SlideShare a Scribd company logo
“เป้าหมายที่แท้จริงของการกระจายอานาจ
คือ การนาอานาจการแก้ปัญหาไปไว้ใกล้ปัญหา”
ทิศทางการกระจายอานาจและการ
ปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
รองศาสตราจารย์ วุฒิสาร ตันไชย
เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า
ดัดแปลงจากบทความ Decentralization and Local Governance inThailand:Trends Reforms and Ideas forThe Seminar “Decentralization in
Asian Countries - Reviewing the Present and Designing the Future”
วันที่ 4 มีนาคม 2558 เวลา 13.00-14.45
ณ หอประชุมขุมทองวิไล มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
อาเภอเมืองเลย จังหวัดเลย
หัวข้อการนาเสนอ
 สถานการณ์การกระจายอานาจในยุคปัจจุบัน
 การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
 ข้อเสนอเกี่ยวกับการกระจายอานาจของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น
 ประเด็นและทิศทางของการร่างรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับท้องถิ่น
 แนวคิดปฏิรูปเกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 กระบวนทัศน์ดั้งเดิม: ปัญหาและวิธีการเดิมที่ต้องแก้ไข
 แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
สถานการณ์การปฏิรูปกระจายอานาจในปั จจุบัน
สภาปฏิรูปแห่งชาติ
คณะกรรมาธิการยกร่าง
รัฐธรรมนูญ
อานาจหน้าที่และกรอบเวลาของการยกร่างรัฐธรรมนูญ โดย
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
 มาตรา 35 คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้
ครอบคลุมดังนี้
1. • การรับรองความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้
2.
• การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุขที่เหมาะสม
กับสภาพสังคมของไทย
3.
• กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้ องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้ง
ในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งกลไกในการกากับและควบคุมให้การใช้อานาจรัฐเป็นไป
เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน
4.
• กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งที่
ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทาการอันทาให้การ
เลือกตั้งไม่สุจริตหรือเที่ยงธรรม เข้าดารงตาแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด
อานาจหน้าที่และกรอบเวลาของการยกร่างรัฐธรรมนูญ โดย
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (ต่อ)
 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
 มาตรา 35 คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้
ครอบคลุมดังนี้
5.
• กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและ
พรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดาเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการ
ครอบงาหรือชี้นาโดยบุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
6.
• กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้าง
เสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ
7.
• กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคม
เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้าง
ความนิยมทางการเมืองที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและ
ประชาชนในระยะยาว
อานาจหน้าที่และกรอบเวลาของการยกร่างรัฐธรรมนูญ โดย
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (ต่อ)
 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
 มาตรา 35 คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้
ครอบคลุมดังนี้
8.
• กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็ นไปอย่างคุ้มค่า
และตอบสนองต่อประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับ
สถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไกการตรวจสอบและ
เปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐที่มีประสิทธิภาพ
9.
• กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้ องกันมิให้มีการทาลายหลักการสาคัญที่
รัฐธรรมนูญจะได้วางไว้
10. • กลไกที่จะผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสาคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป
การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ “ฉบับสี่ภาค”
ภาคที่ 1
พระมหากษัตริย์และ
ประชาชน
• หมวด 1
พระมหากษัตริย์
• หมวด 2 ประชาชน
• ส่วนที่ 1 ความเป็ น
พลเมือง
• ส่วนที่ 2 สิทธิ
เสรีภาพของ
พลเมือง
• ส่วนที่ 3 หน้าที่
พลเมือง
• ส่วนที่ 4 การมีส่วน
ร่วมทางการเมือง
• ส่วนที่ 5 การมีส่วน
ร่วมในการ
ตรวจสอบ
ภาค 2 ผู้นาการเมืองที่ดี
และสถาบันการเมือง
• หมวด 1 ระบบผู้
แทนที่ดีและผู้นา
การเมืองที่ดี
• หมวด 2 แนวนโยบาย
พื้นฐานแห่งรัฐ
• หมวด 3 รัฐสภา
• หมวด 4
คณะรัฐมนตรี
• หมวด 5 การคลังและ
การงบประมาณ
• หมวด 6
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ราชการ นักการเมือง
แลประชาชน
• หมวด 7 การกระจาย
อานาจและการ
ปกครองท้องถิ่น
ภาค 3 นิติธรรม ศาล
และองค์กรตรวจสอบ
การใช้อานาจรัฐ
• หมวด 1 ศาลและ
กระบวนการยุติธรรม
• หมวด 2 การ
ตรวจสอบการใช้
อานาจรัฐ
ภาค 4 การปฏิรูปและ
การสร้างความปรองดอง
• หมวด 1 การปฏิรูป
เพื่อลดความเหลื่อมล้า
และสร้างความเป็ น
ธรรม
• หมวด 2 สร้างความ
ปรองดอง
กรอบเวลาการจัดทารัฐธรรมนูญ
ประชุม สปช. ครั้งแรก (21
ตุลาคม 2557)
