากหลายใน
                                               ความคิด วิถีชีวิตและวัฒนธรรม
                                               • สงเสริมกิจกรรมวัฒนธรรม ประเพณี
                                                     ประวั ติ ศ าสตร ศาสนา ดนตรี กี ฬ า
                                                     เพื่อรัก ษาอัต ลัก ษณและคุณ คาดาน
                                                     จิ ต ใ จ ร วม ทั้ ง วิ ถี สั ง ค ม ที่ มี ค ว า ม
                                                     ปรองดองและสมานฉันท
                                               • เพิ่มประสิทธิภาพงานมวลชนสัมพันธ
                                                     ง า น สั ง ค ม จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร
                                                     ประชาสัมพันธเ ชิง รุก เพื่อสรางการมี

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                        ๑๒
นโยบาย                              กลยุทธ/วิธการ
                                                                         ี
                                                    สวนรวมอยางสรางสรรค
                                               • เพิ่มบทบาทกลุมพลังสังคมทั้งเยาวชน
                                                    สตรี ปญญาชน ปราชญชาวบาน และ
                                                    ผูนําชุมชนรวมสรางความสมานฉัน ท
                                                    ของสังคม
                                               • เพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรของภาครัฐ
                                                    ในการปฏิบัติงานตามแนวทางสันติวิธี
                                                    เพื่อเสริมสรางสัน ติสุขของพื้นที่อยาง
                                                    จริงจัง
                                             − พั ฒ นาศั ก ยภาพและคุ ณ ภาพคนเพื่ อ
                                               ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และทั ก ษะการ
                                               ดํารงชีวิตเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของ
                                               ครอบครั ว ชุมชน และความสมานฉัน ท
                                               ของสังคม
                                               • ขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป การศึ ก ษาทั้ ง
                                                    ระบบทุ ก ระดับ อย า งจริ ง จั ง โดยจั ด
                                                    การศึ ก ษาเชิ ง บู ร ณาการกั บ วิ ถี ชี วิ ต
                                                    อั ต ลั ก ษณ ค วามหลากหลายทาง
                                                    วั ฒ นธรรมและความต อ งการของ
                                                    ทองถิ่น
                                               • พั ฒ นาคุ ณ ภาพบริ ก ารสาธารณสุ ข
                                                    และสวั ส ดิ ก ารผู ด อ ยโอกาสและ
                                                    เสริมสรางความเขมแข็งของสถาบัน
                                                    ครอบครัว
                                               • สง เสริ มกระบวนการชุ มชนเข มแข็ ง
                                                    เพื่อเพิ่มศัก ยภาพการพึ่ง ตนเองและ
                                                    พึ่งพากันในชุมชน
                                             − พัฒนาเศรษฐกิจ ใหสอดคลองกับวิถีชีวิต
                                               และวั ฒ นธรรมของประชาชนและฐาน
                                               ทรั พ ยากรของท อ งถิ่น โดยยึด แนวทาง

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                  ๑๓
นโยบาย                              กลยุทธ/วิธการ
                                                                         ี
                                               เศรษฐกิจพอเพียงและกระบวนการพัฒนา
                                               แบบมีสวนรวมเพื่อเสริมสรางความมั่นคง
                                               ในการดํารงชีพของประชาชน
                                               • เสริมสรางความมั่นคงทางอาชีพและ
                                                    รายไดแกกลุมคนมีรายไดนอยบนฐาน
                                                    ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ที่ มี ค ว า ม
                                                    หลากหลายทางชี ว ภาพและรั ก ษา
                                                    ความสมดุลของสภาพแวดลอมอยาง
                                                    ยั่งยืน
                                               • ส ง เสริ ม การพั ฒ นาการเกษตรและ
                                                    ผลิ ต ภั ณ ฑ ก ารเกษตรที่ มี ศั ก ยภาพ
                                                    อยางครบวงจร เหมาะสมสอดคลอง
                                                    กั บ วิ ถี ชี วิ ตของแต ละชุ มชน แล ะ
                                                    ทรั พ ยา ก รใ น พื้ น ที่ ใ ห เชื่ อมโย ง
                                                    เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ฐ า น ร า ก ตั้ ง แ ต ร ะ ดั บ
                                                    ครอบครัว ชุมชน สูระดับประเทศ
                                               • พัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลโดยเฉพาะ
                                                    สินคาชุมชนและธุรกิจขนาดกลางและ
                                                    ขนาดยอมที่มีศักยภาพ ใหมีคุณภาพ
                                                    แล ะได รั บก าร รั บ รองม าต รฐ า น
                                                    ฮาลาลควบคู ไ ปกั บ การส ง เสริ ม
                                                    การตลาดใหกวางขวางมากขึ้น
                                               • พัฒนาดานการคา การทองเที่ยว การ
                                                    บริ ก าร และการเชื่ อมโยงเศรษฐกิ จ
                                                    ระหวางประเทศ เพื่อเสริมสรางการ
                                                    ลงทุนและแหลงจางงานใหม ๆ
                                               • เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและ
                                                    พัฒนาพลังงานทางเลือก
                                             − เสริมสรางความเขาใจกับนานาประเทศ
                                               เกี่ย วกับ นโยบายของรัฐ บาลไทยในการ

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                    ๑๔
นโยบาย                                       กลยุทธ/วิธการ
                                                                                  ี
                                                           แก ไ ขป ญ หาความไม ส งบในจั ง หวั ด
                                                           ชายแดนภาคใต
                                                           • เส ริ ม สร า ง คว า ม สั ม พั น ธ ที่ ดี กั บ
                                                               ประเทศเพื่อนบานและกลุม ประเทศ
                                                               มุสลิม
                                                           • เผยแพร ข อ มู ล ข า วสารที่ ถู ก ต อ ง
                                                               เกี่ยวกับสถานการณจังหวัดชายแดน
                                                               ภาคใตแกนานาประเทศ

       ๑.๑.๓ ปฏิรูปการเมือง
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                เปาหมายเชิงนโยบาย                                          ตัวชี้วัด
        ๑. ระบบการเมืองไทยมีเสถียรภาพ และมี            − มี รั ฐ บาลที่ มี ค วามมั่ น คงในการบริ ห าร
           ธรรมาภิบาล                                    ประเทศ

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                         นโยบาย                                  กลยุทธ/วิธการ
                                                                             ี
        ๑. ปฏิรูป การเมือง โดยจัด ตั้ง คณะกรรมการ − จั ด ตั้ ง “ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เ พื่ อ ศึ ก ษ า
           เพื่อศึก ษาแนวทางการดําเนิน การปฏิรูป     แนวทางการดําเนินการปฏิรูป” โดยการ
           โดยการมี ส ว นร ว มของภาคประชาชน        มีสวนรวมของภาคประชาชน
           เพื่ อ วางระบบการบริ ห ารประเทศให มี
           เสถีย รภาพและประสิทธิภาพ ในแนวทาง
           การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี
           พระมหากษั ต ริ ย ท รงเป น ประมุ ข และมี
           ความเหมาะสมสอดคล อ งกั บ สภาพ
           สัง คมไทย รวมทั้งสามารถสนองตอบต อ
           การพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน และเปนไป
           ตามความต อ งการของประชาชนอย า ง
           แทจริง


แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                              ๑๕
๑.๑.๔ เรงสรางความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                    เปาหมายเชิงนโยบาย                                       ตัวชี้วัด
        ๑. ความคืบ หนาของการดําเนิน การรวมกับ − กา ร ดํ า เ นิ นง า น ร ว ม กั บรั ฐ ส ภา เ พื่ อ
           รั ฐ สภาเพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข อ งที่
           เกี่ย วของที่ป ระเทศไทยในฐานะสมาชิ ก        ประเทศไทยในฐานะสมาชิ ก ประชาคม
           ประชาคมอาเซีย นจะตองลงนามในชว ง            อาเซียนจะตองลงนามในชวงการประชุม
           การประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน                 สุดยอดผูนําอาเซียนเปน ไปตามแผนงาน
                                                        ของกระทรวงการตางประเทศ
        ๒. ไทยประสบความสําเร็จในการเปนประธาน − การประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย นและการ
           อาเซียน                                      ประชุ ม ที่ เ กี่ ย วข อ งเป น ไปตามแผนงาน
                                                        การเปนประธานอาเซียนของไทย

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                          นโยบาย                                             กลยุทธ/วิธการ
                                                                                          ี
         ๑. เรงสรางความเชื่อมั่นของประเทศไทยใน − สนั บ สนุ น บทบาทและศั ก ยภาพในการ
            สายตาของชาวโลก โดยใหความสําคัญ                    ดํารงตําแหนงประธานอาเซีย นของไทย
            ตอกรอบความรวมมืออาเซียนเปนลําดับ                เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นความร ว มมื อ ในกรอบ
            แร ก แ ล ะ ร ว ม มื อกั บ รั ฐส ภา ใ น ก า ร      อาเซียน
            พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข อ งที่ − เรงประชาสัมพันธเ พื่อสรางความเชื่อมั่น
            ประเทศไทยในฐานะสมาชิก ประชาคม                      และความน า เชื่ อ ของเศรษฐกิ จ ไทยใน
            อาเซี ย นจะต อ งลงนามในช ว งของการ               ต า ง ป ร ะเ ท ศ โ ดย บู ร ณ า กา ร ง า น ที่
            ประชุมสุดยอดผูนําอาเซีย นใหแลวเสร็จ             เกี่ ย วขอ งกั บ การส ง ออก การท องเที่ ย ว
            ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ และเตรียม                    และการลงทุนใหเปนเอกภาพ โดยอาศัย
            ความพรอ มเปน เจ าภาพจั ดการประชุ ม              กลไกของสถานฑูตไทยในตางประเทศ
            สุด ยอดผูนําอาเซียน ครั้ง ที่ ๑๔ ในเดือน
            กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ในฐานะที่ประเทศไทย
            เปนประธานอาเซียน




แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                ๑๖
๑.๑.๕ ฟนฟูเศรษฐกิจที่กําลังประสบปญหาเปนการเรงดวน
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                      เปาหมายเชิงนโยบาย                                   ตัวชี้วัด
        ๑.   กระตุนเศรษฐกิจใหขยายตัวไดอยาง              − อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
             ตอเนื่องเพื่อปองกันและบรรเทาปญหาการ         − มูลคาการลงทุนที่ขอรับสงเสริมการลงทุน
             วางงาน                                        − มูลคาการลงทุนที่ขอรับสงเสริมการลงทุน
        ๒.   มูลคาการลงทุนรวมที่ขอรับสงเสริมการ             ในอุตสาหกรรมเปาหมาย
             ลงทุนในป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ จํานวน
             ๑,๒๕๐,๐๐๐ ลานบาท
        ๓.   สรางความเชื่อมั่นและภาพลักษณในดาน           − มูลคาการคาระหวางประเทศเพิ่มขึ้น
             การคาและการลงทุนของประเทศในระดับ
             นานาชาติ
        ๔.   ลดการสูญเสียรายไดจากการทองเที่ยว             − รายไดจากนักทองเที่ยวตางชาติลดลงจาก
             ไมใหต่ํามากเกินไปจากป ๒๕๕๐                    ป ๒๕๕๐ ไมเกินรอยละ ๕ และรายไดจาก
                                                              นักทองเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจากป ๒๕๕๑
                                                              รอยละ ๕
        ๕. พัฒนา กลไก บริหารจัด การทรัพยากรน้ํา             − จํานวนแหลงน้ําผิวดิน / ใตดิน ที่ไดรับการ
           อนุ รั ก ษ ฟ น ฟู และพั ฒ นาทรั พ ยากรน้ํ า     พั ฒ นาและฟ น ฟู เป น แหล ง น้ํ า ต น ทุ น
           เพื่อเพิ่มน้ําตนทุน รวมทั้งพัฒนาระบบน้ํา          สนับสนุน การอุปโภค บริโภคของประเทศ
           สะอาด                                              ภาคการเกษตร และอุต สาหกรรมอยา ง
                                                              ทั่วถึง เพียงพอ
        ๖. การเขาถึงสินเชื่อของกลุมเปาหมายอยาง          − จํานวนผูกู (ราย) กลุมเปาหมาย
           ทั่วถึง                                          − อัตราเพิ่มการใหสินเชื่อของสถาบันการเงิน
                                                              ตอป

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                           นโยบาย                                  กลยุทธ/วิธการ
                                                                               ี
         ๑. ฟนฟูเศรษฐกิจที่กําลังประสบปญหาเปน − จัดทําแผนฟน ฟูเศรษฐกิจระยะเรงดวนที่
            การเร ง ด ว น โดยจั ด ทํ า เป น แผนฟ น ฟู ครอบคลุ ม การช ว ยเหลื อ และบรรเทา
            เศรษฐกิจระยะสั้นที่ครอบคลุมภาคเกษตร            ปญ หาผลกระทบจากภาวะการชลอตั ว

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                               ๑๗
นโยบาย                                          กลยุทธ/วิธการ
                                                                                          ี
             และเกษตรกร ภาคอุ ต สาหกรรม ภาค                     ของเศรษฐกิจตามกลุมเปาหมายตาง ๆ
             บริการและการทองเที่ยว ภาคการสงออก                และจัด ทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม
             ภาคอสัง หาริมทรั พย การสร างงานและ               ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552
             สรางรายไดในชนบท การพัฒนาแหลงน้ํา − รวมกับภาคเอกชนในการฟนฟูและกระตุน
             ธรรมชาติและฟนฟูทรัพยากรใหแลวเสร็จ              เศรษฐกิ จ ระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ ให เ กิ ด การ
             ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ พรอมทั้ ง                   สรางงานและสรางรายได
             จั ด ทํ า งบประมาณรายจ า ยเพิ่ ม เติ ม − สร า งภาพลัก ษณแ ละความเขื่ อ มั่น ของ
             ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยมี                   ประเทศไทยในระดับนานาชาติ
             วัต ถุประสงคเ พื่อนําเม็ ด เงิน ของรัฐ เขาสู − ดําเนิน โครงการลดผลกระทบวิก ฤตและ
             ระบบเศรษฐกิ จ และเพื่ อ ให ส ามารถ                เสริ ม สร า งขี ด ความสามารถทางการ
             บ ร ร เ ท า ภ า ว ะ ค ว า ม เ ดื อด ร อ น ข อ ง   แขงขันและพัฒนาการตลาด โดยพัฒนา
             ประชาชนและภาคธุรกิจได                             และยกระดับคุณภาพสินคา และบริการที่
                                                                มี ศั ก ยภาพ ดํ า เนิ น ตลาดเชิ ง รุ ก ทั้ ง ใน
                                                                ประเทศ และต า งประเทศ และเร ง ใช
                                                                ประโยชนจากขอตกลงทางการคา
                                                              − ส ง เสริ ม และพั ฒ นาผู ป ระกอบการและ
                                                                บุคลากรดานการทองเที่ยวใหมีคุณภาพ
                                                              − สรางกิจกรรมการจัดการแขง ขันกีฬาเพื่อ
                                                                ฟ น ฟู เ ศรษฐกิ จ ภาคบริ ก ารและการ
                                                                ทองเที่ยวเพื่อนําเม็ดเงินของรัฐเขาสูระบบ
                                                                เศรษฐกิ จ และเพื่ อ ให ส ามารถบรรเทา
                                                                ภาวะความเดือดรอนของประชาชนและ
                                                                ภาคธุรกิจ
                                                              − จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้า           ํ
                                                                แบบบูรณาการและสงเสริมการ มีสวนรวม
                                                                ของทุกภาคสวนใหมีการใชทรัพยากรน้ํา
                                                                เป น ฐานในการพั ฒ นาประเทศและ
                                                                คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องประชาชน และ
                                                                ดําเนิน การบริห ารจั ด การทรัพยากรเพื่ อ
                                                                ชวยเหลือเกษตรกรที่เดือดรอนในระยะสั้น

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                   ๑๘
นโยบาย                               กลยุทธ/วิธการ
                                                                          ี
                                                −   บริหารจัดการทรัพยากรน้ํา เพื่อชวยเหลือ
                                                    เกษตรกรที่เดือดรอนในระยะสั้น
                                                −   พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ําและการ
                                                    ชลประทาน เนนการสูบน้ําดวยไฟฟาและ
                                                    สรางสถานีสูบ น้ําขนาดจิ๋วจากแหลง น้ํ า
                                                    ธรรมชาติ โ ดยให เ กษตรกรรวมกลุ ม
                                                    วางแผนการผลิต รวมทั้ง สงเสริมการใช
                                                    ยางพาราเปนวัตถุดิบ
                                                −   เพิ่มสภาพคลองในระบบเศรษฐกิจ
                                                −   ให ค วามช ว ยเหลื อ ภาคธุ ร กิ จ ที่ ไ ด รั บ
                                                    ผลกระทบจากปญ หาการปด สนามบิ น
                                                    และผลกระทบเศรษฐกิจโลก
                                                −   ใหการสนับสนุนและแรงจูงใจดานภาษีแก
                                                    ธุรกิจเอกชนที่รักษาฐานการจางงาน

       ๑.๑.๖ เรงสร างความเชื่ อมั่นใหแกนั กทองเที่ยวตางชาติและเรงรัดมาตรการ
             กระตุนการทองเที่ยว
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                    เปาหมายเชิงนโยบาย                          ตัวชี้วัด
        ๑. ลดการสูญเสียรายไดจากการทองเที่ยว   − รายไดจากนักทองเที่ยวชาวตางชาติลดลง
           ไมใหต่ํากวาป ๒๕๕๐                  จากป ๒๕๕๐ ไมเกินรอยละ ๕
                                                − รายไดจากนักทองเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจาก
                                                  ป ๒๕๕๑ ไมต่ํากวารอยละ ๕




แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                      ๑๙
กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                            นโยบาย                                              กลยุทธ/วิธการ
                                                                                           ี
        ๑. เรง สรางความเชื่อมั่นใหแกนักทองเที่ย ว        −   เรงประชาสั มพัน ธเ พื่อฟ น ฟูภาพลัก ษณ
           ตางชาติและเรง รัดมาตรการกระตุน การ                  และสรา งความเชื่ อมั่ น แกนั ก ท องเที่ ย ว
           ท อ งเที่ ย ว โดยการดํ า เนิ น การร ว มกั น          ชาวตางชาติ
           ร ะ ห ว า ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ เ อก ช น ใ น ก า ร   −   ส ร า ง ก ร ะ แ ส ก า ร เ ดิ น ท า ง ต ล า ด
           ประชาสัมพันธดึงดูดนักทองเที่ยวตางชาติ               ต า งประเทศและภายในประเทศ เพื่ อ
           ส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วของคนไทยใน                ส ง เสริ ม ให ป ๒๕๕๒ เป น ป แ ห ง การ
           ประเทศ และปรั บแผนงบประมาณของ                          ทองเที่ยวไทย ประทับใจไทยแลนด
           สวนราชการที่ไดรับ งบประมาณรายจาย                −   ดําเนิน การตลาดเชิง รุก เพื่อประมูลสิท ธิ์
           ประจํา ป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ อยู                     ดึงงาน และเพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวกลุม
           แลว เพื่อใชใ นการจั ด การฝ ก อบรมและ                ไมซเขาประเทศ
           สั ม มนาให ก ระจายทั่ ว ประเทศ รวมทั้ ง           −   ส ง เ ส ริ ม พั ฒ น า แ ล ะ ให ค ว า ม รู แ ก
           ลดหย อนค าธรรมเนีย มและค าบริ ก ารที่               ผูประกอบธุรกิจทองเที่ยวและบุคลากรใน
           เกี่ยวของกับการทองเที่ยวเพื่อดึงดูดใหมี             อุตสาหกรรมทองเที่ยวทั่วประเทศ
           การเดินทางทองเที่ยวเพิ่มขึ้น
                                                              −   เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการวิกฤต
                                                                  เพื่ออํานวยความสะดวก ความปลอดภัย
                                                                  แกนักทองเที่ยว
                                                              −   สนั บ สนุ น การจั ด ประชุ ม ฝ ก อบรมและ
                                                                  สัม มนาของหนว ยงานภาครัฐ โดยให มี
                                                                  การปรั บ แผนการใช จ า ยงบประมาณ
                                                                  ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อให
                                                                  สามารถใชจายไดเร็วขึ้น

       ๑.๑.๗ เรงลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                    เปาหมายเชิงนโยบาย                                             ตัวชี้วัด
        ๑. คนไทยทุกกลุม ทุกวัย ไดรับการศึกษาที่มี − จํ า นวนสถานศึ ก ษาผ า นเกณฑ ก าร
           คุณภาพ มาตรฐาน มีการเรียนรูทันตอการ      ประเมินคุณภาพสถานศึกษาเพิ่มขึ้น
           เปลี่ยนแปลงตั้งแตระดับปฐมวัยจนตลอด − ประชากรทุกกลุมวัย ไดรับการเรียนรูทั้ง