ประธาน สปช. ตั้งคณะ
กมธ. ยกร่างรัฐธรรมนูญ
(4 พฤศจิกายน 2557)
สปช. เสนอความเห็นต่อ
กมธ. ยกร่างรัฐธรรมนูญ
(19 ธันวาคม 2557)
คณะกรรมาธิการจัดทาร่าง
รัฐธรรมนูญ (17 เมษายน
2558)
สปช. พิจารณาให้
ข้อเสนอแนะหรือ
ความเห็น (27 เมษายน
2558)
สปช./ครม./คสช. เสนอคา
ขอแก้ไขเพิ่มเติม (26
พฤษภาคม 2558)
กมธ. พิจารณาร่าง
รัฐธรรมนูญ (28
กรกฎาคม 2558)
สปช. พิจารณาเห็นชอบ
หรือไม่เห็นชอบร่าง
รัฐธรรมนูญทั้งฉบับ (11
สิงหาคม 2558)
ประธาน สปช. นาร่าง
รัฐธรรมนูญ
ขึ้นทูลเกล้าถวาย
(9 กันยายน 2558)
อานาจหน้าที่และกรอบเวลาของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
 มาตรา 27 ให้มีสภาปฏิรูปแห่งชาติมีหน้าที่ศึกษาและเสนอแนะเพื่อให้เกิดการปฏิรูปใน
ด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
 เจตนารมณ์: เพื่อให้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุขมีความเหมาะสมกับสภาพสังคมไทย มีระบบการเลือกตั้งที่สุจริตและเป็นธรรม
มีกลไกป้ องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่มีประสิทธิภาพ ขจัดความ
เหลื่อมล้าและสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ทาให้กลไกของรัฐสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว และมี
การบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดและเป็นธรรม
(1) การเมือง
(2) การบริหาร
ราชการแผ่นดิน
(3) กฎหมายและ
กระบวนการ
ยุติธรรม
(4) การปกครอง
ท้องถิ่น
(5) การศึกษา (6) เศรษฐกิจ
(7) พลังงาน
(8) สาธารณสุข
และสิ่งแวดล้อม
(9)
สื่อสารมวลชน
(10) สังคม (11) อื่น ๆ
อานาจหน้าที่และกรอบเวลาของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
 มาตรา 31 อานาจหน้าที่ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
(1) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทา แนวทางและข้อเสนอแนะ
เพื่อการปฏิรูปด้านต่าง ๆ ตามมาตรา ๒๗ เสนอต่อสภา
นิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี คณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(2) เสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมาธิการยก
ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อประโยชน์ในการจัดทาร่าง
รัฐธรรมนูญ
(3) พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญที่
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจัดทาขึ้น
หากเห็นว่ากรณีใด
จาเป็นต้องตรา
พระราชบัญญัติหรือ
พระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญขึ้นใช้บังคับ
ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติ
จัดทาร่างพระราชบัญญัติ
ดังกล่าวเสนอต่อสภานิติ
บัญญัติแห่งชาติเพื่อ
พิจารณา
อานาจหน้าที่และกรอบเวลาของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
 สภาปฏิรูปแห่งชาติมีคณะกรรมาธิการปฏิรูปใน 18 ด้านคือ
1. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการคุ้มครองผู้บริโภค
2. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย นวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา
3. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการกีฬา
4. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปค่านิยม ศิลปะ วัฒนธรรม จริยธรรมและการศาสนา
5. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
6. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการแรงงาน
7. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปสังคม ชุมชน เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส
8. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ
9. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อานาจหน้าที่และกรอบเวลาของสภาปฏิรูปแห่งชาติ (ต่อ)
 สภาปฏิรูปแห่งชาติมีคณะกรรมาธิการปฏิรูปใน 18 ด้านคือ
10. • คณะกรรมาธิการปฏิรูประบบสาธารณสุข
11. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปพลังงาน
12. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชย์ การท่องเที่ยวและบริการ
13. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง
14. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
15. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น
16. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
17. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน
18. • คณะกรรมาธิการปฏิรูปการเมือง
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น
ข้อเสนอแนะการยกร่างรัฐธรรมนูญของปั จจุบัน
คณะกรรมาธิการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น
กลุ่มประเด็นด้านการ
กระจายอานาจ
„ เจตนารมณ์และหลักการกระจายอานาจไปสู่ประชาชนและท้องถิ่น
„ การจัดระเบียบความสัมพันธ์ด้านบทบาทและอานาจหน้าที่ระหว่าง
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และประชาชน
„ ความเป็นอิสระทางการคลังและประสิทธิภาพในการบริหารการคลัง
ของท้องถิ่น
„ กลไกและการถ่ายโอนภารกิจที่จาเป็นเพื่อการกระจายอานาจการ
ปกครองท้องถิ่น
กลุ่มประเด็นด้านการ
ปกครองท้องถิ่น
„ รูปแบบของการปกครองท้องถิ่น
„ ระบบการเมืองท้องถิ่นที่เป็นการประนอมอานาจในท้องถิ่น
„ ระบบการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่
เหมาะสมกับบริบทและภารกิจ
„ ระบบการกากับดูแลและเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มประเด็นด้านการกระจายอานาจ
„ รัฐต้องกระจายอานาจและส่งเสริมให้ประชาชนและท้องถิ่น มีความสามารถและความ