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                     ๒๐
เปาหมายเชิงนโยบาย                                         ตัวชี้วัด
           ชีวิต มีศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบ                ในระบบและนอกระบบอยางทั่วถึงยิ่งขึ้น
           อาชีพ และเสริมสรางขีดความสามารถของ − จํานวนสถาบันการศึกษาที่มีความพรอม
           ประเทศในการเปน ศูน ยก ลางการศึก ษา                 ในการเป น ศู น ย ก ลางทางการศึ ก ษา
           ฝ ก อบรม การวิ จั ย และพั ฒ นาในระดั บ              นานาชาติ
           ภูมิภาค
        ๒. การลงทุนเพื่อปรับโครงสรางระบบบริการ − ป ร ะ ช า ช น ส า ม า ร ถ เ ข า ถึ ง บ ริ ก า ร
           สุขภาพใหไดรับ การพัฒนาศัก ยภาพและ                  สาธารณสุ ข ที่ มี คุ ณ ภาพมาตรฐาน
           ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร   เพิ่มขึ้น
           สาธารณสุขที่มคุณภาพมาตรฐาน
                             ี                                − อัตราการปวย/ตายดวยโรคที่เปน ปญ หา
                                                                สํ า คั ญ และสามารถเฝ า ระวั ง ควบคุ ม
                                                                ปองกันไดลดลง
        ๓. โครงขายรถไฟฟาเชื่อมโยงและครอบคลุม − จํานวนเสนทางโครงขายระบบรถไฟฟาที่
           พื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมลฑล                      เพิ่มขึ้น
        ๔. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเดิ น ทางและการ − โครงข า ยรถไฟทางคู ส ายชายฝ ง ทะเล
           ขนสงสินคาทางราง                                    ตะวั น ออก ช ว งฉะเชิ ง เทรา-ศรี ร าชา-
                                                                แหลมฉบัง
        ๕. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดหาแหลงน้ําตนทุน − ขี ด ความสามารถในการกั ก เก็ บ และ
           กักเก็บ และการกระจายน้ํา                             กระจายทรัพยากรน้ําของประเทศเพิ่มขึ้น

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                             นโยบาย                                       กลยุทธ/วิธการ
                                                                                       ี
        ๑. เรง ลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยให ดานการยกระดับคุณภาพการศึกษา
           ความสําคัญ แกโครงการลงทุน ที่มีความ — เสริมสรางการเรีย นรูใ นชุมชน เนน การ
           คุมคามากที่สุด เพื่อเสริมสรางบรรยากาศ            สร า งกระบวนการเรี ย นรู ใ ห กั บ เด็ ก
           การลงทุ น ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ              เยาวชน ผูสู ง อายุ และครอบครัว การ
           ประชาชน และเพิ่มความสามารถในการ                     พัฒนาแหล ง เรีย นรู ของชุมชน รวมทั้ ง
           แขงขันของประเทศ โดยเฉพาะการลงทุน                   วางพื้ น ฐานการศึ ก ษาและการเรี ย นรู
           เพื่อยกระดับคุณ ภาพการศึก ษาทั้งระบบ                แบบองครวม โดยใชผลการประเมินของ
           การลงทุนเพื่อปรับโครงสรางระบบบริการ                สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
           สุ ข ภาพที่ มุ ง สู ก ารป อ งกั น และส ง เสริ ม คุณ ภาพการศึก ษาเปน แนวทางในการ

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                             ๒๑
นโยบาย                                      กลยุทธ/วิธการี
             สุ ข ภาพ การลงทุ น พั ฒ นาระบบขนส ง               ยกระดับคุณภาพการเรียนรู รวมทั้งการ
             มวลชน และการพั ฒ นาระบบบริ ห าร                    ผลิตและพัฒนาครู
             จัดการน้ําและการชลประทาน ใหสามารถ − พั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานทางป ญ ญา
             เริ่มดําเนินโครงการไดในป ๒๕๕๒ โดยให             โดยยกระดับคุณภาพมาตรฐานการผลิต
             คว า ม สํ า คั ญ แ ก ก า ร มี ส ว น ร ว ม ข อ ง กําลัง คนระดับ อาชีวศึก ษา อุดมศึก ษา
             ป ร ะ ช า ช น ก า ร รั ก ษ า สิ่ ง แ ว ด ล อ ม    และการสรางนักวิจัย ตลอดจนสงเสริม
             การดําเนินงานอยางโปรงใส ตรวจสอบได               ก า ร พั ฒ น า ใ ห ไท ย เ ป น ศู น ย ก ล า ง
             และการรัก ษาวิ นัย การคลังของประเทศ                การศึกษาและวิจัยในภูมิภาค
             รวมทั้ ง เร ง รั ด การเบิ ก จ า ยงบลงทุ น ของ − เ ส ริ ม ส ร า ง ก า ร ล ง ทุ น แ ล ะ เ พิ่ ม
             สวนราชการและรัฐวิสาหกิจ                           ความสามารถในการแขงขันของประเทศ
                                                                โดยการลงทุ น เพื่ อ ปรั บ ฐานบริ ก าร
                                                                ทางการกีฬาใหไดมาตรฐานระดับสากล

                                                              ดานระบบบริการสุขภาพ
                                                              − เร ง ลงทุ น เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพระบบ
                                                                  บริการสุขภาพทั้งระบบ โดยการปรับปรุง
                                                                  ระบบบริการในทุกระดับทั้งระดับปฐมภูมิ
                                                                  ทุติ ย ภู มิ ตติ ย ภู มิ และศู น ย ก ารแพทย
                                                                  เฉพาะทาง รวมทั้ ง การพั ฒ นาระบบ
                                                                  สงตอ การปรับระบบการผลิตและพัฒนา
                                                                  บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข
                                                                  ให เ หมาะสม ควบคู กั บ การปรั บ ปรุ ง
                                                                  ระบบข อ มู ล ด า นสุ ข ภาพให มี ค วาม
                                                                  เชื่ อ มโยงกั น ในทุ ก ระบบหลั ก ประกั น
                                                                  สุขภาพ

                                                              ดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน
                                                              − พั ฒ นาโครงข า ยระบบรถไฟฟ า ในพื้ น ที่
                                                                  กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยเฉพาะ
                                                                  สายสี แ ดง บางซื่ อ -ตลิ่ ง ชั น สายสี ม ว ง
                                                                  บางใหญ -บางซื่ อ สายสี น้ํ า เงิ น บางซื่ อ -

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                  ๒๒
นโยบาย                               กลยุทธ/วิธการ
                                                                          ี
                                                 ทาพระ และหัวลําโพง-บางแค สายสีเขียว
                                                 ห ม อ ชิ ต -ส ะ พ า น ใ ห ม แ ล ะ แ บ ริ่ ง -
                                                 สมุ ท รปราการ รวมทั้ ง เส น เชื่ อ มโยง
                                                 ท า อา ก าศ ยา น สุ ว รร ณ ภู มิ เ พื่ อเ พิ่ ม
                                                 ทางเลื อ กให กับ ผู โดยสาร และยกระดั บ
                                                 คุณภาพชีวิตของประชาชน
                                               − พัฒ นาโครงข ายทางราง เพื่ อ เพิ่ม ความ
                                                 สะดวกรวดเร็วในการขนสงสินคาเชื่อมโยง
                                                 พื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก

                                               ดานการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา
                                               − พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ําและการ
                                                   ชลประทานโดยการกอสรางแหลงน้ําและ
                                                   ระบบสงน้ํา
                                               − เพิ่มปริมาณน้ําตนทุนดวยการพัฒนาและ
                                                   ปรั บ ปรุ ง ฟ น ฟู แ หล ง น้ํ า และวางระบบ
                                                   กระจายน้ําใหทั่วถึงและเปนธรรม รวมทั้ง
                                                   การพั ฒนาและฟ น ฟูระบบประปาผิวดิ น
                                                   และบาดาล

๑.๒ การรักษาและเพิ่มรายไดของประชาชน

       ๑.๒.๑ รว มมื อกั บ ภาคเอกชนในการดํ าเนิ น มาตรการชะลอการเลิ ก จา งและ
             ปองกันการขยายตัวของการเลิกจาง

       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                 เปาหมายเชิงนโยบาย                        ตัวชี้วัด
        ๑. ลดปญหาการวางงานในสถานประกอบการ − จํ า นวนสถานประกอบการที่ ไ ด รั บ การ
           ภาคอุตสาหกรรมและบริการ             ชวยเหลือดานการเงินและมาตรการจูงใจ



แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                  ๒๓
กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                            นโยบาย                                กลยุทธ/วิธการ
                                                                               ี
        ๑. ร ว มมื อ กั บ ภาคเอกชนในการดํ า เนิ น − ประสานความรวมมือและใหการชวยเหลือ
           มาตรการชะลอการเลิกจางและปองกันการ       ภาคเอกชนที่ไ ดรั บ ผลกระทบจากภาวะ
           ขยายตัวของการเลิกจางในภาคอุตสาหกรรม      วิก ฤตเศรษฐกิ จ ในด า นต าง ๆ เช น การ
           และบริ การ ทั้ ง อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ     จัด หาแหล ง เงิน ทุน กูยืม ดอกเบี้ย ต่ํา เพื่ อ
           ขนาดกลาง และขนาดยอม โดยใชมาตรการ        เสริม สรางสภาพคลองทางการเงิ น และ
           จูงใจเพื่อลดภาระของภาคเอกชนในการ          การมี ม าตรการทางภาษี เ พื่ อ ลดภาระ
           ชะลอการเลิกจางงาน                        คา ใช จา ย และกระตุ น ภาคการกอ สร า ง
                                                     และการซื้ออสังหาริมทรัพย เปนตน

       ๑.๒.๒ ดําเนินมาตรการเรงดวนเฉพาะหนา เพื่อรองรับปญหาแรงงานวางงาน
             จากภาคอุตสาหกรรมและนักศึกษาจบใหม

       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                     เปาหมายเชิงนโยบาย                            ตัวชี้วัด
         ๑. แรงงานที่วางงาน ถูกเลิกจางและนักศึกษา − จํานวนแรงงานที่ถูกเลิกจางและนักศึกษา
             จบใหม ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ คนใน               จบใหมที่จดทะเบียนเขารับการฝกอบรม
             ป ๒๕๕๒ ไดรับการฝกอบรมเสริมทักษะ − หลักสูตรการฝกอบรมที่มีความหลากหลาย
             สร า งศั ก ยภาพและโอกาสให ก ลั บ ไป    และสอดคลองกับสภาพและความตองการ
             ทํางานที่เปนประโยชนแกทองถิ่นชุมชนใน  ของทองถิ่น
             ภูมิลําเนา

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                            นโยบาย                               กลยุทธ/วิธการ   ี
         ๑. ดําเนินมาตรการเรงดวนเฉพาะหนา เพื่อ − ฝกอบรมเพิ่มทักษะความสามารถในการ
            รองรั บป ญ ห าแรง งานว างงา นจา ก       ทํ า งานให แ ก ผู ว า งงาน และนั ก ศึ ก ษา
            ภาคอุต สาหกรรมและนัก ศึก ษาจบใหม         จบใหม โดยมี ห ลั ก สู ต รที่ ห ลากหลาย
            โดยจั ด โครงการฝ ก อบรมแรงงานที่         เพื่อสรางทางเลือกในการประกอบอาชีพ
            ว า ง ง า น ป ร ะ ม า ณ ๕ ๐ ๐ ,๐ ๐ ๐ ค น ไดตามความถนัดและศักยภาพ
            ในระยะเวลา ๑ ป ตามกลุม ความถนั ด − สงเสริมความรวมมือกับนิคมอุตสาหกรรม