เป็นอิสระในการปกครองตนเองภายใต้เอกภาพแห่งรัฐ เพื่อแก้ไขปัญหาและสนองความ
ต้องการของพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั่วถึง และเพียงพอ
„ การกากับดูแลต้องทาอย่างเท่าที่จาเป็นเพื่อเป็นหลักประกันด้านธรรมาภิบาลและ
ผลสัมฤทธิ์
ประเด็นที่ 1: เจตนารมณ์และหลักการกระจายอานาจไปสู่ประชาชนและท้องถิ่น
„ รัฐต้องกาหนดขอบเขตภารกิจ อานาจหน้าที่ และจัดดุลอานาจตลอดจนความสัมพันธ์ที่
ชัดเจนระหว่างราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ภายใต้หลักการ
เพิ่มอานาจให้ประชาชนมีส่วนร่วมและบทบาทในการบริหารจัดการตนเองได้มากขึ้น
ประเด็นที่ 2: การจัดระเบียบความสัมพันธ์ด้านบทบาทและอานาจหน้าที่ระหว่างส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และประชาชน
กลุ่มประเด็นด้านการกระจายอานาจ
„ รัฐจะต้องส่งเสริมความเป็นอิสระทางการคลังของท้องถิ่น โดยจัดให้มีระบบงบประมาณคู่ขนานคือ การ
จัดสรรงบประมาณตามพื้นที่ควบคู่กับการจัดสรรงบประมาณตามภารกิจ ภายใต้หลักการที่มุ่งสร้างความ
ยืดหยุ่นคล่องตัวให้ท้องถิ่นในการตัดสินใจใช้งบประมาณ
„ ส่งเสริมให้ท้องถิ่นสามารถจัดหารายได้ บริหารรายจ่าย และดุลยภาพทางการคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ กระบวนการและวิธีการงบประมาณตามพื้นที่ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด
ประเด็นที่ 3: ความเป็ นอิสระทางการคลังและประสิทธิภาพในการบริหารการคลังของ
ท้องถิ่น
„ ให้มีกลไกที่มีเอกภาพเพื่อขับเคลื่อนการกระจายอานาจ การบริหารการเงินการคลัง การบริหารงานบุคคล
โดยประกอบด้วย 1). สภาการปกครองท้องถิ่นแห่งชาติ มีลักษณะจตุภาคี ประกอบด้วยผู้แทนจาก
ส่วนกลาง ส่วนท้องถิ่น ภาคชุมชน/ประชาชน และผู้ทรงคุณวุฒิ/ตัวแทนวิชาชีพ 2). สานักงานสภาการ
ปกครองท้องถิ่น มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง และ 3). ระบบริหารงาน เงิน คนที่เหมาะสมกับบริบทการ
กระจายอานาจของท้องถิ่น โดย
„ รัฐจะต้องถ่ายโอนภารกิจของราชการบริหารส่วนกลางให้กับท้องถิ่นในภารกิจขั้นพื้นฐานและภารกิจอื่นที่
ไม่ได้ระบุไว้ โดยจะต้องดาเนินการถ่ายโอนให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปีนับตั้งแต่วันที่รัฐธรรมนูญบังคับใช้
ประเด็นที่ 4: กลไกและการถ่ายโอนภารกิจที่จาเป็ นเพื่อการกระจายอานาจการปกครอง
ท้องถิ่น
กลุ่มประเด็นด้านการปกครองท้องถิ่น
„ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแบ่งเป็น 2 รูปแบบคือ รูปแบบทั่วไปและรูปแบบพิเศษ โดยรูปแบบทั่วไป
หมายถึงรูปแบบทั่วไปที่ใช้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ระดับคือ 1). ท้องถิ่น
ระดับจังหวัด และท้องถิ่นต่ากว่าระดับจังหวัด กับรูปแบบพิเศษ หมายถึง รูปแบบที่กาหนดขึ้นเพื่อ
วัตถุประสงค์พิเศษ อันมีลักษณะแตกต่างออกไปจากรูปแบบทั่วไป
ประเด็นที่ 1: รูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
„ โดยรัฐพึงจัดระบบการเมืองในระดับท้องถิ่นให้มีความแตกต่างจากระบบการเมืองระดับชาติ ให้ตั้งอยู่บน
พื้นฐานของความปรองดอง เพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าในท้องถิ่นและความร่วมมือของทุก
ฝ่ายในการพัฒนาของท้องถิ่น
„ จัดให้มีสภาพลเมืองเพื่อเป็นกลไกปรึกษาหารือโดยใช้ข้อมูลความรู้เพื่อกาหนด ทิศทางการพัฒนาของ
ท้องถิ่น ควบคู่กับสภาท้องถิ่น
„ รัฐจะต้องมีมาตรการในการคัดกรองที่ดีเพื่อให้ได้สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นที่มีความรู้
ความสามารถ และมีคุณธรรมเข้ามาเป็นสมาชิกสภาผู้บริหารท้องถิ่น
„ ประชาชนสามารถยื่นถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่นได้ ส่วนการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น จานวนสมาชิกสภา
ท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น ที่มา คุณสมบัติ วาระการดารงตาแหน่ง การถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่นและ
สมาชิกสภาท้องถิ่นอาจมีหลากหลายรูปแบบตามที่กฎหมายกาหนด
ประเด็นที่ 2: ระบบการเมืองท้องถิ่นที่เป็ นการประนอมอานาจในท้องถิ่น
กลุ่มประเด็นด้านการปกครองท้องถิ่น
„ ให้มีระบบให้การบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความยืดหยุ่น
คล่องตัว ยึดถือระบบคุณธรรม
„ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลท้องถิ่นให้เป็นผู้มีสมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยมีระบบสวัสดิการที่เหมาะสม
„ มีการประเมินผลแบบประชาชนมีส่วนร่วม และการพิทักษ์ระบบคุณธรรม รวมทั้งการ
จัดความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจาให้สมดุลกัน
„ ให้มีองค์กรกลางการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไว้เป็นการเฉพาะ
„ การถ่ายโอน การหมุนเวียน การโอนย้ายบุคลากรระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค
และส่วนท้องถิ่น ตลอดจนการจัดระเบียบบริหารงานบุคคลและการพัฒนาทรัพยากร
บุคคลของท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด
ประเด็นที่ 3: ระบบการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่
เหมาะสมกับบริบทและภารกิจ
กลุ่มประเด็นด้านการปกครองท้องถิ่น
„ การกากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องทาเท่าที่จาเป็นตามกรอบกฎหมายและมี
มาตรฐานกลางเพื่อเป็นหลักประกันในการคุ้มครองประชาชน เพื่อให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นมีความเป็นอิสระและสามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและธรร
มาภิบาล
„ รัฐจะต้องช่วยเหลือและสนับสนุนการดาเนินงานของท้องถิ่นเมื่อได้รับการร้องขอ และ
ส่งเสริมการเพิ่มขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประเด็นที่ 4: ระบบการกากับดูแลและเพิ่มขีดความสามารถในการบริหาร
จัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้อเสนออื่นที่ช่วยผลักดันการกระจายอานาจ
คณะกรรมาธิการปฏิรูปการ
บริหารราชการแผ่นดินข้อเสนอ
„ ธรรมาภิบาล (จัดตั้งองค์กรตามรธน.เพื่อส่งเสริมและรักษาจริยธรรมและธรรมาภิบาล)
„ กาหนดขอบเขตภารกิจ อานาจหน้าที่ และจัดดุลอานาจระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น และ
ให้เพิ่มอานาจการมีส่วนร่วมของประชาชน
„ ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล: การบริหารราชการแผ่นดินต้องตอบสนองความต้องการต่อประชาชน
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะยาม และรายงานผลต่อประชาชน
„ การเข้าถึงบริการภาครัฐและการมีส่วนร่วมของประชาชน
„ การจัดสรรทรัพยากรที่มีปละกระทบต่อประชาชนให้ดาเนินการโดยผู้มีอานาจการจัดการที่เป็น
อิสระ (Independent Regulator)
„ ปฏิรูปการบริหารงานภาครัฐอย่างเป็นบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
ข้อเสนออื่นที่ช่วยผลักดันการกระจายอานาจ
คณะกรรมาธิการปฏิรูปการ
บริหารราชการแผ่นดินข้อเสนอ
„ การจากัดอานาจ บทบาท ขนาด และการขยายตัวของภาครัฐ: ปรับบทบาทภาครัฐ ลดการ
แทรกแซงกลไกตลาดโดยภาครัฐ + ภาคเอกชน/ประชาสังคมสามารถจัดบริการสาธารระตามที่
กฎหมายกาหนด โดยได้รับการสนับสนุนและกากับดูแลจากรัฐ
„ ความมั่นคงแห่งรัฐ: จัดทาแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว (ควรแก้ไขยาก) + กาหนดนโยบาย
ความมั่นคงให้ชัดเจน
„ งบประมาณและการคลัง: จัดทางบประมาณที่เน้นการควบคุมผลงานและสร้างกลไกบูรณาการ
„ ให้จัดทาระบบงบประมาณแบบ 2 ขาคือ “งบประมาณตามภารกิจ + งบประมาณตามพื้นที่”
ข้อเสนออื่นที่ช่วยผลักดันการกระจายอานาจ
การปฏิรูปการเงิน การคลัง และ
งบประมาณ
ข้อเสนอใน
รัฐธรรมนูญ
„ กาหนดให้การก่อหนี้ผูกพันและการใช้เงินแผ่นดิน ต้องทาเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณประจาปีประกอบด้วย
งบประมาณรายรับและงบประมาณรายจ่าย (หรือระบบงบประมาณสองขา)
„ กาหนดให้นาเงินงบประมาณที่สภาผู้แทนราษฎรแปรญัตติ ปรับลด หรือ “งบแปรญัตติ” ไปไว้ในแผนงบประมาณส่วนใด
ส่วนหนึ่งซึ่งไม่สามารถนาไปจัดสรรหรือใช้จ่ายในลักษณะที่เอื้อประโยชน์แก่นักการเมืองหรือส่วนราชการใด ๆ ได้โดยตรง
„ ให้คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน มีอานาจหน้าที่ตรวจสอบไต่สวนข้อเท็จจริงกรณี การใช้จ่ายเงินแผ่นดินและการก่อหนี้
ผูกพันของคระรัฐมนตรี ส่วนราชการ หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกรองส่วนท้องถิ่น
„ การจัดแบ่งประเภทภาษีและรายได้จากแหล่งรายได้อื่น ๆ ระหว่างรัฐบาลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยคานึงถึง
ดุลยภาพทางการคลังระหว่างรัฐบาลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และความเท่าเทียมทางการคลังระหว่างพื้นที่
„ การจัดระบบงบประมาณในเชิงพื้นที่ โดยยึดหลักการงบประมาณแบบมีส่วนร่วมของประชาชนควบคู่ไปกับงบประมาณ
ฐานหน่วยงาน
ประเด็นและทิศทางของการร่างรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับท้องถิ่น
การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น
การเปลี่ยนชื่อ “องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น”
เป็น “องค์กรบริหาร
ท้องถิ่น”
การให้องค์กรบริหาร
ท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลัก
และการยึดหลัก “การ
แข่งขัน”
(Contestability) ของ
การจัดบริการสาธารณะ
การขยายอานาจหน้าที่การ
จัดบริการสาธารณะเพื่อ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
องค์กรบริหารท้องถิ่นจัดทา
บริการสาธารณะและสร้างความ
มั่นคงและเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
และสังคมภายในพื้นที่
การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น (ต่อ)
การกาหนดขนาดของ
องค์กรบริหารท้องถิ่นที่
สอดคล้องกับภารกิจและ
ศักยภาพ
การเพิ่มบทบาทการจัดการ
และความร่วมมือเชิงพื้นที่
และภารกิจ
การสร้างรูปแบบองค์กร
บริหารท้องถิ่นที่หลากหลาย
มากขึ้น
การสร้างระบบการ
บริหารงานภายในของ
องค์กรบริหารท้องถิ่นตาม
หลักธรรมาภิบาลโดย
คานึงถึงดุลยภาพระหว่าง
ความมีอิสระและมาตรฐาน
การควบรวมองค์กรบริหาร
ท้องถิ่น
(Amalgamation)
การจัดงบประมาณที่จัดสรร
ตามพื้นที่ (Area-based
budgeting)
สภา-บริหาร /
คณะกรรมการเมือง /
ผู้จัดการเมือง
การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น (ต่อ)
การบริหารงานบุคคลของ
ท้องถิ่นตามหลักคุณธรรม
การจัดทาประมวลกฎหมาย
ท้องถิ่น
การกากับดูแลองค์กร
บริหารท้องถิ่นอย่างเท่าที่
จาเป็นเพื่อคุ้มครอง
ประโยชน์สาธารณะโดยไม่
กระทบหลักความเป็นอิสระ
ขององค์กรบริหารท้องถิ่น
การเปิดโอกาสให้มีสมัชชา
พลเมืองตามความ
เหมาะสมและความต้องการ
ของท้องถิ่น
- องค์กรกลางบริหารงานบุคคล
ขององค์กรบริหารท้องถิ่นทุก
รูปแบบ
- คณะกรรมการแต่งตั้ง
ข้าราชการส่วนท้องถิ่นตามระบบ
คุณธรรมในแต่ละจังหวัด
1. การกระจายอานาจมากขึ้น
2. หน่วยงานรับผิดชอบการ
กระจายอานาจให้มีเอกภาพ
3. การจัดสรรภาษีและรายได้
ระหว่างรัฐและองค์กรบริหาร
ท้องถิ่น
เน้น “ภารกิจ” ในลักษณะเชิงบวกเพื่อสนับสนุนงานใน
ลักษณะการเมืองแบบประนีประนอม
- ก่อตั้งบนฐานของความพร้อมทางภูมิสังคมในพื้นที่
บริหารท้องถิ่น