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                        ๒๔
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54

More Related Content

What's hot

ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติ
Teeranan
 
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
Ying Kanya
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครองกฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
Ceo คืออะไร
Ceo คืออะไรCeo คืออะไร
Ceo คืออะไรfikirkanboleh
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
Teeranan
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546สายฝน ต๊ะวันนา
 
หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (ฉบับที่ ...
หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (ฉบับที่ ...หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (ฉบับที่ ...
หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (ฉบับที่ ...
Victor Ronin
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
Taraya Srivilas
 
อำนาจหน้าที่ของสถานศึกษา โรงเรียนวัดห้วยพระ
อำนาจหน้าที่ของสถานศึกษา โรงเรียนวัดห้วยพระอำนาจหน้าที่ของสถานศึกษา โรงเรียนวัดห้วยพระ
อำนาจหน้าที่ของสถานศึกษา โรงเรียนวัดห้วยพระ
Watcharasak Chantong
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 

What's hot (16)

ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติ
 
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครองกฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
 
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
 
Ceo คืออะไร
Ceo คืออะไรCeo คืออะไร
Ceo คืออะไร
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
 
หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (ฉบับที่ ...
หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (ฉบับที่ ...หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (ฉบับที่ ...
หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (ฉบับที่ ...
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
อำนาจหน้าที่ของสถานศึกษา โรงเรียนวัดห้วยพระ
อำนาจหน้าที่ของสถานศึกษา โรงเรียนวัดห้วยพระอำนาจหน้าที่ของสถานศึกษา โรงเรียนวัดห้วยพระ
อำนาจหน้าที่ของสถานศึกษา โรงเรียนวัดห้วยพระ
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 

Viewers also liked

2552 3-dr-ying kalaya-policy
2552 3-dr-ying kalaya-policy2552 3-dr-ying kalaya-policy
2552 3-dr-ying kalaya-policyps-most
 
2553 14.integration withprovince
2553 14.integration withprovince2553 14.integration withprovince
2553 14.integration withprovinceps-most
 
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.102552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10ps-most
 
2552 11-summary-of-2552 budget
2552 11-summary-of-2552 budget2552 11-summary-of-2552 budget
2552 11-summary-of-2552 budgetps-most
 
2552 12-a-measure-ministry
2552 12-a-measure-ministry2552 12-a-measure-ministry
2552 12-a-measure-ministryps-most
 
2553 5-planof national economicandsocial
2553 5-planof national economicandsocial2553 5-planof national economicandsocial
2553 5-planof national economicandsocialps-most
 
Policy veerachai53
Policy veerachai53Policy veerachai53
Policy veerachai53ps-most
 
2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policy2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policyps-most
 
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-25522552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552ps-most
 
2552 7-plan-official4years(2551-2554)
2552 7-plan-official4years(2551-2554)2552 7-plan-official4years(2551-2554)
2552 7-plan-official4years(2551-2554)ps-most
 
2552 9-strategic-ministry
2552 9-strategic-ministry2552 9-strategic-ministry
2552 9-strategic-ministryps-most
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-landps-most
 
ข้อสอบโควตา มช 2555 คณิต
ข้อสอบโควตา มช 2555 คณิตข้อสอบโควตา มช 2555 คณิต
ข้อสอบโควตา มช 2555 คณิตGe Ar
 

Viewers also liked (13)

2552 3-dr-ying kalaya-policy
2552 3-dr-ying kalaya-policy2552 3-dr-ying kalaya-policy
2552 3-dr-ying kalaya-policy
 
2553 14.integration withprovince
2553 14.integration withprovince2553 14.integration withprovince
2553 14.integration withprovince
 
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.102552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
 
2552 11-summary-of-2552 budget
2552 11-summary-of-2552 budget2552 11-summary-of-2552 budget
2552 11-summary-of-2552 budget
 
2552 12-a-measure-ministry
2552 12-a-measure-ministry2552 12-a-measure-ministry
2552 12-a-measure-ministry
 
2553 5-planof national economicandsocial
2553 5-planof national economicandsocial2553 5-planof national economicandsocial
2553 5-planof national economicandsocial
 
Policy veerachai53
Policy veerachai53Policy veerachai53
Policy veerachai53
 
2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policy2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policy
 
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-25522552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
 
2552 7-plan-official4years(2551-2554)
2552 7-plan-official4years(2551-2554)2552 7-plan-official4years(2551-2554)
2552 7-plan-official4years(2551-2554)
 
2552 9-strategic-ministry
2552 9-strategic-ministry2552 9-strategic-ministry
2552 9-strategic-ministry
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
 
ข้อสอบโควตา มช 2555 คณิต
ข้อสอบโควตา มช 2555 คณิตข้อสอบโควตา มช 2555 คณิต
ข้อสอบโควตา มช 2555 คณิต
 

Similar to 2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54

บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระtongsuchart
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้าkrusuparat01
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
KruBeeKa
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติsuthat22
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
Klangpanya
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media law
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media lawBasic concept and fundamental principal for safe and creative media law
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media law
National Institute for Child and Family Development , Mahidol university
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
Wiroj Suknongbueng
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 

Similar to 2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54 (20)

บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระ
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
งานสำคัญ
งานสำคัญงานสำคัญ
งานสำคัญ
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media law
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media lawBasic concept and fundamental principal for safe and creative media law
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media law
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 

More from ps-most

2552 10-vision-mission
2552 10-vision-mission2552 10-vision-mission
2552 10-vision-missionps-most
 
Interview
InterviewInterview
Interview
ps-most
 
2553 13-performance
2553 13-performance2553 13-performance
2553 13-performanceps-most
 
2553 12-indicators ministry
2553 12-indicators ministry2553 12-indicators ministry
2553 12-indicators ministryps-most
 
2553 11-summaryof2553
2553 11-summaryof25532553 11-summaryof2553
2553 11-summaryof2553ps-most
 
2553 10-vision missionvalues
2553 10-vision missionvalues2553 10-vision missionvalues
2553 10-vision missionvaluesps-most
 
2553 9-strategy-ministry
2553 9-strategy-ministry2553 9-strategy-ministry
2553 9-strategy-ministryps-most
 
2553 8-government actionplan-after-budget)
2553 8-government actionplan-after-budget)2553 8-government actionplan-after-budget)
2553 8-government actionplan-after-budget)ps-most
 
2553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-25552553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-2555ps-most
 
2553 6-strategic-budgeting
2553 6-strategic-budgeting2553 6-strategic-budgeting
2553 6-strategic-budgetingps-most
 
2553 4-indexof sciencethailand
2553 4-indexof sciencethailand2553 4-indexof sciencethailand
2553 4-indexof sciencethailandps-most
 
2553 3-dr kalaya-policy
2553 3-dr kalaya-policy2553 3-dr kalaya-policy
2553 3-dr kalaya-policyps-most
 
2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policyps-most
 
2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policyps-most
 
2554-9.metric
2554-9.metric2554-9.metric
2554-9.metricps-most
 
2554-7.strategy of-most
2554-7.strategy of-most2554-7.strategy of-most
2554-7.strategy of-mostps-most
 
4.plan of-the nationaleconomicandsocial
4.plan of-the nationaleconomicandsocial4.plan of-the nationaleconomicandsocial
4.plan of-the nationaleconomicandsocialps-most
 
6mergeplaning4year
6mergeplaning4year6mergeplaning4year
6mergeplaning4yearps-most
 

More from ps-most (18)

2552 10-vision-mission
2552 10-vision-mission2552 10-vision-mission
2552 10-vision-mission
 
Interview
InterviewInterview
Interview
 
2553 13-performance
2553 13-performance2553 13-performance
2553 13-performance
 
2553 12-indicators ministry
2553 12-indicators ministry2553 12-indicators ministry
2553 12-indicators ministry
 
2553 11-summaryof2553
2553 11-summaryof25532553 11-summaryof2553
2553 11-summaryof2553
 
2553 10-vision missionvalues
2553 10-vision missionvalues2553 10-vision missionvalues
2553 10-vision missionvalues
 
2553 9-strategy-ministry
2553 9-strategy-ministry2553 9-strategy-ministry
2553 9-strategy-ministry
 
2553 8-government actionplan-after-budget)
2553 8-government actionplan-after-budget)2553 8-government actionplan-after-budget)
2553 8-government actionplan-after-budget)
 
2553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-25552553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-2555
 
2553 6-strategic-budgeting
2553 6-strategic-budgeting2553 6-strategic-budgeting
2553 6-strategic-budgeting
 
2553 4-indexof sciencethailand
2553 4-indexof sciencethailand2553 4-indexof sciencethailand
2553 4-indexof sciencethailand
 
2553 3-dr kalaya-policy
2553 3-dr kalaya-policy2553 3-dr kalaya-policy
2553 3-dr kalaya-policy
 
2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy
 
2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy
 
2554-9.metric
2554-9.metric2554-9.metric
2554-9.metric
 
2554-7.strategy of-most
2554-7.strategy of-most2554-7.strategy of-most
2554-7.strategy of-most
 
4.plan of-the nationaleconomicandsocial
4.plan of-the nationaleconomicandsocial4.plan of-the nationaleconomicandsocial
4.plan of-the nationaleconomicandsocial
 
6mergeplaning4year
6mergeplaning4year6mergeplaning4year
6mergeplaning4year
 

2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54

  • 1.
  • 2.
  • 3. คํานํา จากการประชุมปรึกษาคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2552 ไดมีมติเห็นชอบกับ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ตามทีคณะกรรมการจัดทําแผนการบริหาร ่ ราชการแผนดิน เสนอ ทั้งนี้ โดยมอบหมายใหสวนราชการและหนวยงานของรัฐนําแผนการ  บริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ไปประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 ปและ แผนปฏิบัตราชการประจําป ิ เพื่อใหการแปลงแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ไปสูการจัดทํา แผนปฏิบติราชการ 4 ป ทังในระดับกระทรวงและหนวยงานในสังกัด เปนไปอยางถูกตอง ั ้ สอดคลองตรงกัน สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงไดจัดทําแผนการบริหาร ราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ในสวนกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ขึ้น ซึ่งจะเปนคูมอที่สําคัญใน ื การจัดทําแผนระดับหนวยงานตอไป แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 ในสวนกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ประกอบดวยสาระสําคัญ 4 สวน ไดแก สวนที่หนึ่ง คือ เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชีวด กลยุทธ/ ้ั วิธีดําเนินการ ตามแผนการบริหารราชการแผนดินฯ ในสวนที่เกียวของกับกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ่ ไดแก นโยบายขอ 1 นโยบายขอ 3 นโยบายขอ 6 และนโยบายขอ 8 สวนที่สอง คือ แผนงาน/ โครงการของกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ภายใตแผนการบริหารราชการแผนดิน สวนทีสาม คือ ่ แผนงาน/โครงการสําคัญ (Flagship Projects) ของกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ภายใตแผนการ บริหารราชการแผนดิน สวนที่สี่ คือ แผนงาน/โครงการ (Non - Flagship Projects) ของ กระทรวงวิทยาศาสตรฯ ภายใตแผนงานตามแผนการบริหารราชการแผนดิน สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี มกราคม 2552
  • 4. สารบัญ หนา สวนที่ 1 เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด กลยุทธ/วิธีดําเนินการ ตามแผนการบริหารราชการแผนดิน 1-1 พ.ศ. 2552-2554 ในสวนที่เกี่ยวของกับกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สวนที่ 2 แผนการบริหารราชการแผนดิน ในสวนของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พ.ศ. 2-1 2552-2554 สวนที่ 3 แผนงาน/โครงการสําคัญของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ( Flagship Project) 3-1 สวนที่ 4 คําอธิบายแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4-1 (ที่มิใชแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมสําคัญ Flagship Project) ภาคผนวก
  • 5. นโยบายที่ ๑ นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก จากป ญ หาความขั ด แย ง ในสั ง คมที่ ส ง ผลให ก ารบริ ห ารประเทศในช ว งที่ ผ า นมา ขาดความกาวหนา และปญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่สงผลกระทบอยางรุนแรงตอระบบเศรษฐกิจไทยเร็วกวา ที่คาดการณไว รัฐบาลถือเปนความจําเปนเรงดวนในการมุงสรางความสมานฉันทในสังคม ควบคูไปกับ การขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถรอดพนจากปญหาวิกฤตตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน โดยรัฐบาลจะดําเนินการปฏิรูปการเมืองเพื่อวางระบบการบริหารประเทศใหมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ ในแนวทางการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัต ริยท รงเปน ประมุข และเสริมสราง ความสามัค คีใ หเ กิด ขึ้น ในสัง คมโดยเร็ว เรง แกไ ขปญ หาเศรษฐกิจ ที่เ กิด ขึ้น ในปจ จุบั น โดยการสรา ง ความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก ควบคูไปกับการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยจัดตั้ง กลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ การเรงนําเม็ดเงินของรัฐเขาสูระบบเศรษฐกิจเพื่อบรรเทาภาวะ ความเดือ นรอ นของประชาชน และภาคธุร กิ จ เรง รั ด ดํ า เนิ น มาตรการร วมกั บ ภาคเอกชนทั้ง ในด า น การทอ งเที่ย ว และการรองรั บ ผู วางงานในภาคอุ ต สาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดยอ ม ภาคการทองเที่ยว ภาคธุรกิจ และแรงงานจบใหม รวมทั้งรัฐบาลจะดําเนินมาตรการเพื่อรักษาและสราง รายได และลดภาระคาครองชีพของประชาชนและชุมชน รวมทั้งการกระตุนการบริโภค โดยกํากับดูแลราคา สินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปน ลดภาระคาใชจายดานสาธารณูปโภคใหแกผูมีรายไดนอย และเรงดําเนินการ ใหการศึกษา ๑๕ ป โดยไมเสียคาใชจาย นอกจากนี้ รัฐบาลจะมุงเนน การเสริมสรางความเขมแข็งของ เศรษฐกิจฐานรากซึ่งเปนภาคสวนที่มีความสําคัญอยางยิ่งของประเทศ โดยจะดําเนินการรักษาเสถียรภาพ ราคาสินคาเกษตรที่สาคัญ การจัดตั้งกองทุนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน และการจัดสรรเบียยังชีพ ํ ้ แกผสงอายุ เพื่อสรางรายได และอาชีพที่ยั่งยืนใหแกเกษตรกรและประชาชนในชนบท รวมทั้งการสรางขวัญ ู ู กําลังใจใหแกบุคลากรดานสุขภาพในชุมชน นอกเหนือจากการเรงแกไขปญหาดานความสมานฉันทในสังคม การปฏิรูปการเมือง และการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศ และระดับ ฐานรากแลว รัฐ บาลจะเรงรัดการลงทุนสําคัญ ทั้งใน ดานการศึกษา ดานสาธารณสุข ดานทรัพยกรน้ํา และดานโครงสรางพื้นฐาน ซึ่งนอกจากจะเปนการสราง ฐานการพัฒนา และการเพิ่มขีดความสามารถในการแขง ขัน ของประเทศในระยะตอไปแลว การลงทุน ดังกลาวจะมีสวนชวยกระตุนการลงทุนจากภาคเอกชนภายในประเทศ และตางประเทศ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ ในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ ใหสามารถขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยมีเปาหมาย ตัวชี้วัด กลยุทธ วิธีดําเนินการที่สาคัญ ดังนี้ ํ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๗
  • 6. ๑.๑ การสรางความเชื่อมั่นและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่น แกภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค ๑.๑.๑ เสริมสรางความสมานฉันทและความสามัคคีของคนในชาติ เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. ประชาชนในชาติ มีความรั กความสมาน − มีสื่อภาครัฐ ที่เสนอขาวในเชิงสรางสรรค สามั ค คี เ ป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น และ ต อ การสร า งความสมานฉั น ท ใ นสั ง คม เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยซึ่งเปน ศูนยรวมจิตใจของปวงชน ๒. สังคมใชแนวทางสันติวิธีใ นการแกปญหา − มีการจัดเวทีสาธารณะที่นําไปสูการแกไข ความขัดแยงภายใตระบอบประชาธิปไตย ป ญ หาอย า งสั น ติ หรื อ การจั ด ตั้ ง กลไก อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ร ว ม ข อ ง ภ า ค ส ว น ที่ เกี่ย วของเพื่อสรางการมีสวนรวมในการ แกไขปญหาความขัดแยงดวยกระบวนการ ของระบอบประชาธิ ป ไตยภายใต ค วาม เคารพความคิ ด เห็น ที่แ ตกตา งและสิท ธิ ของเสียงสวนนอย ๓. ประชาชนเคารพกฎหมายและกติกาสังคม − มีกิจกรรมที่สงเสริมการสรางจิตสํานึกใน ตลอดจนปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายในทุ ก ประโยชน ส าธารณะ การมี ส ว นร ว ม สถานการณ การเอื้อ อาทรกัน หลัก เหตุผ ล และหลั ก นิติธรรมในการจรรโลงสังคม กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. เสริ ม สร า งความสมานฉั น ท แ ละความ − เสริมสรางสภาวะแวดลอมที่เอื้ออํานวยให สามัค คีของคนในชาติใ หเ กิด ขึ้น โดยเร็ ว มีก ารบั ง คั บ ใชก ฎหมายอย างเท าเทีย ม โดยใชแนวทางสันติ รับฟงความเห็นจาก และเปน ธรรมแกทุก ฝาย รวมทั้ง สงเสริม ทุกฝาย และหลีกเลี่ยงการใชความรุนแรง ใหทุกฝายเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย ในการแกไขปญหาความขัดแยงในชาติใน แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๘
  • 7. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ทุก กรณี รวมทั้ง ฟน ฟูระเบีย บสังคมและ − เสริมสรางความรูความเขาใจของประชาชน บังคับใชกฎหมายอยางเทาเทียมและเปน ในชาติ ให ยึ ดมั่ นการปกครองในระบอบ ธรรมแกทุกฝาย ตลอดจนสนับสนุนองคกร ประชาธิ ป ไตยอั นมี พ ระมหากษั ตริ ยเ ป น ตามรัฐธรรมนูญใหมีสวนรวมในการสราง ประมุ ข และส ง เสริ ม การเรี ย นการสอน ความสมานฉั น ท ภายใต ก รอบของ การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยเพื่ อ บทบาท อํานาจและหนาที่ขององคกร สนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในระบอบ ประชาธิปไตย − เสริ ม สร า งจิ ต สํ า นึ ก ความรั ก ชาติ แ ละ ความสามั ค คี ข องคนในชาติ โดยใช วั ฒ นธรรม ประเพณี และกี ฬ าเป น สื่ อ ในการเสริ มสร า งความสมานฉัน ท แ ละ ความสามัคคี − สนั บ สนุ น องค ก รตามรั ฐ ธรรมนู ญ และ เสริ ม สร า งกลไกชุ ม ชนในการส ง เสริ ม ประชาธิปไตยและเสริมสรางความเขาใจ ร ว มกั น เพื่ อ ให เ กิ ด ความสมั ค รสมาน สามัคคี − พัฒ นาประสิ ท ธิภ าพด า นการข า วกรอง เพื่อสนั บ สนุ น การแก ไ ขป ญ หาความ ขัด แยง โดยสั น ติ วิธี ตรงกลุมเปาหมาย รวมทั้ ง เสริม สรา งความสมานฉั น ทแ ละ ความสามัคคีของคนในชาติ − เสริ ม สร า งวั ฒ นธรรมการอยู ร ว มกั น ใน สังคมไทยโดยไมใชความรุนแรง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๙