- มีสมาชิกที่มาจากตัวแทนของทุกภาคส่วน
แนวความคิดเกี่ยวกับการกระจายอานาจ:
กระบวนทัศน์ดั้งเดิมและความคิดใหม่
กระบวนทัศน์ดั้งเดิม: ปัญหาและวิธีการเดิมที่ต้องแก้ไข
1. • ปัญหาการรวมศูนย์อานาจของส่วนกลาง
2. • ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลาง-ภูมิภาค-ท้องถิ่น
3. • โครงสร้างและกลไกการปกครองท้องถิ่นแบบสองชั้น
4. • คุณภาพและความหลากหลายของบริการสาธารณะโดยท้องถิ่น
5. • การเติบและข้อวิจารณ์ต่อพัฒนาการประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่น
6. • การเลือกตั้งและระบบเลือกตั้งในท้องถิ่น
7. • การขาดแคลนรายได้ของท้องถิ่น
8. • การกากับดูแลที่เข้มงวดเกินไป
กระบวนทัศน์ดั้งเดิม: ปัญหาและวิธีการเดิมที่ต้องแก้ไข
 ปัญหาการรวมศูนย์อานาจของส่วนกลาง
 การรวมศูนย์อานาจที่มากเกินไปทาให้เกิดการผูกขาดและการกระจุกตัวของอานาจ
หน้าที่แก่ส่วนกลางในฐานะผู้ใช้อานาจ  มีโอกาสที่จะเกิดการใช้อานาจในทางที่พิษ
ได้ง่ายและสร้างความเสียหายในวงกว้าง
 การเปิดโอกาสและกระจายอานาจให้ท้องถิ่นจะช่วยกระจายความเสี่ยงของการใช้อานาจ
ในทางที่ผิดและความเสียหายจากการใช้อานาจในภาครัฐได้
 ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลาง-ภูมิภาค-ท้องถิ่น
 ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคไม่ควรมีอานาจหน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะในระดับพื้นที่
แข่งกับท้องถิ่น
 ส่วนกลาง-ภูมิภาคควรทาหน้าที่กาหนดและบริหารยุทธศาสตร์แห่งชาติ-
ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ และจัดบริการสาธารณะระดับชาติที่ท้องถิ่นไม่สามารถ
ดาเนินการได้เช่น ความมั่นคง การเศรษฐกิจมหภาค และการทูต
 ท้องถิ่นควรมีอานาจในการจัดบริการสาธารณะเกือบทุกประเภทในระดับท้องถิ่นยกเว้น
ด้านความมั่นคง การเศรษฐกิจมหภาค และการทูต
กระบวนทัศน์ดั้งเดิม: ปัญหาและวิธีการเดิมที่ต้องแก้ไข
 โครงสร้างและกลไกการปกครองท้องถิ่นแบบสองชั้น
 การทับซ้อนกันของอานาจและเขตพื้นที่ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 ความสัมพันธ์ระหว่าองค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตาบล
ยังขาดความชัดเจนในการแบ่งแยกอานาจหน้าที่
 อบจ. ควรจัดบริการสาธารณะที่เป็นภาพรวมในระดับจังหวัด หรือเป็นบริการสาธารณะ
ที่เทศบาล/อบต. ไม่สามารถดาเนินการได้และได้รับการร้องขอจากเทศบาล/อบต.ตาม
หลัก Subsidiarity
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นชั้นบน
องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นชั้นล่าง
เทศบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นชั้นล่าง
องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.)
กระบวนทัศน์ดั้งเดิม: ปัญหาและวิธีการเดิมที่ต้องแก้ไข
 คุณภาพและความหลากหลายของบริการสาธารณะโดยท้องถิ่น
 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความได้เปรียบในการจัดบริการสาธารณะที่สอดคล้องกับ
ความต้องการของคนในพื้นที่ และสามารถสร้างบริการสาธารระที่เป็นนวัตกรรมและมี
ความหลากหลายได้
 อย่างไรก็ตามองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังถูกวิจารณ์ถึงคุณภาพในการจัดบริการ
สาธารณะ การจัดบริการที่ไม่คานึงถึงการประหยัดขนาด (Economic of Scale) และ
การทุจริต
 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังคงต้องได้รับการยกระดับและพัฒนาศักยภาพในการ
จัดการและความสามารถเชิงเทคนิคในการจัดบริการสาธารณะที่เกี่ยวกับ
 การพัฒนาทักษะที่สลับซับซ้อนเช่น องค์ความรู้ด้านสาธารณสุข ฯลฯ
 การจัดการความเสี่ยงทางด้านการคลัง
 ฯลฯ
กระบวนทัศน์ดั้งเดิม: ปัญหาและวิธีการเดิมที่ต้องแก้ไข
 การเติบและข้อวิจารณ์ต่อพัฒนาการประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่น
 การกระจายอานาจได้สร้างพัฒนาการในสองลักษณะคือ
 1. การมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านการเลือกตั้ง ที่ทาให้นักการเมืองท้องถิ่นและ
ประชาชนมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันในพื้นที่
 ประชาชนมีการติดตามและเรียกร้องให้นักการเมืองท้องถิ่นต้องจัดบริการสาธารณะและโครงการที่
เป็นประโยชน์มากขึ้น
 2. ในทางตรงกันข้าม บางพื้นที่การเมืองท้องถิ่นยังถูกผูกขาดโดยเจ้าพ่อท้องถิ่น
เกิดการคอรัปชั่น และการบริหารงานที่ขาดประสิทธิภาพ
 ทาให้ผลของการสร้างประชาธิปไตยท้องถิ่นในหลายพื้นที่มีทั้ง “ได้ผล” และ “ยังไม่
ได้ผล”
 ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นไม่ควรเป็ นเหตุผลของการ
ยุบการปกครองท้องถิ่น
กระบวนทัศน์ดั้งเดิม: ปัญหาและวิธีการเดิมที่ต้องแก้ไข
 การเลือกตั้งและระบบเลือกตั้งในท้องถิ่น
 การเลือกตั้งในระดับท้องถิ่นถูกวิจารณ์ถึงปัญหาการซื้อเสียง การอุปถัมภ์ การ
แทรกแซงจากการเมืองระดับชาติ และการได้ผู้แทนที่ไร้ความสามารถ
 ระบบการเลือกตั้งที่เสรีและเป็นธรรม กับการทาให้พลเมืองมีความกระตือรือร้นในการ
สร้างการเลือกตั้งที่เป็นธรรมจึงเป็นความท้าทายและส่งผลต่อความชอบธรรมของ
การเมืองท้องถิ่น
 การออกแบบระบบเลือกตั้งที่เหมาะสมสาหรับท้องถิ่น (?แตกต่างจากการเลือกตั้ง
ระดับชาติ) จึงสาคัญ
 การคัดเลือดและคัดกรองนักการเมืองท้องถิ่น
 การวาระบบการจัดการเลือกตั้งท้องถิ่น
 การสร้างบรรยากาศการแข่งขันทางการเมืองในท้องถิ่น
 ฯลฯ
กระบวนทัศน์ดั้งเดิม: ปัญหาและวิธีการเดิมที่ต้องแก้ไข
 การขาดแคลนรายได้ของท้องถิ่น
 ความไม่สมดุลกันระหว่างรายได้ของท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้องถิ่นต้องดาเนินการ
 ท้องถิ่นยังมีรายได้ที่จัดเก็บเองในสัดส่วนที่น้อยมาก
 พ.ศ.2556 มีเพียง 8.78 % ของรายได้ทั้งหมด
 ท้องถิ่นยังพึ่งพารายได้จากเงินอุดหนุนของรัฐบาลเป็นหลัก
 พ.ศ.2556 ท้องถิ่นมีรายได้จากเงินอุดหนุนร้อยละ 41.83 ของรายได้ทั้งหมด
 การปรับปรุงการคลังท้องถิ่นต้องมุ่งไปที่การเพิ่มรายได้ให้ท้องถิ่นเป็นสาคัญเช่น
 การเพิ่มประเภทภาษีและแหล่งรายได้ที่ท้องถิ่นสามารถจัดเก็บเองได้
 การกาหนดเกณฑ์ที่เหมาะสมในการจัดสรรรายได้ โดยพิจารณาจากสภาพความเป็นจริงของพื้นที่
และยุทธศาสตร์ของพื้นที่
 การส่งเสริมให้ท้องถิ่นสามารถหารายได้จากแหล่งรายได้ที่ไม่ใช่ภาษี (Non-Tax)
 ลดการพึ่งพาเงินอุดหนุน
 สร้างระบบข้อมูลทางการคลังที่มีประสิทธิภาพและเสริมความรู้ทางการคลังแก่ท้องถิ่น
กระบวนทัศน์ดั้งเดิม: ปัญหาและวิธีการเดิมที่ต้องแก้ไข
 การกากับดูแลที่เข้มงวดเกินไป
 การออกระเบียบและคาสั่งที่ยังขัดกับเจตนารมณ์ของการกระจายอานาจใน
รัฐธรรมนูญและกฎหมายว่าด้วยการกระจายอานาจ
 เน้นการกากับดูแล “ก่อนการกระทา” (Pre-Audit) และ “การตีความ
กฎหมายที่แคบเกินไป” จนท้องถิ่นขาดความเป็นอิสระ
 แนวทางการกากับดูแลควรถูกปรับปรุงเพื่อสร้างธรรมาภิบาลและ
มาตรฐานการบริการสาธารณะโดยยังยึดหลักความเป็นอิสระของท้องถิ่น
 หน่วยงานรัฐผู้กากับดูแลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมีฉันทานุมัติ
หรือการตกลงร่วมกันในการกาหนดแนวทางการกากับดูแล
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
1.
• การปฏิรูประบบการคลังและงบประมาณระดับชาติ
2.
• การสร้างภาษีใหม่และสร้างแหล่งรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีของรัฐบาล
3.
• การยึดหลักความสามารถทั่วไป (General Competence)
ในการจัดบริการสาธารณะของท้องถิ่น
4.
• การจัดบริการสาธารณะเพื่อความเท่าเทียมทางสังคมและแก้ไข
ความไม่เท่าเทียม
5.
• การสร้างนวัตกรรมโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
6.
• การจัดโครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่หลากหลาย
7.
• การตั้ง “สภาพลเมือง” ที่สร้างการมีส่วนร่วมในทุกระดับ
8.
• การจัดการเชิงพื้นที่ (Area-Based Management-
ABM) และการจัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ
9.
• ขนาดที่เหมาะสม (Optimal Size) สาหรับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
10.
• การคงอยู่ของระบบราชการส่วนภูมิภาคและระบบกานัน/ผู้ใหญ่บ้าน
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 การปฏิรูประบบการคลังและงบประมาณระดับชาติ
 การปฏิรูประบบการจัดสรรงบประมาณจากการจัดงบประมาณตามภารกิจ
หน้าที่/หน่วยงาน (Function-Based Budgeting)  ไปสู่การจัดสรร
งบประมาณตามพื้นที่ (Area-Based Budgeting)
 อดีต: ระบบการจัดสรรงบประมาณของไทยในอดีตมักจัดสรร
งบประมาณไปสู่กรมและกระทรวง โดยไม่ได้จัดสรรให้กับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือความต้องการของพื้นที่มากนัก
 อดีต: เกณฑ์การจัดสรรงบประมาณให้แก่ท้องถิ่นยังขาดความเหมาะสม
และยังเป็นการกาหนดที่ขึ้นอยู่กับส่วนกลางเพียงฝ่ายเดียว
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 การปฏิรูประบบการคลังและงบประมาณระดับชาติ (ต่อ)
 การปฏิรูประบบการคลังและงบประมาณระดับชาติให้สอดคล้องกับความเป็ น
อิสระทางการคลังของท้องถิ่นมีความสาคัญเช่น
 กาหนดให้การก่อหนี้ผูกพันและการใช้เงินแผ่นดิน ต้องทาเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณ
ประจาปีประกอบด้วยงบประมาณรายรับและงบประมาณรายจ่าย (หรือระบบงบประมาณ
สองขา)
 กาหนดให้นาเงินงบประมาณที่สภาผู้แทนราษฎรแปรญัตติ ปรับลด หรือ “งบประญัตติ” ไปไว้
ในแผนงบประมาณส่วนใดส่วนหนึ่งซึ่งไม่สามารถนาไปจัดสรรหรือใช้จ่ายในลักษณะที่เอื้อ
ประโยชน์แก่นักการเมืองหรือส่วนราชการใด ๆ ได้โดยตรง
 ให้คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน มีอานาจหน้าที่ตรวจสอบไต่สวนข้อเท็จจริงกรณี การใช้
จ่ายเงินแผ่นดินและการก่อหนี้ผูกพันของคณะรัฐมนตรี ส่วนราชการ หน่วยงานรัฐ และองค์กร
ปกรองส่วนท้องถิ่น
 การจัดแบ่งประเภทภาษีและรายได้จากแหล่งรายได้อื่น ๆ ระหว่างรัฐบาลและองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น โดยคานึงถึงดุลยภาพทางการคลังระหว่างรัฐบาลและองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น และความเท่าเทียมทางการคลังระหว่างพื้นที่
 การจัดระบบงบประมาณในเชิงพื้นที่ โดยยึดหลักการงบประมาณแบบมีส่วนร่วมของ
ประชาชนควบคู่ไปกับงบประมาณฐานหน่วยงาน
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 การสร้างภาษีใหม่และสร้างแหล่งรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีของรัฐบาล
 รายได้จากการพัฒนาเศรษฐกิจภายในพื้นที่ (Local Economic
Development)
 การดาเนินกิจการพาณิชย์ (Local Public Enterprise)
 การยึดหลักความสามารถทั่วไป (General Competence) ในการจัดบริการ
สาธารณะของท้องถิ่น
 คือการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดบริการสาธารณะได้ในทุก
ประเภทยกเว้นกรณีที่กฎหมายระบุห้ามหรือสงวนไว้ให้เป็ นหน้าที่ของ
ส่วนกลาง
 ต่างจากปัจจุบันที่อปท. สามารถจัดบริการสาธารณะตามที่กฎหมายกาหนดไว้
เท่านั้น
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 การจัดบริการสาธารณะเพื่อความเท่าเทียมทางสังคมและแก้ไขความไม่
เท่าเทียม
 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเป็นผู้นาในการสร้างความเท่าเทียมกันใน
สังคมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรดาเนินงานร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อลด
ความไม่เท่าเทียมกันในสังคม
 การกระจายงบประมาณไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นเพียงการลด
ความไม่เท่าเทียมทางงบประมาณในพื้นที่เท่านั้น แต่อปท. ต้องใช้
งบประมาณเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างความเท่าเทียมด้วย
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 การสร้างนวัตกรรม (Innovative Initiation) โดยองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น
 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเป็นผู้นาในการสร้างนวัตกรรมสาหรับ
ภาครัฐ
 ปัจจุบัน สถาบันพระปกเกล้าได้สารวจและคัดเลือก “Best Practices” ของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกปี โดยในพ.ศ.2557 มีองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น 12 แห่งที่ได้รางวัล “พระปกเกล้าทองคา” ในด้าน
 ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
 การเสริมสร้างเครือข่ายระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม
 การสร้างความสมานฉันท์และสันติสุข
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 การจัดโครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่หลากหลาย
 ในปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโรงสร้างเดียวคือ “ฝ่ายสภา-บริหาร”
 โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรถูกออกแบบให้มีความหลากหลายมาก
ขึ้นเช่น คณะกรรมการเมือง / ระบบผู้ว่าการเมือง / ผู้จัดการเมือง ฯลฯ
 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถ “เลือก” โครงสร้างที่สอดคล้องกับอปท. ของตนก็
ได้
 การตั้ง “สภาพลเมือง” ที่สร้างการมีส่วนร่วมในทุกระดับ
 เป็นแนวคิดในร่างพระราชบัญญัติจังหวัดปกครองตนเองพ.ศ.....
 เป็น “สภาแห่งที่สอง” ทาหน้าที่ให้คาปรึกษาและตรวจสอบการทางานของอปท.
 สมาชิกสภาพลเมืองต้องมาจากตัวแทนของประชาชนทุกกลุ่มในพื้นที่
 สมาชิกสภาพลเมืองอาจมีที่มาแตกต่างกันเช่น การเลือกตั้ง การสรรหา การเป็นตัวแทน
ของกลุ่มในสังคม ฯลฯ
 ยังถกเถียงกันว่าควรให้อานาจหน้าที่มากน้อยเพียงใด และสภาพลเมืองควรจัดตั้งใน
อปท. รูปแบบใด (เทศบาล อบต. อบจ.)
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 การจัดการเชิงพื้นที่ (Area-Based Management-ABM) และการจัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ
 ABM เป็นการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ที่ขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะทางภูมิศาสตร์/ประเด็นปัญหา
เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นตามสถานการณ์และยุทธศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเช่น
 เมืองชายแดน
 พื้นที่ที่มีประชากร/แรงงานผู้อพยพ
 พื้นที่อนุรักษ์ทางสิ่งแวดล้อม
 พื้นที่ทางเศรษฐกิจ
 ABM อาจมีอานาจพิเศษสาหรับการจัดการในพื้นที่เฉพาะและอาจได้รับงบประมาณพิเศษจาก
การจัดสรรงบประมาณเชิงพื้นที่
 การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ อาจถูกก่อตั้งเพื่อให้มีโครงสร้างและ
อานาจหน้าที่ที่เหมาะสมกับพื้นที่ที่มีความพิเศษที่ต้องมี ABM
 การสร้างอปท. รูปแบบพิเศษในปัจจุบันยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่มีความพยายามจากหลายภาคส่วน
เช่น เมืองแม่สอด / การจัดการพื้นที่ท่องเที่ยวของเกาะสมุย หรือการจัดการพื้นที่เศรษฐกิจ
พิเศษรอบสนามบินสุวรรณภูมิ
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 ขนาดที่เหมาะสม (Optimal Size) สาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 ปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขนาดเล็กและกระจัดกระจายเช่น อปท. บางแห่งมี
งบประมาณเล็กน้อยแต่มีพื้นที่การจัดการกว้างขวาง
 อปท. ที่มีขนาดเล็กเกินไปไม่ก่อให้เกิดความประหยัดเชิงขนาด (Economic of Scale) และใช้
งบประมาณในลักษณะ “เบี้ยหัวแตก”
 การควบรวมอปท. เป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาและเกณฑ์การควบรวมยังเป็นที่ถกเถียง
กันอยู่เช่น
 การใช้เกณฑ์ด้านรายได้
 การใช้เกณฑ์จากจานวนประชากร
 การใช้เกณฑ์โดยพิจารณาจากพื้นที่/ทาเลที่ตั้ง
 การควบรวมอปท. ควรสามารถทาได้โดยไม่จาเป็นต้องอิงตามเขตพื้นที่ของจังหวัด-อาเภอ-
ตาบล
 การควบรวมควรดาเนินการโดยได้รับความยินยอมของประชาชน ?
 การบังคับอาจถูกต่อต้านในหลายพื้นที่และขาดการมีส่วนร่วมในกระบวนการควบรวม
 การอาศัยความยินยอมอย่างเดียวอาจ “ไม่เกิดการควบรวม” จากการเสียประโยชน์ในการเมืองท้องถิ่น
แนวความคิดและข้อถกเถียงใหม่เกี่ยวกับการกระจายอานาจ
 การคงอยู่ของระบบราชการส่วนภูมิภาคและระบบกานัน/ผู้ใหญ่บ้าน
 ข้อเสนอ “การยุบระบบราชการส่วนภูมิภาค” ยังเป็นที่ถกเถียงกันมากในสอง
ลักษณะคือ
 1. การยุบภูมิภาคไม่ใช่แนวทางในการแก้ไขปัญหาการรวมศูนย์
 เนื่องจากระบบราชการส่วนภูมิภาคเป็นส่วนหนึ่งของส่วนกลาง
 แม้แต่ในปัจจุบัน “หน่วยงานที่มีฐานะเป็นระบบราชการส่วนกลาง” ก็ไปดาเนินงานใน
พื้นที่เป็นจานวนมากมากกว่า “หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค”
 2. ระบบราชการส่วนภูมิภาคอาจมีความจาเป็ นแต่ควรปรับเปลี่ยนภารกิจใหม่
 ให้เน้นการบริหารและติดตามการทางานของท้องถิ่นให้มีทิศทางที่สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ/ยุทธศาสตร์พื้นที่
 การทาหน้าที่ให้การสนับสนุนและให้คาปรึกษาทางวิชาการแก้ท้องถิ่น
Q & A