  • 8. ๑.๑.๒ จัดใหมีสํานักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใตเปนองคกรถาวร เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. จัดระบบและกลไกการบริหารจัดการและ − มีกลไกที่รับผิดชอบดานการบริหารจัดการ กําหนดใหจังหวัดชายแดนภาคใตเปนเขต การพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ที่ มี พัฒนาพิเศษ เอกภาพ − จังหวัดชายแดนภาคใตไดรับการกําหนด เปนเขตพัฒนาพิเศษ ๒. ประชาชนมี ค วามปลอดภั ย ในชี วิ ต และ − เหตุ ก ารณ ค วามไม ส งบลดลงอย า ง ทรัพยสิน สามารถดํารงชีพและประกอบ ตอเนื่อง อาชี พ ได อ ย า งปกติ รวมทั้ ง ได รั บ สิ ท ธิ − ชุ ม ชนในพื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย มี ก ารกํ า หนด พื้นฐานตามกฎหมายอยางเสมอภาคและ มาตรการการรักษาความปลอดภัยอยาง เปนธรรม มีความเชื่อถือและศรัทธาตอรัฐ เปนระบบ ตลอดจนได รั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพให − ประชาชนได รั บ ความเป น ธรรมมากขึ้ น สามารถพึ่งตนเองและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยมีเรื่องรองเรียนความไมเปนธรรมและ การละเมิดสิทธิ์ลดลง − ผูห ลงผิดกลับ ใจคืน สูสังคมเพิ่มขึ้น อยาง ตอเนื่อง และประชาชนที่เขามามีสวนรวม ในกิจกรรมของรัฐเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง − ประชาชนได รั บ การขยายโอกาสทาง การศึ ก ษา โดยอั ต ราการเรี ย นรู เ พิ่ ม ขึ้ น อยางตอเนื่อง − ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นจากอัตรา การตายแมและเด็กและอัตราการเจ็บปวย ลดลงอยางตอเนื่อง ๓. ระบบเศรษฐกิจมีความเขมแข็ง ประชาชน − ประชาชนมีโอกาสการทํางานเพิ่มขึ้นจาก มี ค วามมั่ น ค งในอาชี พ แ ละมี ร ายได อัตราการวางงานไมสูงกวาระดับภาคและ เพี ย งพอต อ การดํ า รงชี วิ ต โดยมี ก าร แรงงานมีหลักประกันและความปลอดภัย กระจายผลการพั ฒ นาอย า งเป น ธรรม ในการทํางาน มากขึ้น − สัดสวนคนจนลดลงอยางตอเนื่อง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๐
  • 9. กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. จัด ให มีสํา นัก งานบริ ห ารราชการจั ง หวั ด − จัดใหมีคณะกรรมการระดับนโยบายเพื่อ ชายแดนภาคใตเ ปน องคก รถาวร เพื่อทํา ศึ ก ษาและพิ จ ารณาแนวทางการแก ไ ข หน า ที่ แ ก ไขป ญ ห า แ ล ะพั ฒ น า พื้ น ที่ ป ญ หาความไม ส งบในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต โดยยึดมั่นหลักการสราง ชายแดนภาคใตใ หสอดคลองเหมาะสม ความสมานฉั น ท แ ละแนวทาง “เข า ใจ กับสถานการณในพื้นที่ ซึ่งมีความยืดหยุน เขาถึง พัฒนา” ใชกระบวนการยุติธรรมกับ และหลากหลายทางศาสนา และ ผูก ระทําผิด อยางเครง ครัดและเปน ธรรม วัฒนธรรม โดยกําหนดใหจังหวัดชายแดน กํา หนดจั ง หวัด ชายแดนภาคใต เ ป น เขต ภาคใตเ ปน เขตพัฒนาเศรษฐกิจ ที่มีก าร พัฒนาพิเ ศษที่มีการสนับ สนุนแหลงเงิน กู สนับสนุนแหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํา และสิทธิ ดอกเบี้ ย ต่ํ า สิ ท ธิ พิ เ ศษด า นภาษี และ พิ เ ศษด า นภาษี และพิ จ ารณาความ อุตสาหกรรมฮาลาล รวมทั้งสนับสนุน ให เหมาะสมในการปรั บ โครงสร างองค ก ร เปนเขตพัฒนาพิเศษที่มีความยืดหยุนและ กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวของ หลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรม − ควบคุ ม สถานการณ ค วามไม ส งบและ สรางความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ของประชาชนเพื่อสรางความเชื่อมั่น ใน อํานาจรัฐและสรางภูมิคุมกันแกค นกลุม เสี่ยง • เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพงานการข า วโดย บู ร ณ า ก า ร ข อ มู ล ก ล ไ ก แ ล ะ กระบวนการตรวจสอบตลอดจนการ ประมวลข า วกรองของหน ว ยงานที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ใ ห ค ร อ บ ค ลุ ม ทุ ก มิ ติ สถานการณและพื้นที่ • เพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความสงบ เรียบรอยโดยใหความสําคัญกับพื้นที่ เสี่ย งภัย และ คุมครองผูบริสุทธิ์มิใ ห ถูก คุก คามหรือถูก ชัก จูงในทางที่ผิ ด และใหโอกาสผูหลงผิดกลับคืนสูสังคม • เตรียมความพรอมดานทรัพยากรให แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๑
  • 10. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี พร อ มรั บ สถานการณ และเผชิ ญ ภั ย รวมทั้ งป อ ง กั น แล ะแก ไ ขป ญ ห า สาธารณภัย − อํานวยความเปนธรรมและความยุติธรรม แก ค นทุก ฝ ายอย างเทา เที ย มทั้ ง ผู ได รั บ ผลกระทบโดยตรง ประชาชนผูบ ริ สุ ท ธิ์ และบุคคลผู ดอยโอกาสเพื่อ สร างความ เชื่อถือและศรัทธาตอรัฐ • เพิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก ร ะ บ ว น ก า ร ยุติธรรมใหเปนที่พึ่งของประชาชน • เสริมสรางความเขาใจและการมีสวน ร ว มของประชาชนในกระบวนการ ยุติธรรม • ช ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ เ ยี ย ว ย า ผู ไ ด รั บ ผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบ อยางทั่วถึงและเปนธรรม − ส ง เสริ ม กระบวนการสั น ติ วิ ธี ที่ ยึ ด หลั ก ความเป น ธรรมและการมี ส ว นร ว มของ ทุกฝายใหเกิดความสามัคคีและลดความ ขัดแยง ตอกัน สามารถอยูรวมกัน อยางมี ความสุขบนพื้นฐานความหลากหลายใน ความคิด วิถีชีวิตและวัฒนธรรม • สงเสริมกิจกรรมวัฒนธรรม ประเพณี ประวั ติ ศ าสตร ศาสนา ดนตรี กี ฬ า เพื่อรัก ษาอัต ลัก ษณและคุณ คาดาน จิ ต ใ จ ร วม ทั้ ง วิ ถี สั ง ค ม ที่ มี ค ว า ม ปรองดองและสมานฉันท • เพิ่มประสิทธิภาพงานมวลชนสัมพันธ ง า น สั ง ค ม จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร ประชาสัมพันธเ ชิง รุก เพื่อสรางการมี แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๒
  • 11. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี สวนรวมอยางสรางสรรค • เพิ่มบทบาทกลุมพลังสังคมทั้งเยาวชน สตรี ปญญาชน ปราชญชาวบาน และ ผูนําชุมชนรวมสรางความสมานฉัน ท ของสังคม • เพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรของภาครัฐ ในการปฏิบัติงานตามแนวทางสันติวิธี เพื่อเสริมสรางสัน ติสุขของพื้นที่อยาง จริงจัง − พั ฒ นาศั ก ยภาพและคุ ณ ภาพคนเพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และทั ก ษะการ ดํารงชีวิตเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของ ครอบครั ว ชุมชน และความสมานฉัน ท ของสังคม • ขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป การศึ ก ษาทั้ ง ระบบทุ ก ระดับ อย า งจริ ง จั ง โดยจั ด การศึ ก ษาเชิ ง บู ร ณาการกั บ วิ ถี ชี วิ ต อั ต ลั ก ษณ ค วามหลากหลายทาง วั ฒ นธรรมและความต อ งการของ ทองถิ่น • พั ฒ นาคุ ณ ภาพบริ ก ารสาธารณสุ ข และสวั ส ดิ ก ารผู ด อ ยโอกาสและ เสริมสรางความเขมแข็งของสถาบัน ครอบครัว • สง เสริ มกระบวนการชุ มชนเข มแข็ ง เพื่อเพิ่มศัก ยภาพการพึ่ง ตนเองและ พึ่งพากันในชุมชน − พัฒนาเศรษฐกิจ ใหสอดคลองกับวิถีชีวิต และวั ฒ นธรรมของประชาชนและฐาน ทรั พ ยากรของท อ งถิ่น โดยยึด แนวทาง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๓
  • 12. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี เศรษฐกิจพอเพียงและกระบวนการพัฒนา แบบมีสวนรวมเพื่อเสริมสรางความมั่นคง ในการดํารงชีพของประชาชน • เสริมสรางความมั่นคงทางอาชีพและ รายไดแกกลุมคนมีรายไดนอยบนฐาน ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ที่ มี ค ว า ม หลากหลายทางชี ว ภาพและรั ก ษา ความสมดุลของสภาพแวดลอมอยาง ยั่งยืน • ส ง เสริ ม การพั ฒ นาการเกษตรและ ผลิ ต ภั ณ ฑ ก ารเกษตรที่ มี ศั ก ยภาพ อยางครบวงจร เหมาะสมสอดคลอง กั บ วิ ถี ชี วิ ตของแต ละชุ มชน แล ะ ทรั พ ยา ก รใ น พื้ น ที่ ใ ห เชื่ อมโย ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ฐ า น ร า ก ตั้ ง แ ต ร ะ ดั บ ครอบครัว ชุมชน สูระดับประเทศ • พัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลโดยเฉพาะ สินคาชุมชนและธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมที่มีศักยภาพ ใหมีคุณภาพ แล ะได รั บก าร รั บ รองม าต รฐ า น ฮาลาลควบคู ไ ปกั บ การส ง เสริ ม การตลาดใหกวางขวางมากขึ้น • พัฒนาดานการคา การทองเที่ยว การ บริ ก าร และการเชื่ อมโยงเศรษฐกิ จ ระหวางประเทศ เพื่อเสริมสรางการ ลงทุนและแหลงจางงานใหม ๆ • เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและ พัฒนาพลังงานทางเลือก − เสริมสรางความเขาใจกับนานาประเทศ เกี่ย วกับ นโยบายของรัฐ บาลไทยในการ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๔
  • 13. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี แก ไ ขป ญ หาความไม ส งบในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต • เส ริ ม สร า ง คว า ม สั ม พั น ธ ที่ ดี กั บ ประเทศเพื่อนบานและกลุม ประเทศ มุสลิม • เผยแพร ข อ มู ล ข า วสารที่ ถู ก ต อ ง เกี่ยวกับสถานการณจังหวัดชายแดน ภาคใตแกนานาประเทศ ๑.๑.๓ ปฏิรูปการเมือง เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. ระบบการเมืองไทยมีเสถียรภาพ และมี − มี รั ฐ บาลที่ มี ค วามมั่ น คงในการบริ ห าร ธรรมาภิบาล ประเทศ กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. ปฏิรูป การเมือง โดยจัด ตั้ง คณะกรรมการ − จั ด ตั้ ง “ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เ พื่ อ ศึ ก ษ า เพื่อศึก ษาแนวทางการดําเนิน การปฏิรูป แนวทางการดําเนินการปฏิรูป” โดยการ โดยการมี ส ว นร ว มของภาคประชาชน มีสวนรวมของภาคประชาชน เพื่ อ วางระบบการบริ ห ารประเทศให มี เสถีย รภาพและประสิทธิภาพ ในแนวทาง การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษั ต ริ ย ท รงเป น ประมุ ข และมี ความเหมาะสมสอดคล อ งกั บ สภาพ สัง คมไทย รวมทั้งสามารถสนองตอบต อ การพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน และเปนไป ตามความต อ งการของประชาชนอย า ง แทจริง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๕
  • 14. ๑.๑.๔ เรงสรางความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. ความคืบ หนาของการดําเนิน การรวมกับ − กา ร ดํ า เ นิ นง า น ร ว ม กั บรั ฐ ส ภา เ พื่ อ รั ฐ สภาเพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข อ งที่ เกี่ย วของที่ป ระเทศไทยในฐานะสมาชิ ก ประเทศไทยในฐานะสมาชิ ก ประชาคม ประชาคมอาเซีย นจะตองลงนามในชว ง อาเซียนจะตองลงนามในชวงการประชุม การประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน สุดยอดผูนําอาเซียนเปน ไปตามแผนงาน ของกระทรวงการตางประเทศ ๒. ไทยประสบความสําเร็จในการเปนประธาน − การประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย นและการ อาเซียน ประชุ ม ที่ เ กี่ ย วข อ งเป น ไปตามแผนงาน การเปนประธานอาเซียนของไทย กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. เรงสรางความเชื่อมั่นของประเทศไทยใน − สนั บ สนุ น บทบาทและศั ก ยภาพในการ สายตาของชาวโลก โดยใหความสําคัญ ดํารงตําแหนงประธานอาเซีย นของไทย ตอกรอบความรวมมืออาเซียนเปนลําดับ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นความร ว มมื อ ในกรอบ แร ก แ ล ะ ร ว ม มื อกั บ รั ฐส ภา ใ น ก า ร อาเซียน พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข อ งที่ − เรงประชาสัมพันธเ พื่อสรางความเชื่อมั่น ประเทศไทยในฐานะสมาชิก ประชาคม และความน า เชื่ อ ของเศรษฐกิ จ ไทยใน อาเซี ย นจะต อ งลงนามในช ว งของการ ต า ง ป ร ะเ ท ศ โ ดย บู ร ณ า กา ร ง า น ที่ ประชุมสุดยอดผูนําอาเซีย นใหแลวเสร็จ เกี่ ย วขอ งกั บ การส ง ออก การท องเที่ ย ว ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ และเตรียม และการลงทุนใหเปนเอกภาพ โดยอาศัย ความพรอ มเปน เจ าภาพจั ดการประชุ ม กลไกของสถานฑูตไทยในตางประเทศ สุด ยอดผูนําอาเซียน ครั้ง ที่ ๑๔ ในเดือน กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ในฐานะที่ประเทศไทย เปนประธานอาเซียน แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๖
  • 15. ๑.๑.๕ ฟนฟูเศรษฐกิจที่กําลังประสบปญหาเปนการเรงดวน เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. กระตุนเศรษฐกิจใหขยายตัวไดอยาง − อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ตอเนื่องเพื่อปองกันและบรรเทาปญหาการ − มูลคาการลงทุนที่ขอรับสงเสริมการลงทุน วางงาน − มูลคาการลงทุนที่ขอรับสงเสริมการลงทุน ๒. มูลคาการลงทุนรวมที่ขอรับสงเสริมการ ในอุตสาหกรรมเปาหมาย ลงทุนในป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ จํานวน ๑,๒๕๐,๐๐๐ ลานบาท ๓. สรางความเชื่อมั่นและภาพลักษณในดาน − มูลคาการคาระหวางประเทศเพิ่มขึ้น การคาและการลงทุนของประเทศในระดับ นานาชาติ ๔. ลดการสูญเสียรายไดจากการทองเที่ยว − รายไดจากนักทองเที่ยวตางชาติลดลงจาก ไมใหต่ํามากเกินไปจากป ๒๕๕๐ ป ๒๕๕๐ ไมเกินรอยละ ๕ และรายไดจาก นักทองเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจากป ๒๕๕๑ รอยละ ๕ ๕. พัฒนา กลไก บริหารจัด การทรัพยากรน้ํา − จํานวนแหลงน้ําผิวดิน / ใตดิน ที่ไดรับการ อนุ รั ก ษ ฟ น ฟู และพั ฒ นาทรั พ ยากรน้ํ า พั ฒ นาและฟ น ฟู เป น แหล ง น้ํ า ต น ทุ น เพื่อเพิ่มน้ําตนทุน รวมทั้งพัฒนาระบบน้ํา สนับสนุน การอุปโภค บริโภคของประเทศ สะอาด ภาคการเกษตร และอุต สาหกรรมอยา ง ทั่วถึง เพียงพอ ๖. การเขาถึงสินเชื่อของกลุมเปาหมายอยาง − จํานวนผูกู (ราย) กลุมเปาหมาย ทั่วถึง − อัตราเพิ่มการใหสินเชื่อของสถาบันการเงิน ตอป กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. ฟนฟูเศรษฐกิจที่กําลังประสบปญหาเปน − จัดทําแผนฟน ฟูเศรษฐกิจระยะเรงดวนที่ การเร ง ด ว น โดยจั ด ทํ า เป น แผนฟ น ฟู ครอบคลุ ม การช ว ยเหลื อ และบรรเทา เศรษฐกิจระยะสั้นที่ครอบคลุมภาคเกษตร ปญ หาผลกระทบจากภาวะการชลอตั ว แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๗
  • 16. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี และเกษตรกร ภาคอุ ต สาหกรรม ภาค ของเศรษฐกิจตามกลุมเปาหมายตาง ๆ บริการและการทองเที่ยว ภาคการสงออก และจัด ทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม ภาคอสัง หาริมทรั พย การสร างงานและ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552 สรางรายไดในชนบท การพัฒนาแหลงน้ํา − รวมกับภาคเอกชนในการฟนฟูและกระตุน ธรรมชาติและฟนฟูทรัพยากรใหแลวเสร็จ เศรษฐกิ จ ระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ ให เ กิ ด การ ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ พรอมทั้ ง สรางงานและสรางรายได จั ด ทํ า งบประมาณรายจ า ยเพิ่ ม เติ ม − สร า งภาพลัก ษณแ ละความเขื่ อ มั่น ของ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยมี ประเทศไทยในระดับนานาชาติ วัต ถุประสงคเ พื่อนําเม็ ด เงิน ของรัฐ เขาสู − ดําเนิน โครงการลดผลกระทบวิก ฤตและ ระบบเศรษฐกิ จ และเพื่ อ ให ส ามารถ เสริ ม สร า งขี ด ความสามารถทางการ บ ร ร เ ท า ภ า ว ะ ค ว า ม เ ดื อด ร อ น ข อ ง แขงขันและพัฒนาการตลาด โดยพัฒนา ประชาชนและภาคธุรกิจได และยกระดับคุณภาพสินคา และบริการที่ มี ศั ก ยภาพ ดํ า เนิ น ตลาดเชิ ง รุ ก ทั้ ง ใน ประเทศ และต า งประเทศ และเร ง ใช ประโยชนจากขอตกลงทางการคา − ส ง เสริ ม และพั ฒ นาผู ป ระกอบการและ บุคลากรดานการทองเที่ยวใหมีคุณภาพ − สรางกิจกรรมการจัดการแขง ขันกีฬาเพื่อ ฟ น ฟู เ ศรษฐกิ จ ภาคบริ ก ารและการ ทองเที่ยวเพื่อนําเม็ดเงินของรัฐเขาสูระบบ เศรษฐกิ จ และเพื่ อ ให ส ามารถบรรเทา ภาวะความเดือดรอนของประชาชนและ ภาคธุรกิจ − จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ํ แบบบูรณาการและสงเสริมการ มีสวนรวม ของทุกภาคสวนใหมีการใชทรัพยากรน้ํา เป น ฐานในการพั ฒ นาประเทศและ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องประชาชน และ ดําเนิน การบริห ารจั ด การทรัพยากรเพื่ อ ชวยเหลือเกษตรกรที่เดือดรอนในระยะสั้น แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๘
  • 17. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี − บริหารจัดการทรัพยากรน้ํา เพื่อชวยเหลือ เกษตรกรที่เดือดรอนในระยะสั้น − พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ําและการ ชลประทาน เนนการสูบน้ําดวยไฟฟาและ สรางสถานีสูบ น้ําขนาดจิ๋วจากแหลง น้ํ า ธรรมชาติ โ ดยให เ กษตรกรรวมกลุ ม วางแผนการผลิต รวมทั้ง สงเสริมการใช ยางพาราเปนวัตถุดิบ − เพิ่มสภาพคลองในระบบเศรษฐกิจ − ให ค วามช ว ยเหลื อ ภาคธุ ร กิ จ ที่ ไ ด รั บ ผลกระทบจากปญ หาการปด สนามบิ น และผลกระทบเศรษฐกิจโลก − ใหการสนับสนุนและแรงจูงใจดานภาษีแก ธุรกิจเอกชนที่รักษาฐานการจางงาน ๑.๑.๖ เรงสร างความเชื่ อมั่นใหแกนั กทองเที่ยวตางชาติและเรงรัดมาตรการ กระตุนการทองเที่ยว เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. ลดการสูญเสียรายไดจากการทองเที่ยว − รายไดจากนักทองเที่ยวชาวตางชาติลดลง ไมใหต่ํากวาป ๒๕๕๐ จากป ๒๕๕๐ ไมเกินรอยละ ๕ − รายไดจากนักทองเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจาก ป ๒๕๕๑ ไมต่ํากวารอยละ ๕ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๙
  • 18. กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. เรง สรางความเชื่อมั่นใหแกนักทองเที่ย ว − เรงประชาสั มพัน ธเ พื่อฟ น ฟูภาพลัก ษณ ตางชาติและเรง รัดมาตรการกระตุน การ และสรา งความเชื่ อมั่ น แกนั ก ท องเที่ ย ว ท อ งเที่ ย ว โดยการดํ า เนิ น การร ว มกั น ชาวตางชาติ ร ะ ห ว า ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ เ อก ช น ใ น ก า ร − ส ร า ง ก ร ะ แ ส ก า ร เ ดิ น ท า ง ต ล า ด ประชาสัมพันธดึงดูดนักทองเที่ยวตางชาติ ต า งประเทศและภายในประเทศ เพื่ อ ส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วของคนไทยใน ส ง เสริ ม ให ป ๒๕๕๒ เป น ป แ ห ง การ ประเทศ และปรั บแผนงบประมาณของ ทองเที่ยวไทย ประทับใจไทยแลนด สวนราชการที่ไดรับ งบประมาณรายจาย − ดําเนิน การตลาดเชิง รุก เพื่อประมูลสิท ธิ์ ประจํา ป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ อยู ดึงงาน และเพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวกลุม แลว เพื่อใชใ นการจั ด การฝ ก อบรมและ ไมซเขาประเทศ สั ม มนาให ก ระจายทั่ ว ประเทศ รวมทั้ ง − ส ง เ ส ริ ม พั ฒ น า แ ล ะ ให ค ว า ม รู แ ก ลดหย อนค าธรรมเนีย มและค าบริ ก ารที่ ผูประกอบธุรกิจทองเที่ยวและบุคลากรใน เกี่ยวของกับการทองเที่ยวเพื่อดึงดูดใหมี อุตสาหกรรมทองเที่ยวทั่วประเทศ การเดินทางทองเที่ยวเพิ่มขึ้น − เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการวิกฤต เพื่ออํานวยความสะดวก ความปลอดภัย แกนักทองเที่ยว − สนั บ สนุ น การจั ด ประชุ ม ฝ ก อบรมและ สัม มนาของหนว ยงานภาครัฐ โดยให มี การปรั บ แผนการใช จ า ยงบประมาณ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อให สามารถใชจายไดเร็วขึ้น ๑.๑.๗ เรงลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. คนไทยทุกกลุม ทุกวัย ไดรับการศึกษาที่มี − จํ า นวนสถานศึ ก ษาผ า นเกณฑ ก าร คุณภาพ มาตรฐาน มีการเรียนรูทันตอการ ประเมินคุณภาพสถานศึกษาเพิ่มขึ้น เปลี่ยนแปลงตั้งแตระดับปฐมวัยจนตลอด − ประชากรทุกกลุมวัย ไดรับการเรียนรูทั้ง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๒๐
  • 19. เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ชีวิต มีศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบ ในระบบและนอกระบบอยางทั่วถึงยิ่งขึ้น อาชีพ และเสริมสรางขีดความสามารถของ − จํานวนสถาบันการศึกษาที่มีความพรอม ประเทศในการเปน ศูน ยก ลางการศึก ษา ในการเป น ศู น ย ก ลางทางการศึ ก ษา ฝ ก อบรม การวิ จั ย และพั ฒ นาในระดั บ นานาชาติ ภูมิภาค ๒. การลงทุนเพื่อปรับโครงสรางระบบบริการ − ป ร ะ ช า ช น ส า ม า ร ถ เ ข า ถึ ง บ ริ ก า ร สุขภาพใหไดรับ การพัฒนาศัก ยภาพและ สาธารณสุ ข ที่ มี คุ ณ ภาพมาตรฐาน ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร เพิ่มขึ้น สาธารณสุขที่มคุณภาพมาตรฐาน ี − อัตราการปวย/ตายดวยโรคที่เปน ปญ หา สํ า คั ญ และสามารถเฝ า ระวั ง ควบคุ ม ปองกันไดลดลง ๓. โครงขายรถไฟฟาเชื่อมโยงและครอบคลุม − จํานวนเสนทางโครงขายระบบรถไฟฟาที่ พื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมลฑล เพิ่มขึ้น ๔. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเดิ น ทางและการ − โครงข า ยรถไฟทางคู ส ายชายฝ ง ทะเล ขนสงสินคาทางราง ตะวั น ออก ช ว งฉะเชิ ง เทรา-ศรี ร าชา- แหลมฉบัง ๕. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดหาแหลงน้ําตนทุน − ขี ด ความสามารถในการกั ก เก็ บ และ กักเก็บ และการกระจายน้ํา กระจายทรัพยากรน้ําของประเทศเพิ่มขึ้น กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. เรง ลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยให ดานการยกระดับคุณภาพการศึกษา ความสําคัญ แกโครงการลงทุน ที่มีความ — เสริมสรางการเรีย นรูใ นชุมชน เนน การ คุมคามากที่สุด เพื่อเสริมสรางบรรยากาศ สร า งกระบวนการเรี ย นรู ใ ห กั บ เด็ ก การลงทุ น ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ เยาวชน ผูสู ง อายุ และครอบครัว การ ประชาชน และเพิ่มความสามารถในการ พัฒนาแหล ง เรีย นรู ของชุมชน รวมทั้ ง แขงขันของประเทศ โดยเฉพาะการลงทุน วางพื้ น ฐานการศึ ก ษาและการเรี ย นรู เพื่อยกระดับคุณ ภาพการศึก ษาทั้งระบบ แบบองครวม โดยใชผลการประเมินของ การลงทุนเพื่อปรับโครงสรางระบบบริการ สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน สุ ข ภาพที่ มุ ง สู ก ารป อ งกั น และส ง เสริ ม คุณ ภาพการศึก ษาเปน แนวทางในการ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๒๑
  • 20. นโยบาย กลยุทธ/วิธการี สุ ข ภาพ การลงทุ น พั ฒ นาระบบขนส ง ยกระดับคุณภาพการเรียนรู รวมทั้งการ มวลชน และการพั ฒ นาระบบบริ ห าร ผลิตและพัฒนาครู จัดการน้ําและการชลประทาน ใหสามารถ − พั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานทางป ญ ญา เริ่มดําเนินโครงการไดในป ๒๕๕๒ โดยให โดยยกระดับคุณภาพมาตรฐานการผลิต คว า ม สํ า คั ญ แ ก ก า ร มี ส ว น ร ว ม ข อ ง กําลัง คนระดับ อาชีวศึก ษา อุดมศึก ษา ป ร ะ ช า ช น ก า ร รั ก ษ า สิ่ ง แ ว ด ล อ ม และการสรางนักวิจัย ตลอดจนสงเสริม การดําเนินงานอยางโปรงใส ตรวจสอบได ก า ร พั ฒ น า ใ ห ไท ย เ ป น ศู น ย ก ล า ง และการรัก ษาวิ นัย การคลังของประเทศ การศึกษาและวิจัยในภูมิภาค รวมทั้ ง เร ง รั ด การเบิ ก จ า ยงบลงทุ น ของ − เ ส ริ ม ส ร า ง ก า ร ล ง ทุ น แ ล ะ เ พิ่ ม สวนราชการและรัฐวิสาหกิจ ความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยการลงทุ น เพื่ อ ปรั บ ฐานบริ ก าร ทางการกีฬาใหไดมาตรฐานระดับสากล ดานระบบบริการสุขภาพ − เร ง ลงทุ น เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพระบบ บริการสุขภาพทั้งระบบ โดยการปรับปรุง ระบบบริการในทุกระดับทั้งระดับปฐมภูมิ ทุติ ย ภู มิ ตติ ย ภู มิ และศู น ย ก ารแพทย เฉพาะทาง รวมทั้ ง การพั ฒ นาระบบ สงตอ การปรับระบบการผลิตและพัฒนา บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข ให เ หมาะสม ควบคู กั บ การปรั บ ปรุ ง ระบบข อ มู ล ด า นสุ ข ภาพให มี ค วาม เชื่ อ มโยงกั น ในทุ ก ระบบหลั ก ประกั น สุขภาพ ดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน − พั ฒ นาโครงข า ยระบบรถไฟฟ า ในพื้ น ที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยเฉพาะ สายสี แ ดง บางซื่ อ -ตลิ่ ง ชั น สายสี ม ว ง บางใหญ -บางซื่ อ สายสี น้ํ า เงิ น บางซื่ อ - แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๒๒
  • 21. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ทาพระ และหัวลําโพง-บางแค สายสีเขียว ห ม อ ชิ ต -ส ะ พ า น ใ ห ม แ ล ะ แ บ ริ่ ง - สมุ ท รปราการ รวมทั้ ง เส น เชื่ อ มโยง ท า อา ก าศ ยา น สุ ว รร ณ ภู มิ เ พื่ อเ พิ่ ม ทางเลื อ กให กับ ผู โดยสาร และยกระดั บ คุณภาพชีวิตของประชาชน − พัฒ นาโครงข ายทางราง เพื่ อ เพิ่ม ความ สะดวกรวดเร็วในการขนสงสินคาเชื่อมโยง พื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก ดานการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา − พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ําและการ ชลประทานโดยการกอสรางแหลงน้ําและ ระบบสงน้ํา − เพิ่มปริมาณน้ําตนทุนดวยการพัฒนาและ ปรั บ ปรุ ง ฟ น ฟู แ หล ง น้ํ า และวางระบบ กระจายน้ําใหทั่วถึงและเปนธรรม รวมทั้ง การพั ฒนาและฟ น ฟูระบบประปาผิวดิ น และบาดาล ๑.๒ การรักษาและเพิ่มรายไดของประชาชน ๑.๒.๑ รว มมื อกั บ ภาคเอกชนในการดํ าเนิ น มาตรการชะลอการเลิ ก จา งและ ปองกันการขยายตัวของการเลิกจาง เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. ลดปญหาการวางงานในสถานประกอบการ − จํ า นวนสถานประกอบการที่ ไ ด รั บ การ ภาคอุตสาหกรรมและบริการ ชวยเหลือดานการเงินและมาตรการจูงใจ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๒๓
  • 22. กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. ร ว มมื อ กั บ ภาคเอกชนในการดํ า เนิ น − ประสานความรวมมือและใหการชวยเหลือ มาตรการชะลอการเลิกจางและปองกันการ ภาคเอกชนที่ไ ดรั บ ผลกระทบจากภาวะ ขยายตัวของการเลิกจางในภาคอุตสาหกรรม วิก ฤตเศรษฐกิ จ ในด า นต าง ๆ เช น การ และบริ การ ทั้ ง อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ จัด หาแหล ง เงิน ทุน กูยืม ดอกเบี้ย ต่ํา เพื่ อ ขนาดกลาง และขนาดยอม โดยใชมาตรการ เสริม สรางสภาพคลองทางการเงิ น และ จูงใจเพื่อลดภาระของภาคเอกชนในการ การมี ม าตรการทางภาษี เ พื่ อ ลดภาระ ชะลอการเลิกจางงาน คา ใช จา ย และกระตุ น ภาคการกอ สร า ง และการซื้ออสังหาริมทรัพย เปนตน ๑.๒.๒ ดําเนินมาตรการเรงดวนเฉพาะหนา เพื่อรองรับปญหาแรงงานวางงาน จากภาคอุตสาหกรรมและนักศึกษาจบใหม เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. แรงงานที่วางงาน ถูกเลิกจางและนักศึกษา − จํานวนแรงงานที่ถูกเลิกจางและนักศึกษา จบใหม ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ คนใน จบใหมที่จดทะเบียนเขารับการฝกอบรม ป ๒๕๕๒ ไดรับการฝกอบรมเสริมทักษะ − หลักสูตรการฝกอบรมที่มีความหลากหลาย สร า งศั ก ยภาพและโอกาสให ก ลั บ ไป และสอดคลองกับสภาพและความตองการ ทํางานที่เปนประโยชนแกทองถิ่นชุมชนใน ของทองถิ่น ภูมิลําเนา กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. ดําเนินมาตรการเรงดวนเฉพาะหนา เพื่อ − ฝกอบรมเพิ่มทักษะความสามารถในการ รองรั บป ญ ห าแรง งานว างงา นจา ก ทํ า งานให แ ก ผู ว า งงาน และนั ก ศึ ก ษา ภาคอุต สาหกรรมและนัก ศึก ษาจบใหม จบใหม โดยมี ห ลั ก สู ต รที่ ห ลากหลาย โดยจั ด โครงการฝ ก อบรมแรงงานที่ เพื่อสรางทางเลือกในการประกอบอาชีพ ว า ง ง า น ป ร ะ ม า ณ ๕ ๐ ๐ ,๐ ๐ ๐ ค น ไดตามความถนัดและศักยภาพ ในระยะเวลา ๑ ป ตามกลุม ความถนั ด − สงเสริมความรวมมือกับนิคมอุตสาหกรรม แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๒๔