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
Pandit Chan
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
FURD_RSU
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2Saiiew
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
gueste51a26
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54ps-most
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Kamolkan Thippaboon
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
FURD_RSU
 
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายนรายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
ssuser6a206b1
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4Saiiew
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติLink Standalone
 
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 3 ครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคม
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 3 ครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคมรายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 3 ครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคม
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 3 ครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคม
ssuser6a206b1
 

What's hot (18)

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
 
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายนรายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
 
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 3 ครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคม
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 3 ครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคมรายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 3 ครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคม
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 3 ครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคม
 

Viewers also liked

2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่นkroobannakakok
 
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นkroobannakakok
 
หนังสือระบบจำแนกตำแหน่ง
หนังสือระบบจำแนกตำแหน่งหนังสือระบบจำแนกตำแหน่ง
หนังสือระบบจำแนกตำแหน่ง
ประพันธ์ เวารัมย์
 
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูปสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แนวทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
แนวทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมแนวทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
แนวทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
Taraya Srivilas
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
ประพันธ์ เวารัมย์
 
Thailand 4.0 กับการพัฒนาเทคโนโลยีในองค์กรและท้องถิ่น
Thailand 4.0 กับการพัฒนาเทคโนโลยีในองค์กรและท้องถิ่นThailand 4.0 กับการพัฒนาเทคโนโลยีในองค์กรและท้องถิ่น
Thailand 4.0 กับการพัฒนาเทคโนโลยีในองค์กรและท้องถิ่น
Prachyanun Nilsook
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
ประพันธ์ เวารัมย์
 

Viewers also liked (15)

2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
 
3 เทศบาล
3 เทศบาล3 เทศบาล
3 เทศบาล
 
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
หนังสือระบบจำแนกตำแหน่ง
หนังสือระบบจำแนกตำแหน่งหนังสือระบบจำแนกตำแหน่ง
หนังสือระบบจำแนกตำแหน่ง
 
4. อบต
4.  อบต4.  อบต
4. อบต
 
กรุงเทพ
กรุงเทพกรุงเทพ
กรุงเทพ
 
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูปสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
 
แนวทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
แนวทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมแนวทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
แนวทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
 
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
 
Thailand 4.0 กับการพัฒนาเทคโนโลยีในองค์กรและท้องถิ่น
Thailand 4.0 กับการพัฒนาเทคโนโลยีในองค์กรและท้องถิ่นThailand 4.0 กับการพัฒนาเทคโนโลยีในองค์กรและท้องถิ่น
Thailand 4.0 กับการพัฒนาเทคโนโลยีในองค์กรและท้องถิ่น
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 

Similar to ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย

การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
Taraya Srivilas
 
อาณาจักร 2550
อาณาจักร 2550อาณาจักร 2550
อาณาจักร 2550Chompoo Naka
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
Klangpanya
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
KatawutPK
 
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไรรัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
puasansern tawipan
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
KatawutPK
 
Springer link
Springer linkSpringer link
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
M1 unit 2
M1 unit 2M1 unit 2
M1 unit 2
ssuserfd8941
 

Similar to ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย (10)

การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
อาณาจักร 2550
อาณาจักร 2550อาณาจักร 2550
อาณาจักร 2550
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
 
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไรรัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
 
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
Springer link
Springer linkSpringer link
Springer link
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 
M1 unit 2
M1 unit 2M1 unit 2
M1 unit 2
 

More from เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย

แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆ
ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆ
ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆ
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60
จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60
จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุกำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุงประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุงรายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
กำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิต
กำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิตกำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิต
กำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิต
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬากำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 

More from เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย (20)

แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
 
ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆ
ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆ
ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆ
 
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
 
จ้างประกอบอาหาร 16 สค ถึง 30กย 60
จ้างประกอบอาหาร 16 สค ถึง 30กย 60จ้างประกอบอาหาร 16 สค ถึง 30กย 60
จ้างประกอบอาหาร 16 สค ถึง 30กย 60
 
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
 
จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60
จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60
จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60
 
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุกำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
 
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุก่อสร้าง
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุก่อสร้างกำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุก่อสร้าง
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุก่อสร้าง
 
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุงประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
 
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลังหลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
 
โครงการก่อสร้างสนามฝึกซ้อมฟุตบอล
โครงการก่อสร้างสนามฝึกซ้อมฟุตบอลโครงการก่อสร้างสนามฝึกซ้อมฟุตบอล
โครงการก่อสร้างสนามฝึกซ้อมฟุตบอล
 
ครั้งที่160 วันที่ 5 ม.ค.60
ครั้งที่160 วันที่ 5 ม.ค.60ครั้งที่160 วันที่ 5 ม.ค.60
ครั้งที่160 วันที่ 5 ม.ค.60
 
ครั้งที่ 5 60 วันที่ 9 พ.ค. 60
ครั้งที่ 5 60 วันที่ 9 พ.ค. 60ครั้งที่ 5 60 วันที่ 9 พ.ค. 60
ครั้งที่ 5 60 วันที่ 9 พ.ค. 60
 
ครั้งที่ 4 60 วันที่ 4 เม.ย. 60
ครั้งที่ 4 60 วันที่ 4 เม.ย. 60ครั้งที่ 4 60 วันที่ 4 เม.ย. 60
ครั้งที่ 4 60 วันที่ 4 เม.ย. 60
 
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุงรายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
 
กำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิต
กำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิตกำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิต
กำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิต
 
แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
 
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬากำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
 
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
 
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
 

ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย