SlideShare a Scribd company logo
หนา ๑
เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๒ ง                  ราชกิจจานุเบกษา                  ๒๗ มกราคม ๒๕๕๒

                      ประกาศสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
                  เรื่อง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔

           ดวยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา ๗๖ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและ
วิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การบ า นเมื อ งที่ ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ และระเบี ย บ
สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ ๕ กําหนดให
คณะรัฐมนตรีตองจัดใหมีแผนการบริหารราชการแผนดินตลอดระยะเวลาการบริหารราชการแผนดิน
ของคณะรัฐมนตรี เพื่อแสดงมาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติราชการในแตละปของ
การบริหารราชการแผนดิน ซึ่งจะตองสอดคลองกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ และเมื่อคณะรัฐมนตรี
ใหความเห็นชอบแผนการบริหารราชการแผนดินแลว ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษาตอไป
           บัดนี้ คณะรัฐมนตรีที่มี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ไดจัดทําแผนการบริหาร
ราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ซึ่งคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๒
เห็นชอบแผนการบริหารราชการแผนดินตามที่แนบทายนี้แลว จึงประกาศใหใชบังคับตอไป

                                   ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒
                                                  สุรชัย ภูประเสริฐ
                                               เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
สารบัญ
                                                                             หนา
บทนํา                                                                          ๑
สวนที่หนึ่ง แนวคิดและทิศทางการบริหารประเทศ
             วิสัยทัศนของรัฐบาล                                               ๓
             กรอบการดําเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล                               ๓
สวนที่สอง แนวทางการบริหารราชการแผนดิน
             นโยบายที่ ๑   นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก           ๗
             นโยบายที่ ๒   นโยบายความมั่นคงของรัฐ                             ๓๘
             นโยบายที่ ๓   นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต                          ๔๖
             นโยบายที่ ๔   นโยบายเศรษฐกิจ                                     ๖๙
             นโยบายที่ ๕   นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม        ๙๖
             นโยบายที่ ๖   นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจย และนวัตกรรม
                                                                 ั           ๑๐๔
             นโยบายที่ ๗   นโยบายการตางประเทศและเศรษฐกิจระหวางประเทศ       ๑๐๙
             นโยบายที่ ๘   นโยบายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี               ๑๒๐
สวนที่สาม กลไกการนําแผนการบริหารราชการแผนดินไปสูการปฏิบัติ
             ๑. หนวยงานรับผิดชอบ                                            ๑๓๓
             ๒. ประมาณการรายไดและรายจายตามนโยบาย                           ๑๓๘
             ๓. แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล                         ๑๔๐
บทสรุป                                                                       ๑๔๓
สวนที่สี่   แผนงาน/โครงการที่มีลําดับความสําคัญตามนโยบายรัฐบาล              ๑๔๔
บัญชีอักษรชื่อยอหนวยงาน                                                    ก-ญ
บทนํา


              การบริ ห ารราชการแผ น ดิ น ของรั ฐ บาลมี จุ ดมุ ง หมายที่ จ ะสร า งความปรองดองสมานฉั น ท ใ น
สังคมไทย นําประเทศใหผานพนผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจของโลกและพัฒนาไปสูการเจริญเติบโตที่ยั่งยืน
ซึ่งจะนําความอยูดีมีสุขมาสูประชาชน ซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗๖ และ
พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔
กําหนดใหรัฐบาลจะตองจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดินใหสอดคลองกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ
โดยนํานโยบายที่แถลงตอรัฐสภา และแผนพัฒนาประเทศดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ มาพิจารณากําหนดเปาหมาย
และผลสัมฤทธิ์ของงาน สวนราชการหรือบุคคลที่จะรับผิดชอบในแตละภารกิจ ประมาณการรายไดและรายจาย
และทรัพยากรตาง ๆ ที่จะตองใชระยะเวลาดําเนินการ และการติดตามประเมินผลเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและ
ประสิ ท ธิ ผ ล สามารถตอบสนองความต อ งการของประชาชน และ รองรั บต อ กระแสการเปลี่ ย นแปลงใน
บริบทโลกไดอยางยั่งยืน รวมทั้งกําหนดวิธีการและวางกลไกในการถายทอดนโยบายรัฐบาลไปสูการปฏิบัติของ
หนวยงานตาง ๆ ตลอดระยะเวลาการบริหารราชการสี่ปของคณะรัฐมนตรี

              การจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔ ของรัฐบาลยึดเจตนารมณของ
คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่ไดแถลงตอรัฐสภาเมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๑ ตลอดจนแผนพัฒนา
ประเทศในดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ เปนตน เปนแนวทาง
ในการจั ด ทํ า แผนการบริ ห ารราชการแผ น ดิ น ซึ่ ง แต ล ะส ว นราชการจะต อ งนํ า ไปเป น กรอบในการจั ด ทํ า
แผนปฏิบัติราชการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
มาตรา ๙ และมาตรา ๑๖ ในการกําหนดเปนรายละเอียดของแตละกิจกรรมที่จะดําเนินการในแตละป เพื่อใช
เปนแนวทางในการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป อันเปนการผลักดันใหประเด็นนโยบายตามแผนการ
บริหารราชการแผนดินประสบความสํา เร็จตามเปาหมายที่กําหนด ทั้งนี้แผนการบริหารราชการแผนดิน
พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔ มีเนื้อหาสาระสําคัญประกอบดวยสี่สวน ไดแก

        สวนที่หนึ่ง   แสดงแนวคิ ด และทิ ศ ทางการบริ ห ารประเทศ วิ สั ย ทั ศ น ข องรั ฐ บาล และกรอบ
                       การดําเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล

        สวนที่สอง     แสดงแนวทางการบริ ห ารราชการแผ น ดิ น ซึ่ ง ประกอบด ว ยรายละเอี ย ดของ
                       นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก (ป ๒๕๕๒) เพื่อสรางความเชื่อมั่นและ
กระตุนเศรษฐกิจในภาพรวม การรักษาและเพิ่มรายไดของประชาชน การลดภาระ
             คาครองชีพของประชาชน และแนวทางการบริหารราชการแผนดินทีจะดําเนินการในป
             ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔

สวนที่สาม   แสดงกลไกการนําแผนการบริหารราชการแผนดินไปสูการปฏิบัติ อันประกอบดวยการ
             มอบหมายหนวยงานรับผิดชอบ งบประมาณสนับสนุนตามนโยบาย (ประมาณการ
             รายไดและประมาณการความตองการใชเงินตามนโยบาย) และแนวทางการติดตาม
             ตรวจสอบ และประเมินผล

สวนที่สี่   แสดงแผนงาน / โครงการที่ มี ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ ตามนโยบายรั ฐ บาลทั้ ง ที่ ต อ งเร ง
             ดําเนินการในป ๒๕๕๒ และที่จะดําเนินการในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔




                                                                                                    ๒
สวนที่หนึ่ง
แนวคิดและทิศทางการบริหารประเทศ
วิสัยทัศนของรัฐบาล
             ในช วงป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ รัฐบาลจะมุง มั่ นนํา ประเทศไทยให รอดพนจากวิ ก ฤต
เศรษฐกิจโลกและพัฒนาไปสูการเจริญเติบโตอยางยั่งยืน แกไขวิกฤตทางสังคมที่มีความแตกแยกและ
พัฒนาใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ยุติวิกฤตทางการเมืองและปฏิรูปการเมืองใหมีความมั่นคงตาม
แนวทางระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
                  ทั้งนี้รัฐบาลจะดําเนินการใหบรรลุภารกิจดังกลาวภายใตแนวทางพื้นฐานหลัก ๔ ประการ
คือ
              หนึ่ง ปกปองและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยใหมีความมั่นคงในการเปนศูนยรวม
จิ ต ใจและความรั ก สามั ค คี ข องคนในชาติ และเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ไ ว เ หนื อ ความขั ด แย ง
ทุกรูปแบบ พรอมทั้งดําเนินการทุกวิถีทางอยางจริงจังเพื่อปองกันมิใหมีการลวงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ
             สอง สร า งความปรองดองสมานฉั น ท บนพื้ น ฐานของความถู ก ต อ ง ยุ ติ ธ รรมและ
การยอมรับของทุกภาคสวน
              สาม ฟนฟูเศรษฐกิจ ใหขยายตัวอยางยั่งยืน และบรรเทาผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจ
ที่ประชาชนจะประสบ
             สี่     พั ฒ นาประชาธิ ป ไตยและระบบการเมื อ ง ให มี ค วามมั่ น คง มี ก ารปฏิ บั ติ ต าม
กฎหมาย และบังคับใชกฎหมายอยางเสมอภาค เปนธรรม และเปนที่ยอมรับของสากล


                     กรอบการดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล
                   สถานะของประเทศก อนที่รัฐ บาลนี้จ ะเขา บริ ห ารประเทศเป น ช ว งที่ สัง คมไทยมี ค วาม
ขัดแยง และมีความแตกแยกเนื่องจากความเห็นที่แตกตางกันในเรื่องการเมืองและการบริหารประเทศ และ
ความขั ด แย ง ดั ง กล า วระหว า งกลุ ม ประชาชนได ท วี ค วามรุ น แรงขึ้ น จนส ง ผลให ก ารบริ ห ารบ า นเมื อ ง
ขาดความกาวหนา และมีผลกระทบตอความอยูดีมีสุขของประชาชน รัฐบาลจึงใหความสําคัญกับการยุติ
ความขัดแยงทางการเมืองและการสรางความปรองดองสมานฉันทของคนไทย ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญในการ
ที่จะบริหารประเทศใหคืบหนาอยางราบรื่น และดึงความเชื่อมั่นในประเทศไทยจากนักลงทุนใหกลับคืนมา
                   ในขณะเดี ย วกั น ประเทศไทยก็ เ ผชิ ญ สถานการณ ที่ สํ า คั ญ ภาวะเศรษฐกิ จ ไทย
ชะลอตัวอยางตอเนื่องตั้งแตตนป ๒๕๕๑ เปนตนมา โดยในชวง ๙ เดือนแรกของป เศรษฐกิจไทยขยายตัว
เฉลี่ยรอยละ ๕.๑ โดยเปนการขยายตัวรอยละ ๖ รอยละ ๕.๓ และรอยละ ๔ ในไตรมาสแรกถึงไตรมาส
ที่ ส ามตามลํ า ดั บ ป จ จั ย ที่ ส ง ผลกระทบต อ ภาวะการชะลอตั ว ดั ง กล า วได แ ก ภาวะราคาน้ํ า มั น ดิ บ ใน

                                                                                                                  ๓
ตลาดโลกที่สูงขึ้นอยางรวดเร็วเปนประวัติการณตั้งแตตนปและสูงสุดในเดือนพฤษภาคม ทําใหตนทุน
การผลิตและคาครองชีพสูงขึ้นจนอัตราเงินเฟอถึงจุดสูงสุดที่รอยละ ๙.๒ ในเดือนกรกฎาคม การลงทุนของ
เอกชนและการบริโภคของประชาชนชะลอตัวลงตอเนื่อง เชนเดียวกับการใชจายและการลงทุนของภาครัฐ
นอกจากนั้นวิกฤตการของเงินสหรัฐฯ ไดสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทย ๓ ทาง ไดแก การถอนการลงทุนจาก
ตลาดหลักทรัพยเพื่อเสริมสภาพคลองในระบบการเงินสหรัฐฯ การชะลอตัวของการลงทุนโดยตรงจาก
ตางประเทศ และจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติลดลง
              เครื่องชี้เศรษฐกิจในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดสงสัญญาณที่แสดงถึงการชะลอตัว
ของเศรษฐกิจอยางชัดเจนมากขึ้น โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม หดตัวรอยละ ๖.๖ การใชกําลังการผลิต
ในภาคอุตสาหกรรม ลดลงเหลือรอยละ ๖๑.๒ (เทียบกับเฉลี่ยรอยละ ๗๓.๑ ในครึ่งแรกของป ๒๕๕๑) ดัชนี
การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวรอยละ ๑.๒ (เทียบกับการขยายตัวเฉลี่ยรอยละ ๕.๗ ในครึ่งแรกของป
๒๕๕๑) ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน หดตัวรอยละ ๑.๖ รายไดสุทธิของรัฐบาลในชวง ๒ เดือนแรกของ
ปงบประมาณ ๒๕๕๒ (ต.ค. - พ.ย. ๒๕๕๑) จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการตามเอกสารงบประมาณ รอยละ
๑๐.๗ โดยในเดือนพฤศจิกายนภาษีที่มีฐานจากการบริโภค เชน ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต เปนตน
หดตัวรอยละ ๑๖.๑ มูลคาการสงออกในรูปเงินดอลลาร สรอ. หดตัวรอยละ ๑๗.๗ ปริมาณการสงออก
หดตัวรอยละ ๒๐.๙ และจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ ลดลงรอยละ ๒๒.๔
                  ในป ๒๕๕๒ รัฐบาลตระหนักวาเศรษฐกิจไทยจะเผชิญภาวะวิกฤตที่สําคัญ โดยเฉพาะ
ในชวงครึ่งแรกของปคือ ในไตรมาสที่หนึ่งภาวะเศรษฐกิจโลกที่ซบเซา คาดวาจะสงผลใหการสงออกและ
การทองเที่ยวซึ่งเปนสาขาสําคัญในการสรางรายไดของประเทศชะลอตัวอยางมาก การชะลอตัวของกําลังซื้อ
ทั้งในและนอกประเทศจะสงผลใหการใชกําลังการผลิตในภาคอุตสาหกรรมลดลง รายไดของแรงงานจะ
ลดลงเนื่องจากนายจางใหลดเวลาการทํางานหรือลดคาจางลง ในไตรมาสที่สอง ผลรอบที่สองจากภาวะ
เศรษฐกิจโลกซบเซา คือ การบริโภคและการลงทุนในประเทศจะชะลอลงจากรายไดของประชาชนที่ลดลง
และกํ า ลั ง การผลิ ต ที่ ยั ง มี เ กิ น ความต อ งการนอกจากนั้ น จะมี แ รงกดดั น ให ร าคาสิ น ค า ลดลง ส ง ผลให
ผูประกอบการและเกษตรกรมีรายไดลดลง หรืออาจมีการปดกิจการ สวนในภาคอุตสาหกรรมหากการใช
กําลังการผลิตต่ํากวารอยละ ๕๐ ก็คาดวาจะเริ่มมีการเลิกจางงาน ดังนั้นการวางงานจะรุนแรงในไตรมาสที่
๒-๓
                 รัฐบาลจึงถือเปนภารกิจเรงดวนที่จะตองดําเนินแผนฟนฟูเศรษฐกิจที่ใหความสําคัญกับ
การเรงสรางรายไดและลดภาระคาใชจายของประชาชน โดยวางมาตรการแยกตามกลุมเปาหมายที่ไดรับ
ความเดื อ ดร อ น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ พยุ ง การบริ โ ภคในประเทศไม ใ ห ถ ดถอยจนเกิ น ไป และทดแทนรายได จ าก
การสงออกและการทองเที่ยวที่ลดลง นอกจากนั้นจะดําเนินการกระตุนการลงทุนภาคเอกชนเพื่อใหมี
การจางงานและโอกาสทางเศรษฐกิจในสาขาตอเนื่องอื่น ๆ เพื่อเปนแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจและปองกัน
ไมใหปญหาการวางงานและหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดเพิ่มขึ้นอยางรุนแรง

                                                                                                                 ๔
นอกจากป ญ หาเศรษฐกิ จ เร ง ด ว นดั ง กล า ว รั ฐ บาลให ค วามสํ า คั ญ แก ป ญ หาพื้ น ฐาน
ระยะยาวของประเทศ เนื่ อ งจากการผลิ ต และการบริ ก ารของประเทศไทยเริ่ ม พบกั บ ข อ จํ า กั ด ของ
ทรัพยากรธรรมชาติ คาจางแรงงาน ที่ดิน ตนทุนการผลิต ตนทุนการขนสง สงผลใหสูญเสียขีดความสามารถ
ในการแขงขัน ประกอบกับการพึ่งทุน เทคโนโลยี และชองทางการตลาดจากบริษัทตางประเทศ สงผลให
ผลตอบแทนของผูประกอบการไทยและมูลคาเพิ่มในประเทศเกิดขึ้นไมมากเทาที่ควร จึงมีความจําเปน
ในการเรงปรับโครงสรางการผลิตไปสูการสรางมูลคาเพิ่มในภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และสราง
ความเขมแข็งใหกับสภาพแวดลอมในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน เชน ความมีเสถียรภาพของ
เศรษฐกิจสวนรวม การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การสรางความมั่นคงดานพลังงานและเพิ่มประสิทธิภาพ
ของการใชพลังงาน เปนตน
                 ด า นสั ง คม รั ฐ บาลให ค วามสํ า คั ญ กั บ การปฏิ รู ป ระบบการศึ ก ษาและเรี ย นฟรี ๑๕ ป
การเพิ่มคุณภาพการบริการดานสาธารณสุข การแกไขปญหายาเสพติดและดูแลความมั่นคงในชีวิตและ
ทรัพยสินของประชาชน เนื่องจากในปจจุบันคนไทยยังมีการศึกษาโดยเฉลี่ยประมาณ ๙ ป นอยกวาประเทศ
ในแถบเอเชียซึ่งมี การศึกษาเฉลี่ยประมาณ ๑๐ ถึง ๑๒ ป คุณภาพของการศึกษายังมีปญหาสงผลให
ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการศึ ก ษาของนั ก เรี ย นต่ํ า กว า มาตรฐานในวิ ช าสํ า คั ญ เช น ภาษาไทย ภาษาอั ง กฤษ
คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ดานโครงสรางประชากรสัดสวนประชากรวัยสูงอายุ (๖๐ ปขึ้นไป) จะ
เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมีสัดสวนจากรอยละ ๑๐.๘๒ ในป ๒๕๕๐ เปนรอยละ ๑๒.๘๖ ในป ๒๕๕๔
ซึ่งจะสงผลกระทบตอการจัดบริการทางสังคมในทุกรูปแบบ นอกจากนั้นยังมีแรงงานนอกระบบจํานวน
๒๓.๓ ลานคนที่รัฐจะตองดูแลภายใตระบบคุมครองแรงงาน รวมทั้งการจัดสวัสดิการและบริการทางสังคม
แกผูดอยโอกาสและคนยากจนใหทั่วถึง
                 ดานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมของประเทศไทย ก็ยังมีความเสื่อมโทรมอยางตอเนื่อง
และเกิดปญหาความขัดแยงของการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น คุณภาพน้ําในแหลงน้ําสําคัญ
อยูในระดับต่ําไมเหมาะสมตอการนํามาใชประโยชน การควบคุมและกําจัดมลพิษยังไมมีประสิทธิภาพ
เพียงพอ ทําใหมลพิษทางน้ํา อากาศ และเสียง รวมทั้งของทิ้งเสีย มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นและจะเปนปญหาตอ
ระบบนิเวศในอนาคต ดังนั้นรัฐบาลใหความสําคัญกับการรักษาสมดุลระหวางการอนุรักษและใชประโยชน
ทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสรางสภาพแวดลอมที่ดี การสรางความเปนธรรมใหชุมชนมีสิทธิในการเขาถึง
และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพ และการสงเสริมใหเกิด
การผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน นอกจากนั้นยังมีประเด็นความเชื่อมโยงกับเวทีโลกที่ตองดูแลให
ประเทศไทยไดประโยชน เชน พันธกรณีและขอตกลงระหวางประเทศดานสิ่งแวดลอม รวมทั้งขอตกลง
ทางการคาที่มีประเด็นเกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม และการเตรียมการรองรับผลกระทบจากภูมิอากาศของโลก
ที่เปลี่ยนแปลง เปนตน



                                                                                                            ๕
รัฐบาลใหความสําคัญกับการพัฒนาพื้นที่และการบริหารจัดการพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ
เชน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งดานการเกษตร อุตสาหกรรมและบริการ และเขตพัฒนาพิเศษที่มี
ความยืดหยุนและหลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรม การจัดใหมีสํานักงานบริหารราชการจังหวัด
ชายแดนภาคใตเปนองคกรถาวร การเพิ่มขีดความสามารถและความเปนอิสระขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่นในการพึ่งพาตนเองไดมากขึ้นพรอมกับสนับสนุนการดําเนินงานใหยึดหลักธรรมาภิบาลและปรับระบบ
การทํางานใหมีประสิทธิภาพมุงตอบสนองตอความตองการของประชาชน ความรับผิดชอบตอชุมชน และมี
ความโปรงใสมากขึ้น เปนตน
                  นโยบายของรัฐบาลตามที่ไดแถลงตอรัฐสภาภายใตกรอบการดําเนินงานนี้ แบงเปนเรื่อง
เรงดวนที่จะดําเนินการในปแรก คือ นโยบายขอ (๑) นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก และเรื่องที่
จะดําเนินการในชวง ๓ ป คือ นโยบายขอ ๒ - ๘ ไดแก (๒) นโยบายความมั่นคงของรัฐ (๓) นโยบายสังคม
และคุ ณ ภาพชี วิ ต (๔) นโยบายเศรษฐกิ จ (๕) นโยบายที่ ดิ น ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม
(๖) นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม (๗) นโยบายการตางประเทศและเศรษฐกิจ
ระหวางประเทศ และ (๘) นโยบายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ดังมีรายละเอียดปรากฏในสวนที่ ๒




                                                                                                     ๖
สวนที่สอง
แนวทางการบริหารราชการแผนดิน
นโยบายที่ ๑ นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก
               จากป ญ หาความขั ด แย ง ในสั ง คมที่ ส ง ผลให ก ารบริ ห ารประเทศในช ว งที่ ผ า นมา
ขาดความกาวหนา และปญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่สงผลกระทบอยางรุนแรงตอระบบเศรษฐกิจไทยเร็วกวา
ที่คาดการณไว รัฐบาลถือเปนความจําเปนเรงดวนในการมุงสรางความสมานฉันทในสังคม ควบคูไปกับ
การขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถรอดพนจากปญหาวิกฤตตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน
โดยรัฐบาลจะดําเนินการปฏิรูปการเมืองเพื่อวางระบบการบริหารประเทศใหมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ
ในแนวทางการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัต ริยท รงเปน ประมุข และเสริมสราง
ความสามัค คีใ หเ กิด ขึ้น ในสัง คมโดยเร็ว เรง แกไ ขปญ หาเศรษฐกิจ ที่เ กิด ขึ้น ในปจ จุบั น โดยการสรา ง
ความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก ควบคูไปกับการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยจัดตั้ง
กลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ การเรงนําเม็ดเงินของรัฐเขาสูระบบเศรษฐกิจเพื่อบรรเทาภาวะ
ความเดือ นรอ นของประชาชน และภาคธุร กิ จ เรง รั ด ดํ า เนิ น มาตรการร วมกั บ ภาคเอกชนทั้ง ในด า น
การทอ งเที่ย ว และการรองรั บ ผู วางงานในภาคอุ ต สาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดยอ ม
ภาคการทองเที่ยว ภาคธุรกิจ และแรงงานจบใหม รวมทั้งรัฐบาลจะดําเนินมาตรการเพื่อรักษาและสราง
รายได และลดภาระคาครองชีพของประชาชนและชุมชน รวมทั้งการกระตุนการบริโภค โดยกํากับดูแลราคา
สินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปน ลดภาระคาใชจายดานสาธารณูปโภคใหแกผูมีรายไดนอย และเรงดําเนินการ
ใหการศึกษา ๑๕ ป โดยไมเสียคาใชจาย นอกจากนี้ รัฐบาลจะมุงเนน การเสริมสรางความเขมแข็งของ
เศรษฐกิจฐานรากซึ่งเปนภาคสวนที่มีความสําคัญอยางยิ่งของประเทศ โดยจะดําเนินการรักษาเสถียรภาพ
ราคาสินคาเกษตรที่สําคัญ การจัดตั้งกองทุนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน และการจัดสรรเบียยังชีพ     ้
แกผูสูงอายุ เพื่อสรางรายได และอาชีพที่ยั่งยืนใหแกเกษตรกรและประชาชนในชนบท รวมทั้งการสรางขวัญ
กําลังใจใหแกบุคลากรดานสุขภาพในชุมชน

               นอกเหนือจากการเรงแกไขปญหาดานความสมานฉันทในสังคม การปฏิรูปการเมือง และการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศ และระดับ ฐานรากแลว รัฐ บาลจะเรงรัดการลงทุนสําคัญ ทั้งใน
ดานการศึกษา ดานสาธารณสุข ดานทรัพยกรน้ํา และดานโครงสรางพื้นฐาน ซึ่งนอกจากจะเปนการสราง
ฐานการพัฒนา และการเพิ่มขีดความสามารถในการแขง ขัน ของประเทศในระยะตอไปแลว การลงทุน
ดังกลาวจะมีสวนชวยกระตุนการลงทุนจากภาคเอกชนภายในประเทศ และตางประเทศ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ
ในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ ใหสามารถขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยมีเปาหมาย ตัวชี้วัด
กลยุทธ วิธีดําเนินการที่สําคัญ ดังนี้




แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                               ๗
๑.๑ การสรางความเชื่อมั่นและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่น
    แกภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค

       ๑.๑.๑ เสริมสรางความสมานฉันทและความสามัคคีของคนในชาติ
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                  เปาหมายเชิงนโยบาย                                         ตัวชี้วัด
        ๑. ประชาชนในชาติ มีความรั กความสมาน − มีสื่อภาครัฐ ที่เสนอขาวในเชิงสรางสรรค
           สามั ค คี เ ป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น และ ต อ การสร า งความสมานฉั น ท ใ นสั ง คม
           เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย                       และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยซึ่งเปน
                                                             ศูนยรวมจิตใจของปวงชน

        ๒. สังคมใชแนวทางสันติวิธีใ นการแกปญหา − มีการจัดเวทีสาธารณะที่นําไปสูการแกไข
           ความขัดแยงภายใตระบอบประชาธิปไตย       ป ญ หาอย า งสั น ติ หรื อ การจั ด ตั้ ง กลไก
           อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข        ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ร ว ม ข อ ง ภ า ค ส ว น ที่
                                                   เกี่ย วของเพื่อสรางการมีสวนรวมในการ
                                                   แกไขปญหาความขัดแยงดวยกระบวนการ
                                                   ของระบอบประชาธิ ป ไตยภายใต ค วาม
                                                   เคารพความคิ ด เห็น ที่แ ตกตา งและสิท ธิ
                                                   ของเสียงสวนนอย
        ๓. ประชาชนเคารพกฎหมายและกติกาสังคม − มีกิจกรรมที่สงเสริมการสรางจิตสํานึกใน
           ตลอดจนปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายในทุ ก        ประโยชน ส าธารณะ การมี ส ว นร ว ม
           สถานการณ                               การเอื้อ อาทรกัน หลัก เหตุผ ล และหลั ก
                                                   นิติธรรมในการจรรโลงสังคม

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                           นโยบาย                                  กลยุทธ/วิธการ
                                                                               ี
         ๑. เสริ ม สร า งความสมานฉั น ท แ ละความ − เสริมสรางสภาวะแวดลอมที่เอื้ออํานวยให
            สามัค คีของคนในชาติใ หเ กิด ขึ้น โดยเร็ ว มีก ารบั ง คั บ ใชก ฎหมายอย างเท าเทีย ม
            โดยใชแนวทางสันติ รับฟงความเห็นจาก        และเปน ธรรมแกทุก ฝาย รวมทั้ง สงเสริม
            ทุกฝาย และหลีกเลี่ยงการใชความรุนแรง      ใหทุกฝายเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย
            ในการแกไขปญหาความขัดแยงในชาติใน

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                          ๘
นโยบาย                                     กลยุทธ/วิธการ   ี
             ทุก กรณี รวมทั้ง ฟน ฟูระเบีย บสังคมและ − เสริมสรางความรูความเขาใจของประชาชน
             บังคับใชกฎหมายอยางเทาเทียมและเปน       ในชาติ ให ยึ ดมั่ นการปกครองในระบอบ
             ธรรมแกทุกฝาย ตลอดจนสนับสนุนองคกร        ประชาธิ ป ไตยอั นมี พ ระมหากษั ตริ ยเ ป น
             ตามรัฐธรรมนูญใหมีสวนรวมในการสราง       ประมุ ข และส ง เสริ ม การเรี ย นการสอน
             ความสมานฉั น ท ภายใต ก รอบของ            การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยเพื่ อ
             บทบาท อํานาจและหนาที่ขององคกร            สนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในระบอบ
                                                        ประชาธิปไตย
                                                      − เสริ ม สร า งจิ ต สํ า นึ ก ความรั ก ชาติ แ ละ
                                                        ความสามั ค คี ข องคนในชาติ โดยใช
                                                        วั ฒ นธรรม ประเพณี และกี ฬ าเป น สื่ อ
                                                        ในการเสริ มสร า งความสมานฉัน ท แ ละ
                                                        ความสามัคคี
                                                      − สนั บ สนุ น องค ก รตามรั ฐ ธรรมนู ญ และ
                                                        เสริ ม สร า งกลไกชุ ม ชนในการส ง เสริ ม
                                                        ประชาธิปไตยและเสริมสรางความเขาใจ
                                                        ร ว มกั น เพื่ อ ให เ กิ ด ความสมั ค รสมาน
                                                        สามัคคี
                                                      − พัฒ นาประสิ ท ธิภ าพด า นการข า วกรอง
                                                        เพื่อสนั บ สนุ น การแก ไ ขป ญ หาความ
                                                        ขัด แยง โดยสั น ติ วิธี ตรงกลุมเปาหมาย
                                                        รวมทั้ ง เสริม สรา งความสมานฉั น ทแ ละ
                                                        ความสามัคคีของคนในชาติ
                                                      − เสริ ม สร า งวั ฒ นธรรมการอยู ร ว มกั น ใน
                                                        สังคมไทยโดยไมใชความรุนแรง




แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                           ๙
๑.๑.๒ จัดใหมีสํานักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใตเปนองคกรถาวร
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                   เปาหมายเชิงนโยบาย                                          ตัวชี้วัด
        ๑. จัดระบบและกลไกการบริหารจัดการและ − มีกลไกที่รับผิดชอบดานการบริหารจัดการ
           กําหนดใหจังหวัดชายแดนภาคใตเปนเขต                 การพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ที่ มี
           พัฒนาพิเศษ                                          เอกภาพ
                                                             − จังหวัดชายแดนภาคใตไดรับการกําหนด
                                                               เปนเขตพัฒนาพิเศษ
        ๒. ประชาชนมี ค วามปลอดภั ย ในชี วิ ต และ − เหตุ ก ารณ ค วามไม ส งบลดลงอย า ง
           ทรัพยสิน สามารถดํารงชีพและประกอบ                   ตอเนื่อง
           อาชี พ ได อ ย า งปกติ รวมทั้ ง ได รั บ สิ ท ธิ − ชุ ม ชนในพื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย มี ก ารกํ า หนด
           พื้นฐานตามกฎหมายอยางเสมอภาคและ                     มาตรการการรักษาความปลอดภัยอยาง
           เปนธรรม มีความเชื่อถือและศรัทธาตอรัฐ              เปนระบบ
           ตลอดจนได รั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพให − ประชาชนได รั บ ความเป น ธรรมมากขึ้ น
           สามารถพึ่งตนเองและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น            โดยมีเรื่องรองเรียนความไมเปนธรรมและ
                                                               การละเมิดสิทธิ์ลดลง
                                                             − ผูห ลงผิดกลับ ใจคืน สูสังคมเพิ่มขึ้น อยาง
                                                               ตอเนื่อง และประชาชนที่เขามามีสวนรวม
                                                               ในกิจกรรมของรัฐเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง
                                                             − ประชาชนได รั บ การขยายโอกาสทาง
                                                               การศึ ก ษา โดยอั ต ราการเรี ย นรู เ พิ่ ม ขึ้ น
                                                               อยางตอเนื่อง
                                                             − ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นจากอัตรา
                                                               การตายแมและเด็กและอัตราการเจ็บปวย
                                                               ลดลงอยางตอเนื่อง
        ๓. ระบบเศรษฐกิจมีความเขมแข็ง ประชาชน − ประชาชนมีโอกาสการทํางานเพิ่มขึ้นจาก
           มี ค วามมั่ น ค งในอาชี พ แ ละมี ร ายได            อัตราการวางงานไมสูงกวาระดับภาคและ
           เพี ย งพอต อ การดํ า รงชี วิ ต โดยมี ก าร          แรงงานมีหลักประกันและความปลอดภัย
           กระจายผลการพั ฒ นาอย า งเป น ธรรม                 ในการทํางาน
           มากขึ้น                                           − สัดสวนคนจนลดลงอยางตอเนื่อง

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                 ๑๐
กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                             นโยบาย                                          กลยุทธ/วิธการ ี
        ๑. จัด ให มีสํา นัก งานบริ ห ารราชการจั ง หวั ด − จัดใหมีคณะกรรมการระดับนโยบายเพื่อ
           ชายแดนภาคใตเ ปน องคก รถาวร เพื่อทํา              ศึ ก ษาและพิ จ ารณาแนวทางการแก ไ ข
           หน า ที่ แ ก ไขป ญ ห า แ ล ะพั ฒ น า พื้ น ที่   ป ญ หาความไม ส งบในพื้ น ที่ จั ง หวั ด
           ชายแดนภาคใต โดยยึดมั่นหลักการสราง                 ชายแดนภาคใตใ หสอดคลองเหมาะสม
           ความสมานฉั น ท แ ละแนวทาง “เข า ใจ                กับสถานการณในพื้นที่ ซึ่งมีความยืดหยุน
           เขาถึง พัฒนา” ใชกระบวนการยุติธรรมกับ              และหลากหลายทางศาสนา และ
           ผูก ระทําผิด อยางเครง ครัดและเปน ธรรม           วัฒนธรรม โดยกําหนดใหจังหวัดชายแดน
           กํา หนดจั ง หวัด ชายแดนภาคใต เ ป น เขต            ภาคใตเ ปน เขตพัฒนาเศรษฐกิจ ที่มีก าร
           พัฒนาพิเ ศษที่มีการสนับ สนุนแหลงเงิน กู           สนับสนุนแหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํา และสิทธิ
           ดอกเบี้ ย ต่ํ า สิ ท ธิ พิ เ ศษด า นภาษี และ       พิ เ ศษด า นภาษี และพิ จ ารณาความ
           อุตสาหกรรมฮาลาล รวมทั้งสนับสนุน ให                 เหมาะสมในการปรั บ โครงสร างองค ก ร
           เปนเขตพัฒนาพิเศษที่มีความยืดหยุนและ               กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวของ
           หลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรม                       − ควบคุ ม สถานการณ ค วามไม ส งบและ
                                                               สรางความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
                                                               ของประชาชนเพื่อสรางความเชื่อมั่น ใน
                                                               อํานาจรัฐและสรางภูมิคุมกันแกค นกลุม
                                                               เสี่ยง
                                                               • เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพงานการข า วโดย
                                                                    บู ร ณ า ก า ร ข อ มู ล ก ล ไ ก แ ล ะ
                                                                    กระบวนการตรวจสอบตลอดจนการ
                                                                    ประมวลข า วกรองของหน ว ยงานที่
                                                                    เ กี่ ย ว ข อ ง ใ ห ค ร อ บ ค ลุ ม ทุ ก มิ ติ
                                                                    สถานการณและพื้นที่
                                                               • เพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความสงบ
                                                                    เรียบรอยโดยใหความสําคัญกับพื้นที่
                                                                    เสี่ย งภัย และ คุมครองผูบริสุทธิ์มิใ ห
                                                                    ถูก คุก คามหรือถูก ชัก จูงในทางที่ผิ ด
                                                                    และใหโอกาสผูหลงผิดกลับคืนสูสังคม
                                                               • เตรียมความพรอมดานทรัพยากรให
แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                     ๑๑
นโยบาย                              กลยุทธ/วิธการ  ี
                                                     พร อ มรั บ สถานการณ และเผชิ ญ ภั ย
                                                     รวมทั้ งป อ ง กั น แล ะแก ไ ขป ญ ห า
                                                     สาธารณภัย
                                             − อํานวยความเปนธรรมและความยุติธรรม
                                               แก ค นทุก ฝ ายอย างเทา เที ย มทั้ ง ผู ได รั บ
                                               ผลกระทบโดยตรง ประชาชนผูบ ริ สุ ท ธิ์
                                               และบุคคลผู ดอยโอกาสเพื่อ สร างความ
                                               เชื่อถือและศรัทธาตอรัฐ
                                               • เพิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก ร ะ บ ว น ก า ร
                                                     ยุติธรรมใหเปนที่พึ่งของประชาชน
                                               • เสริมสรางความเขาใจและการมีสวน
                                                     ร ว มของประชาชนในกระบวนการ
                                                     ยุติธรรม
                                               • ช ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ เ ยี ย ว ย า ผู ไ ด รั บ
                                                     ผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบ
                                                     อยางทั่วถึงและเปนธรรม
                                             − ส ง เสริ ม กระบวนการสั น ติ วิ ธี ที่ ยึ ด หลั ก
                                               ความเป น ธรรมและการมี ส ว นร ว มของ
                                               ทุกฝายใหเกิดความสามัคคีและลดความ
                                               ขัดแยง ตอกัน สามารถอยูรวมกัน อยางมี
                                               ความสุขบนพื้นฐานความหลากหลายใน
                                               ความคิด วิถีชีวิตและวัฒนธรรม
                                               • สงเสริมกิจกรรมวัฒนธรรม ประเพณี
                                                     ประวั ติ ศ าสตร ศาสนา ดนตรี กี ฬ า
                                                     เพื่อรัก ษาอัต ลัก ษณและคุณ คาดาน
                                                     จิ ต ใ จ ร วม ทั้ ง วิ ถี สั ง ค ม ที่ มี ค ว า ม
                                                     ปรองดองและสมานฉันท
                                               • เพิ่มประสิทธิภาพงานมวลชนสัมพันธ
                                                     ง า น สั ง ค ม จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร
                                                     ประชาสัมพันธเ ชิง รุก เพื่อสรางการมี

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                        ๑๒
นโยบาย                              กลยุทธ/วิธการ
                                                                         ี
                                                    สวนรวมอยางสรางสรรค
                                               • เพิ่มบทบาทกลุมพลังสังคมทั้งเยาวชน
                                                    สตรี ปญญาชน ปราชญชาวบาน และ
                                                    ผูนําชุมชนรวมสรางความสมานฉัน ท
                                                    ของสังคม
                                               • เพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรของภาครัฐ
                                                    ในการปฏิบัติงานตามแนวทางสันติวิธี
                                                    เพื่อเสริมสรางสัน ติสุขของพื้นที่อยาง
                                                    จริงจัง
                                             − พั ฒ นาศั ก ยภาพและคุ ณ ภาพคนเพื่ อ
                                               ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และทั ก ษะการ
                                               ดํารงชีวิตเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของ
                                               ครอบครั ว ชุมชน และความสมานฉัน ท
                                               ของสังคม
                                               • ขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป การศึ ก ษาทั้ ง
                                                    ระบบทุ ก ระดับ อย า งจริ ง จั ง โดยจั ด
                                                    การศึ ก ษาเชิ ง บู ร ณาการกั บ วิ ถี ชี วิ ต
                                                    อั ต ลั ก ษณ ค วามหลากหลายทาง
                                                    วั ฒ นธรรมและความต อ งการของ
                                                    ทองถิ่น
                                               • พั ฒ นาคุ ณ ภาพบริ ก ารสาธารณสุ ข
                                                    และสวั ส ดิ ก ารผู ด อ ยโอกาสและ
                                                    เสริมสรางความเขมแข็งของสถาบัน
                                                    ครอบครัว
                                               • สง เสริ มกระบวนการชุ มชนเข มแข็ ง
                                                    เพื่อเพิ่มศัก ยภาพการพึ่ง ตนเองและ
                                                    พึ่งพากันในชุมชน
                                             − พัฒนาเศรษฐกิจ ใหสอดคลองกับวิถีชีวิต
                                               และวั ฒ นธรรมของประชาชนและฐาน
                                               ทรั พ ยากรของท อ งถิ่น โดยยึด แนวทาง

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                  ๑๓
นโยบาย                              กลยุทธ/วิธการ
                                                                         ี
                                               เศรษฐกิจพอเพียงและกระบวนการพัฒนา
                                               แบบมีสวนรวมเพื่อเสริมสรางความมั่นคง
                                               ในการดํารงชีพของประชาชน
                                               • เสริมสรางความมั่นคงทางอาชีพและ
                                                    รายไดแกกลุมคนมีรายไดนอยบนฐาน
                                                    ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ที่ มี ค ว า ม
                                                    หลากหลายทางชี ว ภาพและรั ก ษา
                                                    ความสมดุลของสภาพแวดลอมอยาง
                                                    ยั่งยืน
                                               • ส ง เสริ ม การพั ฒ นาการเกษตรและ
                                                    ผลิ ต ภั ณ ฑ ก ารเกษตรที่ มี ศั ก ยภาพ
                                                    อยางครบวงจร เหมาะสมสอดคลอง
                                                    กั บ วิ ถี ชี วิ ตของแต ละชุ มชน แล ะ
                                                    ทรั พ ยา ก รใ น พื้ น ที่ ใ ห เชื่ อมโย ง
                                                    เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ฐ า น ร า ก ตั้ ง แ ต ร ะ ดั บ
                                                    ครอบครัว ชุมชน สูระดับประเทศ
                                               • พัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลโดยเฉพาะ
                                                    สินคาชุมชนและธุรกิจขนาดกลางและ
                                                    ขนาดยอมที่มีศักยภาพ ใหมีคุณภาพ
                                                    แล ะได รั บก าร รั บ รองม าต รฐ า น
                                                    ฮาลาลควบคู ไ ปกั บ การส ง เสริ ม
                                                    การตลาดใหกวางขวางมากขึ้น
                                               • พัฒนาดานการคา การทองเที่ยว การ
                                                    บริ ก าร และการเชื่ อมโยงเศรษฐกิ จ
                                                    ระหวางประเทศ เพื่อเสริมสรางการ
                                                    ลงทุนและแหลงจางงานใหม ๆ
                                               • เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและ
                                                    พัฒนาพลังงานทางเลือก
                                             − เสริมสรางความเขาใจกับนานาประเทศ
                                               เกี่ย วกับ นโยบายของรัฐ บาลไทยในการ

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                    ๑๔
นโยบาย                                       กลยุทธ/วิธการ
                                                                                  ี
                                                           แก ไ ขป ญ หาความไม ส งบในจั ง หวั ด
                                                           ชายแดนภาคใต
                                                           • เส ริ ม สร า ง คว า ม สั ม พั น ธ ที่ ดี กั บ
                                                               ประเทศเพื่อนบานและกลุม ประเทศ
                                                               มุสลิม
                                                           • เผยแพร ข อ มู ล ข า วสารที่ ถู ก ต อ ง
                                                               เกี่ยวกับสถานการณจังหวัดชายแดน
                                                               ภาคใตแกนานาประเทศ

       ๑.๑.๓ ปฏิรูปการเมือง
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                เปาหมายเชิงนโยบาย                                          ตัวชี้วัด
        ๑. ระบบการเมืองไทยมีเสถียรภาพ และมี            − มี รั ฐ บาลที่ มี ค วามมั่ น คงในการบริ ห าร
           ธรรมาภิบาล                                    ประเทศ

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                         นโยบาย                                  กลยุทธ/วิธการ
                                                                             ี
        ๑. ปฏิรูป การเมือง โดยจัด ตั้ง คณะกรรมการ − จั ด ตั้ ง “ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เ พื่ อ ศึ ก ษ า
           เพื่อศึก ษาแนวทางการดําเนิน การปฏิรูป     แนวทางการดําเนินการปฏิรูป” โดยการ
           โดยการมี ส ว นร ว มของภาคประชาชน        มีสวนรวมของภาคประชาชน
           เพื่ อ วางระบบการบริ ห ารประเทศให มี
           เสถีย รภาพและประสิทธิภาพ ในแนวทาง
           การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี
           พระมหากษั ต ริ ย ท รงเป น ประมุ ข และมี
           ความเหมาะสมสอดคล อ งกั บ สภาพ
           สัง คมไทย รวมทั้งสามารถสนองตอบต อ
           การพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน และเปนไป
           ตามความต อ งการของประชาชนอย า ง
           แทจริง


แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                              ๑๕
๑.๑.๔ เรงสรางความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                    เปาหมายเชิงนโยบาย                                       ตัวชี้วัด
        ๑. ความคืบ หนาของการดําเนิน การรวมกับ − กา ร ดํ า เ นิ นง า น ร ว ม กั บรั ฐ ส ภา เ พื่ อ
           รั ฐ สภาเพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข อ งที่
           เกี่ย วของที่ป ระเทศไทยในฐานะสมาชิ ก        ประเทศไทยในฐานะสมาชิ ก ประชาคม
           ประชาคมอาเซีย นจะตองลงนามในชว ง            อาเซียนจะตองลงนามในชวงการประชุม
           การประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน                 สุดยอดผูนําอาเซียนเปน ไปตามแผนงาน
                                                        ของกระทรวงการตางประเทศ
        ๒. ไทยประสบความสําเร็จในการเปนประธาน − การประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย นและการ
           อาเซียน                                      ประชุ ม ที่ เ กี่ ย วข อ งเป น ไปตามแผนงาน
                                                        การเปนประธานอาเซียนของไทย

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                          นโยบาย                                             กลยุทธ/วิธการ
                                                                                          ี
         ๑. เรงสรางความเชื่อมั่นของประเทศไทยใน − สนั บ สนุ น บทบาทและศั ก ยภาพในการ
            สายตาของชาวโลก โดยใหความสําคัญ                    ดํารงตําแหนงประธานอาเซีย นของไทย
            ตอกรอบความรวมมืออาเซียนเปนลําดับ                เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นความร ว มมื อ ในกรอบ
            แร ก แ ล ะ ร ว ม มื อกั บ รั ฐส ภา ใ น ก า ร      อาเซียน
            พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข อ งที่ − เรงประชาสัมพันธเ พื่อสรางความเชื่อมั่น
            ประเทศไทยในฐานะสมาชิก ประชาคม                      และความน า เชื่ อ ของเศรษฐกิ จ ไทยใน
            อาเซี ย นจะต อ งลงนามในช ว งของการ               ต า ง ป ร ะเ ท ศ โ ดย บู ร ณ า กา ร ง า น ที่
            ประชุมสุดยอดผูนําอาเซีย นใหแลวเสร็จ             เกี่ ย วขอ งกั บ การส ง ออก การท องเที่ ย ว
            ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ และเตรียม                    และการลงทุนใหเปนเอกภาพ โดยอาศัย
            ความพรอ มเปน เจ าภาพจั ดการประชุ ม              กลไกของสถานฑูตไทยในตางประเทศ
            สุด ยอดผูนําอาเซียน ครั้ง ที่ ๑๔ ในเดือน
            กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ในฐานะที่ประเทศไทย
            เปนประธานอาเซียน




แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                ๑๖
๑.๑.๕ ฟนฟูเศรษฐกิจที่กําลังประสบปญหาเปนการเรงดวน
       เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
                      เปาหมายเชิงนโยบาย                                   ตัวชี้วัด
        ๑.   กระตุนเศรษฐกิจใหขยายตัวไดอยาง              − อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
             ตอเนื่องเพื่อปองกันและบรรเทาปญหาการ         − มูลคาการลงทุนที่ขอรับสงเสริมการลงทุน
             วางงาน                                        − มูลคาการลงทุนที่ขอรับสงเสริมการลงทุน
        ๒.   มูลคาการลงทุนรวมที่ขอรับสงเสริมการ             ในอุตสาหกรรมเปาหมาย
             ลงทุนในป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ จํานวน
             ๑,๒๕๐,๐๐๐ ลานบาท
        ๓.   สรางความเชื่อมั่นและภาพลักษณในดาน           − มูลคาการคาระหวางประเทศเพิ่มขึ้น
             การคาและการลงทุนของประเทศในระดับ
             นานาชาติ
        ๔.   ลดการสูญเสียรายไดจากการทองเที่ยว             − รายไดจากนักทองเที่ยวตางชาติลดลงจาก
             ไมใหต่ํามากเกินไปจากป ๒๕๕๐                    ป ๒๕๕๐ ไมเกินรอยละ ๕ และรายไดจาก
                                                              นักทองเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจากป ๒๕๕๑
                                                              รอยละ ๕
        ๕. พัฒนา กลไก บริหารจัด การทรัพยากรน้ํา             − จํานวนแหลงน้ําผิวดิน / ใตดิน ที่ไดรับการ
           อนุ รั ก ษ ฟ น ฟู และพั ฒ นาทรั พ ยากรน้ํ า     พั ฒ นาและฟ น ฟู เป น แหล ง น้ํ า ต น ทุ น
           เพื่อเพิ่มน้ําตนทุน รวมทั้งพัฒนาระบบน้ํา          สนับสนุน การอุปโภค บริโภคของประเทศ
           สะอาด                                              ภาคการเกษตร และอุต สาหกรรมอยา ง
                                                              ทั่วถึง เพียงพอ
        ๖. การเขาถึงสินเชื่อของกลุมเปาหมายอยาง          − จํานวนผูกู (ราย) กลุมเปาหมาย
           ทั่วถึง                                          − อัตราเพิ่มการใหสินเชื่อของสถาบันการเงิน
                                                              ตอป

       กลยุทธ/วิธีดําเนินการ
                           นโยบาย                                  กลยุทธ/วิธการ
                                                                               ี
         ๑. ฟนฟูเศรษฐกิจที่กําลังประสบปญหาเปน − จัดทําแผนฟน ฟูเศรษฐกิจระยะเรงดวนที่
            การเร ง ด ว น โดยจั ด ทํ า เป น แผนฟ น ฟู ครอบคลุ ม การช ว ยเหลื อ และบรรเทา
            เศรษฐกิจระยะสั้นที่ครอบคลุมภาคเกษตร            ปญ หาผลกระทบจากภาวะการชลอตั ว

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                               ๑๗
นโยบาย                                          กลยุทธ/วิธการ
                                                                                          ี
             และเกษตรกร ภาคอุ ต สาหกรรม ภาค                     ของเศรษฐกิจตามกลุมเปาหมายตาง ๆ
             บริการและการทองเที่ยว ภาคการสงออก                และจัด ทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม
             ภาคอสัง หาริมทรั พย การสร างงานและ               ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552
             สรางรายไดในชนบท การพัฒนาแหลงน้ํา − รวมกับภาคเอกชนในการฟนฟูและกระตุน
             ธรรมชาติและฟนฟูทรัพยากรใหแลวเสร็จ              เศรษฐกิ จ ระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ ให เ กิ ด การ
             ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ พรอมทั้ ง                   สรางงานและสรางรายได
             จั ด ทํ า งบประมาณรายจ า ยเพิ่ ม เติ ม − สร า งภาพลัก ษณแ ละความเขื่ อ มั่น ของ
             ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยมี                   ประเทศไทยในระดับนานาชาติ
             วัต ถุประสงคเ พื่อนําเม็ ด เงิน ของรัฐ เขาสู − ดําเนิน โครงการลดผลกระทบวิก ฤตและ
             ระบบเศรษฐกิ จ และเพื่ อ ให ส ามารถ                เสริ ม สร า งขี ด ความสามารถทางการ
             บ ร ร เ ท า ภ า ว ะ ค ว า ม เ ดื อด ร อ น ข อ ง   แขงขันและพัฒนาการตลาด โดยพัฒนา
             ประชาชนและภาคธุรกิจได                             และยกระดับคุณภาพสินคา และบริการที่
                                                                มี ศั ก ยภาพ ดํ า เนิ น ตลาดเชิ ง รุ ก ทั้ ง ใน
                                                                ประเทศ และต า งประเทศ และเร ง ใช
                                                                ประโยชนจากขอตกลงทางการคา
                                                              − ส ง เสริ ม และพั ฒ นาผู ป ระกอบการและ
                                                                บุคลากรดานการทองเที่ยวใหมีคุณภาพ
                                                              − สรางกิจกรรมการจัดการแขง ขันกีฬาเพื่อ
                                                                ฟ น ฟู เ ศรษฐกิ จ ภาคบริ ก ารและการ
                                                                ทองเที่ยวเพื่อนําเม็ดเงินของรัฐเขาสูระบบ
                                                                เศรษฐกิ จ และเพื่ อ ให ส ามารถบรรเทา
                                                                ภาวะความเดือดรอนของประชาชนและ
                                                                ภาคธุรกิจ
                                                              − จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้า           ํ
                                                                แบบบูรณาการและสงเสริมการ มีสวนรวม
                                                                ของทุกภาคสวนใหมีการใชทรัพยากรน้ํา
                                                                เป น ฐานในการพั ฒ นาประเทศและ
                                                                คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องประชาชน และ
                                                                ดําเนิน การบริห ารจั ด การทรัพยากรเพื่ อ
                                                                ชวยเหลือเกษตรกรที่เดือดรอนในระยะสั้น

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔                                                                   ๑๘
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713Link Standalone
 
Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8
Boonlert Aroonpiboon
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
marena06008
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
Pattie Pattie
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
ประพันธ์ เวารัมย์
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most
ps-most
 
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556waranyuati
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 

What's hot (17)

แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทยแนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
 
แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59
 
ซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปีซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปี
 
Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559
 
2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most
 
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
 
งานสำคัญ
งานสำคัญงานสำคัญ
งานสำคัญ
 

Similar to 2552 2.1-plan administration-land

บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
ประพันธ์ เวารัมย์
 
20160122 ratchakitcha-12
20160122 ratchakitcha-1220160122 ratchakitcha-12
20160122 ratchakitcha-12
Invest Ment
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Kamolkan Thippaboon
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราguest4439f1
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園honan4108
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
BTNHO
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติsuthat22
 
จุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภา
จุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภาจุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภา
จุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภา
ประพันธ์ เวารัมย์ แบ่งปันความรู้ส่ความก้าวหน้า
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
Boonlert Aroonpiboon
 

Similar to 2552 2.1-plan administration-land (20)

ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
 
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์ นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
20160122 ratchakitcha-12
20160122 ratchakitcha-1220160122 ratchakitcha-12
20160122 ratchakitcha-12
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
จุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภา
จุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภาจุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภา
จุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภา
 
จุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภา
จุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภาจุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภา
จุดมุ่งหมายนโยบายรัฐบาลตารางประเด็นการอภิปรายประชุมร่วมกันของรัฐสภา
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 

More from ps-most

2553 14.integration withprovince
2553 14.integration withprovince2553 14.integration withprovince
2553 14.integration withprovinceps-most
 
2552 7-plan-official4years(2551-2554)
2552 7-plan-official4years(2551-2554)2552 7-plan-official4years(2551-2554)
2552 7-plan-official4years(2551-2554)ps-most
 
2552 12-a-measure-ministry
2552 12-a-measure-ministry2552 12-a-measure-ministry
2552 12-a-measure-ministryps-most
 
2552 11-summary-of-2552 budget
2552 11-summary-of-2552 budget2552 11-summary-of-2552 budget
2552 11-summary-of-2552 budgetps-most
 
2552 10-vision-mission
2552 10-vision-mission2552 10-vision-mission
2552 10-vision-missionps-most
 
2552 9-strategic-ministry
2552 9-strategic-ministry2552 9-strategic-ministry
2552 9-strategic-ministryps-most
 
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.102552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10ps-most
 
2552 3-dr-ying kalaya-policy
2552 3-dr-ying kalaya-policy2552 3-dr-ying kalaya-policy
2552 3-dr-ying kalaya-policyps-most
 
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-25522552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552ps-most
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54ps-most
 
2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policy2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policyps-most
 
Interview
InterviewInterview
Interview
ps-most
 
Policy veerachai53
Policy veerachai53Policy veerachai53
Policy veerachai53ps-most
 
2553 13-performance
2553 13-performance2553 13-performance
2553 13-performanceps-most
 
2553 12-indicators ministry
2553 12-indicators ministry2553 12-indicators ministry
2553 12-indicators ministryps-most
 
2553 11-summaryof2553
2553 11-summaryof25532553 11-summaryof2553
2553 11-summaryof2553ps-most
 
2553 10-vision missionvalues
2553 10-vision missionvalues2553 10-vision missionvalues
2553 10-vision missionvaluesps-most
 
2553 9-strategy-ministry
2553 9-strategy-ministry2553 9-strategy-ministry
2553 9-strategy-ministryps-most
 
2553 8-government actionplan-after-budget)
2553 8-government actionplan-after-budget)2553 8-government actionplan-after-budget)
2553 8-government actionplan-after-budget)ps-most
 
2553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-25552553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-2555ps-most
 

More from ps-most (20)

2553 14.integration withprovince
2553 14.integration withprovince2553 14.integration withprovince
2553 14.integration withprovince
 
2552 7-plan-official4years(2551-2554)
2552 7-plan-official4years(2551-2554)2552 7-plan-official4years(2551-2554)
2552 7-plan-official4years(2551-2554)
 
2552 12-a-measure-ministry
2552 12-a-measure-ministry2552 12-a-measure-ministry
2552 12-a-measure-ministry
 
2552 11-summary-of-2552 budget
2552 11-summary-of-2552 budget2552 11-summary-of-2552 budget
2552 11-summary-of-2552 budget
 
2552 10-vision-mission
2552 10-vision-mission2552 10-vision-mission
2552 10-vision-mission
 
2552 9-strategic-ministry
2552 9-strategic-ministry2552 9-strategic-ministry
2552 9-strategic-ministry
 
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.102552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
2552 5-plan-of-the-national-economic-and-social no.10
 
2552 3-dr-ying kalaya-policy
2552 3-dr-ying kalaya-policy2552 3-dr-ying kalaya-policy
2552 3-dr-ying kalaya-policy
 
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-25522552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
2552 4-index-of-science-and-technology-of-thailand-2552
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
 
2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policy2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policy
 
Interview
InterviewInterview
Interview
 
Policy veerachai53
Policy veerachai53Policy veerachai53
Policy veerachai53
 
2553 13-performance
2553 13-performance2553 13-performance
2553 13-performance
 
2553 12-indicators ministry
2553 12-indicators ministry2553 12-indicators ministry
2553 12-indicators ministry
 
2553 11-summaryof2553
2553 11-summaryof25532553 11-summaryof2553
2553 11-summaryof2553
 
2553 10-vision missionvalues
2553 10-vision missionvalues2553 10-vision missionvalues
2553 10-vision missionvalues
 
2553 9-strategy-ministry
2553 9-strategy-ministry2553 9-strategy-ministry
2553 9-strategy-ministry
 
2553 8-government actionplan-after-budget)
2553 8-government actionplan-after-budget)2553 8-government actionplan-after-budget)
2553 8-government actionplan-after-budget)
 
2553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-25552553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-2555
 

2552 2.1-plan administration-land

  • 1. หนา ๑ เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มกราคม ๒๕๕๒ ประกาศสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เรื่อง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ดวยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา ๗๖ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและ วิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การบ า นเมื อ งที่ ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ และระเบี ย บ สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ ๕ กําหนดให คณะรัฐมนตรีตองจัดใหมีแผนการบริหารราชการแผนดินตลอดระยะเวลาการบริหารราชการแผนดิน ของคณะรัฐมนตรี เพื่อแสดงมาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติราชการในแตละปของ การบริหารราชการแผนดิน ซึ่งจะตองสอดคลองกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ และเมื่อคณะรัฐมนตรี ใหความเห็นชอบแผนการบริหารราชการแผนดินแลว ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษาตอไป บัดนี้ คณะรัฐมนตรีที่มี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ไดจัดทําแผนการบริหาร ราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ซึ่งคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๒ เห็นชอบแผนการบริหารราชการแผนดินตามที่แนบทายนี้แลว จึงประกาศใหใชบังคับตอไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ สุรชัย ภูประเสริฐ เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
  • 2.
  • 3. สารบัญ หนา บทนํา ๑ สวนที่หนึ่ง แนวคิดและทิศทางการบริหารประเทศ วิสัยทัศนของรัฐบาล ๓ กรอบการดําเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล ๓ สวนที่สอง แนวทางการบริหารราชการแผนดิน นโยบายที่ ๑ นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก ๗ นโยบายที่ ๒ นโยบายความมั่นคงของรัฐ ๓๘ นโยบายที่ ๓ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ๔๖ นโยบายที่ ๔ นโยบายเศรษฐกิจ ๖๙ นโยบายที่ ๕ นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๙๖ นโยบายที่ ๖ นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจย และนวัตกรรม ั ๑๐๔ นโยบายที่ ๗ นโยบายการตางประเทศและเศรษฐกิจระหวางประเทศ ๑๐๙ นโยบายที่ ๘ นโยบายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ๑๒๐ สวนที่สาม กลไกการนําแผนการบริหารราชการแผนดินไปสูการปฏิบัติ ๑. หนวยงานรับผิดชอบ ๑๓๓ ๒. ประมาณการรายไดและรายจายตามนโยบาย ๑๓๘ ๓. แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล ๑๔๐ บทสรุป ๑๔๓ สวนที่สี่ แผนงาน/โครงการที่มีลําดับความสําคัญตามนโยบายรัฐบาล ๑๔๔ บัญชีอักษรชื่อยอหนวยงาน ก-ญ
  • 4. บทนํา การบริ ห ารราชการแผ น ดิ น ของรั ฐ บาลมี จุ ดมุ ง หมายที่ จ ะสร า งความปรองดองสมานฉั น ท ใ น สังคมไทย นําประเทศใหผานพนผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจของโลกและพัฒนาไปสูการเจริญเติบโตที่ยั่งยืน ซึ่งจะนําความอยูดีมีสุขมาสูประชาชน ซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗๖ และ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ กําหนดใหรัฐบาลจะตองจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดินใหสอดคลองกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ โดยนํานโยบายที่แถลงตอรัฐสภา และแผนพัฒนาประเทศดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ มาพิจารณากําหนดเปาหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงาน สวนราชการหรือบุคคลที่จะรับผิดชอบในแตละภารกิจ ประมาณการรายไดและรายจาย และทรัพยากรตาง ๆ ที่จะตองใชระยะเวลาดําเนินการ และการติดตามประเมินผลเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและ ประสิ ท ธิ ผ ล สามารถตอบสนองความต อ งการของประชาชน และ รองรั บต อ กระแสการเปลี่ ย นแปลงใน บริบทโลกไดอยางยั่งยืน รวมทั้งกําหนดวิธีการและวางกลไกในการถายทอดนโยบายรัฐบาลไปสูการปฏิบัติของ หนวยงานตาง ๆ ตลอดระยะเวลาการบริหารราชการสี่ปของคณะรัฐมนตรี การจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔ ของรัฐบาลยึดเจตนารมณของ คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่ไดแถลงตอรัฐสภาเมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๑ ตลอดจนแผนพัฒนา ประเทศในดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ เปนตน เปนแนวทาง ในการจั ด ทํ า แผนการบริ ห ารราชการแผ น ดิ น ซึ่ ง แต ล ะส ว นราชการจะต อ งนํ า ไปเป น กรอบในการจั ด ทํ า แผนปฏิบัติราชการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๖ ในการกําหนดเปนรายละเอียดของแตละกิจกรรมที่จะดําเนินการในแตละป เพื่อใช เปนแนวทางในการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป อันเปนการผลักดันใหประเด็นนโยบายตามแผนการ บริหารราชการแผนดินประสบความสํา เร็จตามเปาหมายที่กําหนด ทั้งนี้แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔ มีเนื้อหาสาระสําคัญประกอบดวยสี่สวน ไดแก สวนที่หนึ่ง แสดงแนวคิ ด และทิ ศ ทางการบริ ห ารประเทศ วิ สั ย ทั ศ น ข องรั ฐ บาล และกรอบ การดําเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล สวนที่สอง แสดงแนวทางการบริ ห ารราชการแผ น ดิ น ซึ่ ง ประกอบด ว ยรายละเอี ย ดของ นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก (ป ๒๕๕๒) เพื่อสรางความเชื่อมั่นและ
  • 5. กระตุนเศรษฐกิจในภาพรวม การรักษาและเพิ่มรายไดของประชาชน การลดภาระ คาครองชีพของประชาชน และแนวทางการบริหารราชการแผนดินทีจะดําเนินการในป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ สวนที่สาม แสดงกลไกการนําแผนการบริหารราชการแผนดินไปสูการปฏิบัติ อันประกอบดวยการ มอบหมายหนวยงานรับผิดชอบ งบประมาณสนับสนุนตามนโยบาย (ประมาณการ รายไดและประมาณการความตองการใชเงินตามนโยบาย) และแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล สวนที่สี่ แสดงแผนงาน / โครงการที่ มี ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ ตามนโยบายรั ฐ บาลทั้ ง ที่ ต อ งเร ง ดําเนินการในป ๒๕๕๒ และที่จะดําเนินการในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๒
  • 7. วิสัยทัศนของรัฐบาล ในช วงป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ รัฐบาลจะมุง มั่ นนํา ประเทศไทยให รอดพนจากวิ ก ฤต เศรษฐกิจโลกและพัฒนาไปสูการเจริญเติบโตอยางยั่งยืน แกไขวิกฤตทางสังคมที่มีความแตกแยกและ พัฒนาใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ยุติวิกฤตทางการเมืองและปฏิรูปการเมืองใหมีความมั่นคงตาม แนวทางระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ทั้งนี้รัฐบาลจะดําเนินการใหบรรลุภารกิจดังกลาวภายใตแนวทางพื้นฐานหลัก ๔ ประการ คือ หนึ่ง ปกปองและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยใหมีความมั่นคงในการเปนศูนยรวม จิ ต ใจและความรั ก สามั ค คี ข องคนในชาติ และเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ไ ว เ หนื อ ความขั ด แย ง ทุกรูปแบบ พรอมทั้งดําเนินการทุกวิถีทางอยางจริงจังเพื่อปองกันมิใหมีการลวงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ สอง สร า งความปรองดองสมานฉั น ท บนพื้ น ฐานของความถู ก ต อ ง ยุ ติ ธ รรมและ การยอมรับของทุกภาคสวน สาม ฟนฟูเศรษฐกิจ ใหขยายตัวอยางยั่งยืน และบรรเทาผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจ ที่ประชาชนจะประสบ สี่ พั ฒ นาประชาธิ ป ไตยและระบบการเมื อ ง ให มี ค วามมั่ น คง มี ก ารปฏิ บั ติ ต าม กฎหมาย และบังคับใชกฎหมายอยางเสมอภาค เปนธรรม และเปนที่ยอมรับของสากล กรอบการดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล สถานะของประเทศก อนที่รัฐ บาลนี้จ ะเขา บริ ห ารประเทศเป น ช ว งที่ สัง คมไทยมี ค วาม ขัดแยง และมีความแตกแยกเนื่องจากความเห็นที่แตกตางกันในเรื่องการเมืองและการบริหารประเทศ และ ความขั ด แย ง ดั ง กล า วระหว า งกลุ ม ประชาชนได ท วี ค วามรุ น แรงขึ้ น จนส ง ผลให ก ารบริ ห ารบ า นเมื อ ง ขาดความกาวหนา และมีผลกระทบตอความอยูดีมีสุขของประชาชน รัฐบาลจึงใหความสําคัญกับการยุติ ความขัดแยงทางการเมืองและการสรางความปรองดองสมานฉันทของคนไทย ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญในการ ที่จะบริหารประเทศใหคืบหนาอยางราบรื่น และดึงความเชื่อมั่นในประเทศไทยจากนักลงทุนใหกลับคืนมา ในขณะเดี ย วกั น ประเทศไทยก็ เ ผชิ ญ สถานการณ ที่ สํ า คั ญ ภาวะเศรษฐกิ จ ไทย ชะลอตัวอยางตอเนื่องตั้งแตตนป ๒๕๕๑ เปนตนมา โดยในชวง ๙ เดือนแรกของป เศรษฐกิจไทยขยายตัว เฉลี่ยรอยละ ๕.๑ โดยเปนการขยายตัวรอยละ ๖ รอยละ ๕.๓ และรอยละ ๔ ในไตรมาสแรกถึงไตรมาส ที่ ส ามตามลํ า ดั บ ป จ จั ย ที่ ส ง ผลกระทบต อ ภาวะการชะลอตั ว ดั ง กล า วได แ ก ภาวะราคาน้ํ า มั น ดิ บ ใน ๓
  • 8. ตลาดโลกที่สูงขึ้นอยางรวดเร็วเปนประวัติการณตั้งแตตนปและสูงสุดในเดือนพฤษภาคม ทําใหตนทุน การผลิตและคาครองชีพสูงขึ้นจนอัตราเงินเฟอถึงจุดสูงสุดที่รอยละ ๙.๒ ในเดือนกรกฎาคม การลงทุนของ เอกชนและการบริโภคของประชาชนชะลอตัวลงตอเนื่อง เชนเดียวกับการใชจายและการลงทุนของภาครัฐ นอกจากนั้นวิกฤตการของเงินสหรัฐฯ ไดสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทย ๓ ทาง ไดแก การถอนการลงทุนจาก ตลาดหลักทรัพยเพื่อเสริมสภาพคลองในระบบการเงินสหรัฐฯ การชะลอตัวของการลงทุนโดยตรงจาก ตางประเทศ และจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติลดลง เครื่องชี้เศรษฐกิจในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดสงสัญญาณที่แสดงถึงการชะลอตัว ของเศรษฐกิจอยางชัดเจนมากขึ้น โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม หดตัวรอยละ ๖.๖ การใชกําลังการผลิต ในภาคอุตสาหกรรม ลดลงเหลือรอยละ ๖๑.๒ (เทียบกับเฉลี่ยรอยละ ๗๓.๑ ในครึ่งแรกของป ๒๕๕๑) ดัชนี การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวรอยละ ๑.๒ (เทียบกับการขยายตัวเฉลี่ยรอยละ ๕.๗ ในครึ่งแรกของป ๒๕๕๑) ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน หดตัวรอยละ ๑.๖ รายไดสุทธิของรัฐบาลในชวง ๒ เดือนแรกของ ปงบประมาณ ๒๕๕๒ (ต.ค. - พ.ย. ๒๕๕๑) จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการตามเอกสารงบประมาณ รอยละ ๑๐.๗ โดยในเดือนพฤศจิกายนภาษีที่มีฐานจากการบริโภค เชน ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต เปนตน หดตัวรอยละ ๑๖.๑ มูลคาการสงออกในรูปเงินดอลลาร สรอ. หดตัวรอยละ ๑๗.๗ ปริมาณการสงออก หดตัวรอยละ ๒๐.๙ และจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ ลดลงรอยละ ๒๒.๔ ในป ๒๕๕๒ รัฐบาลตระหนักวาเศรษฐกิจไทยจะเผชิญภาวะวิกฤตที่สําคัญ โดยเฉพาะ ในชวงครึ่งแรกของปคือ ในไตรมาสที่หนึ่งภาวะเศรษฐกิจโลกที่ซบเซา คาดวาจะสงผลใหการสงออกและ การทองเที่ยวซึ่งเปนสาขาสําคัญในการสรางรายไดของประเทศชะลอตัวอยางมาก การชะลอตัวของกําลังซื้อ ทั้งในและนอกประเทศจะสงผลใหการใชกําลังการผลิตในภาคอุตสาหกรรมลดลง รายไดของแรงงานจะ ลดลงเนื่องจากนายจางใหลดเวลาการทํางานหรือลดคาจางลง ในไตรมาสที่สอง ผลรอบที่สองจากภาวะ เศรษฐกิจโลกซบเซา คือ การบริโภคและการลงทุนในประเทศจะชะลอลงจากรายไดของประชาชนที่ลดลง และกํ า ลั ง การผลิ ต ที่ ยั ง มี เ กิ น ความต อ งการนอกจากนั้ น จะมี แ รงกดดั น ให ร าคาสิ น ค า ลดลง ส ง ผลให ผูประกอบการและเกษตรกรมีรายไดลดลง หรืออาจมีการปดกิจการ สวนในภาคอุตสาหกรรมหากการใช กําลังการผลิตต่ํากวารอยละ ๕๐ ก็คาดวาจะเริ่มมีการเลิกจางงาน ดังนั้นการวางงานจะรุนแรงในไตรมาสที่ ๒-๓ รัฐบาลจึงถือเปนภารกิจเรงดวนที่จะตองดําเนินแผนฟนฟูเศรษฐกิจที่ใหความสําคัญกับ การเรงสรางรายไดและลดภาระคาใชจายของประชาชน โดยวางมาตรการแยกตามกลุมเปาหมายที่ไดรับ ความเดื อ ดร อ น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ พยุ ง การบริ โ ภคในประเทศไม ใ ห ถ ดถอยจนเกิ น ไป และทดแทนรายได จ าก การสงออกและการทองเที่ยวที่ลดลง นอกจากนั้นจะดําเนินการกระตุนการลงทุนภาคเอกชนเพื่อใหมี การจางงานและโอกาสทางเศรษฐกิจในสาขาตอเนื่องอื่น ๆ เพื่อเปนแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจและปองกัน ไมใหปญหาการวางงานและหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดเพิ่มขึ้นอยางรุนแรง ๔
  • 9. นอกจากป ญ หาเศรษฐกิ จ เร ง ด ว นดั ง กล า ว รั ฐ บาลให ค วามสํ า คั ญ แก ป ญ หาพื้ น ฐาน ระยะยาวของประเทศ เนื่ อ งจากการผลิ ต และการบริ ก ารของประเทศไทยเริ่ ม พบกั บ ข อ จํ า กั ด ของ ทรัพยากรธรรมชาติ คาจางแรงงาน ที่ดิน ตนทุนการผลิต ตนทุนการขนสง สงผลใหสูญเสียขีดความสามารถ ในการแขงขัน ประกอบกับการพึ่งทุน เทคโนโลยี และชองทางการตลาดจากบริษัทตางประเทศ สงผลให ผลตอบแทนของผูประกอบการไทยและมูลคาเพิ่มในประเทศเกิดขึ้นไมมากเทาที่ควร จึงมีความจําเปน ในการเรงปรับโครงสรางการผลิตไปสูการสรางมูลคาเพิ่มในภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และสราง ความเขมแข็งใหกับสภาพแวดลอมในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน เชน ความมีเสถียรภาพของ เศรษฐกิจสวนรวม การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การสรางความมั่นคงดานพลังงานและเพิ่มประสิทธิภาพ ของการใชพลังงาน เปนตน ด า นสั ง คม รั ฐ บาลให ค วามสํ า คั ญ กั บ การปฏิ รู ป ระบบการศึ ก ษาและเรี ย นฟรี ๑๕ ป การเพิ่มคุณภาพการบริการดานสาธารณสุข การแกไขปญหายาเสพติดและดูแลความมั่นคงในชีวิตและ ทรัพยสินของประชาชน เนื่องจากในปจจุบันคนไทยยังมีการศึกษาโดยเฉลี่ยประมาณ ๙ ป นอยกวาประเทศ ในแถบเอเชียซึ่งมี การศึกษาเฉลี่ยประมาณ ๑๐ ถึง ๑๒ ป คุณภาพของการศึกษายังมีปญหาสงผลให ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการศึ ก ษาของนั ก เรี ย นต่ํ า กว า มาตรฐานในวิ ช าสํ า คั ญ เช น ภาษาไทย ภาษาอั ง กฤษ คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ดานโครงสรางประชากรสัดสวนประชากรวัยสูงอายุ (๖๐ ปขึ้นไป) จะ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมีสัดสวนจากรอยละ ๑๐.๘๒ ในป ๒๕๕๐ เปนรอยละ ๑๒.๘๖ ในป ๒๕๕๔ ซึ่งจะสงผลกระทบตอการจัดบริการทางสังคมในทุกรูปแบบ นอกจากนั้นยังมีแรงงานนอกระบบจํานวน ๒๓.๓ ลานคนที่รัฐจะตองดูแลภายใตระบบคุมครองแรงงาน รวมทั้งการจัดสวัสดิการและบริการทางสังคม แกผูดอยโอกาสและคนยากจนใหทั่วถึง ดานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมของประเทศไทย ก็ยังมีความเสื่อมโทรมอยางตอเนื่อง และเกิดปญหาความขัดแยงของการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น คุณภาพน้ําในแหลงน้ําสําคัญ อยูในระดับต่ําไมเหมาะสมตอการนํามาใชประโยชน การควบคุมและกําจัดมลพิษยังไมมีประสิทธิภาพ เพียงพอ ทําใหมลพิษทางน้ํา อากาศ และเสียง รวมทั้งของทิ้งเสีย มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นและจะเปนปญหาตอ ระบบนิเวศในอนาคต ดังนั้นรัฐบาลใหความสําคัญกับการรักษาสมดุลระหวางการอนุรักษและใชประโยชน ทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสรางสภาพแวดลอมที่ดี การสรางความเปนธรรมใหชุมชนมีสิทธิในการเขาถึง และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพ และการสงเสริมใหเกิด การผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน นอกจากนั้นยังมีประเด็นความเชื่อมโยงกับเวทีโลกที่ตองดูแลให ประเทศไทยไดประโยชน เชน พันธกรณีและขอตกลงระหวางประเทศดานสิ่งแวดลอม รวมทั้งขอตกลง ทางการคาที่มีประเด็นเกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม และการเตรียมการรองรับผลกระทบจากภูมิอากาศของโลก ที่เปลี่ยนแปลง เปนตน ๕
  • 10. รัฐบาลใหความสําคัญกับการพัฒนาพื้นที่และการบริหารจัดการพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เชน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งดานการเกษตร อุตสาหกรรมและบริการ และเขตพัฒนาพิเศษที่มี ความยืดหยุนและหลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรม การจัดใหมีสํานักงานบริหารราชการจังหวัด ชายแดนภาคใตเปนองคกรถาวร การเพิ่มขีดความสามารถและความเปนอิสระขององคกรปกครองสวน ทองถิ่นในการพึ่งพาตนเองไดมากขึ้นพรอมกับสนับสนุนการดําเนินงานใหยึดหลักธรรมาภิบาลและปรับระบบ การทํางานใหมีประสิทธิภาพมุงตอบสนองตอความตองการของประชาชน ความรับผิดชอบตอชุมชน และมี ความโปรงใสมากขึ้น เปนตน นโยบายของรัฐบาลตามที่ไดแถลงตอรัฐสภาภายใตกรอบการดําเนินงานนี้ แบงเปนเรื่อง เรงดวนที่จะดําเนินการในปแรก คือ นโยบายขอ (๑) นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก และเรื่องที่ จะดําเนินการในชวง ๓ ป คือ นโยบายขอ ๒ - ๘ ไดแก (๒) นโยบายความมั่นคงของรัฐ (๓) นโยบายสังคม และคุ ณ ภาพชี วิ ต (๔) นโยบายเศรษฐกิ จ (๕) นโยบายที่ ดิ น ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม (๖) นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม (๗) นโยบายการตางประเทศและเศรษฐกิจ ระหวางประเทศ และ (๘) นโยบายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ดังมีรายละเอียดปรากฏในสวนที่ ๒ ๖
  • 12. นโยบายที่ ๑ นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก จากป ญ หาความขั ด แย ง ในสั ง คมที่ ส ง ผลให ก ารบริ ห ารประเทศในช ว งที่ ผ า นมา ขาดความกาวหนา และปญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่สงผลกระทบอยางรุนแรงตอระบบเศรษฐกิจไทยเร็วกวา ที่คาดการณไว รัฐบาลถือเปนความจําเปนเรงดวนในการมุงสรางความสมานฉันทในสังคม ควบคูไปกับ การขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถรอดพนจากปญหาวิกฤตตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน โดยรัฐบาลจะดําเนินการปฏิรูปการเมืองเพื่อวางระบบการบริหารประเทศใหมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ ในแนวทางการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัต ริยท รงเปน ประมุข และเสริมสราง ความสามัค คีใ หเ กิด ขึ้น ในสัง คมโดยเร็ว เรง แกไ ขปญ หาเศรษฐกิจ ที่เ กิด ขึ้น ในปจ จุบั น โดยการสรา ง ความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก ควบคูไปกับการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยจัดตั้ง กลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ การเรงนําเม็ดเงินของรัฐเขาสูระบบเศรษฐกิจเพื่อบรรเทาภาวะ ความเดือ นรอ นของประชาชน และภาคธุร กิ จ เรง รั ด ดํ า เนิ น มาตรการร วมกั บ ภาคเอกชนทั้ง ในด า น การทอ งเที่ย ว และการรองรั บ ผู วางงานในภาคอุ ต สาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดยอ ม ภาคการทองเที่ยว ภาคธุรกิจ และแรงงานจบใหม รวมทั้งรัฐบาลจะดําเนินมาตรการเพื่อรักษาและสราง รายได และลดภาระคาครองชีพของประชาชนและชุมชน รวมทั้งการกระตุนการบริโภค โดยกํากับดูแลราคา สินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปน ลดภาระคาใชจายดานสาธารณูปโภคใหแกผูมีรายไดนอย และเรงดําเนินการ ใหการศึกษา ๑๕ ป โดยไมเสียคาใชจาย นอกจากนี้ รัฐบาลจะมุงเนน การเสริมสรางความเขมแข็งของ เศรษฐกิจฐานรากซึ่งเปนภาคสวนที่มีความสําคัญอยางยิ่งของประเทศ โดยจะดําเนินการรักษาเสถียรภาพ ราคาสินคาเกษตรที่สําคัญ การจัดตั้งกองทุนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน และการจัดสรรเบียยังชีพ ้ แกผูสูงอายุ เพื่อสรางรายได และอาชีพที่ยั่งยืนใหแกเกษตรกรและประชาชนในชนบท รวมทั้งการสรางขวัญ กําลังใจใหแกบุคลากรดานสุขภาพในชุมชน นอกเหนือจากการเรงแกไขปญหาดานความสมานฉันทในสังคม การปฏิรูปการเมือง และการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศ และระดับ ฐานรากแลว รัฐ บาลจะเรงรัดการลงทุนสําคัญ ทั้งใน ดานการศึกษา ดานสาธารณสุข ดานทรัพยกรน้ํา และดานโครงสรางพื้นฐาน ซึ่งนอกจากจะเปนการสราง ฐานการพัฒนา และการเพิ่มขีดความสามารถในการแขง ขัน ของประเทศในระยะตอไปแลว การลงทุน ดังกลาวจะมีสวนชวยกระตุนการลงทุนจากภาคเอกชนภายในประเทศ และตางประเทศ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ ในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ ใหสามารถขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยมีเปาหมาย ตัวชี้วัด กลยุทธ วิธีดําเนินการที่สําคัญ ดังนี้ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๗
  • 13. ๑.๑ การสรางความเชื่อมั่นและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่น แกภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค ๑.๑.๑ เสริมสรางความสมานฉันทและความสามัคคีของคนในชาติ เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. ประชาชนในชาติ มีความรั กความสมาน − มีสื่อภาครัฐ ที่เสนอขาวในเชิงสรางสรรค สามั ค คี เ ป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น และ ต อ การสร า งความสมานฉั น ท ใ นสั ง คม เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยซึ่งเปน ศูนยรวมจิตใจของปวงชน ๒. สังคมใชแนวทางสันติวิธีใ นการแกปญหา − มีการจัดเวทีสาธารณะที่นําไปสูการแกไข ความขัดแยงภายใตระบอบประชาธิปไตย ป ญ หาอย า งสั น ติ หรื อ การจั ด ตั้ ง กลไก อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ร ว ม ข อ ง ภ า ค ส ว น ที่ เกี่ย วของเพื่อสรางการมีสวนรวมในการ แกไขปญหาความขัดแยงดวยกระบวนการ ของระบอบประชาธิ ป ไตยภายใต ค วาม เคารพความคิ ด เห็น ที่แ ตกตา งและสิท ธิ ของเสียงสวนนอย ๓. ประชาชนเคารพกฎหมายและกติกาสังคม − มีกิจกรรมที่สงเสริมการสรางจิตสํานึกใน ตลอดจนปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายในทุ ก ประโยชน ส าธารณะ การมี ส ว นร ว ม สถานการณ การเอื้อ อาทรกัน หลัก เหตุผ ล และหลั ก นิติธรรมในการจรรโลงสังคม กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. เสริ ม สร า งความสมานฉั น ท แ ละความ − เสริมสรางสภาวะแวดลอมที่เอื้ออํานวยให สามัค คีของคนในชาติใ หเ กิด ขึ้น โดยเร็ ว มีก ารบั ง คั บ ใชก ฎหมายอย างเท าเทีย ม โดยใชแนวทางสันติ รับฟงความเห็นจาก และเปน ธรรมแกทุก ฝาย รวมทั้ง สงเสริม ทุกฝาย และหลีกเลี่ยงการใชความรุนแรง ใหทุกฝายเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย ในการแกไขปญหาความขัดแยงในชาติใน แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๘
  • 14. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ทุก กรณี รวมทั้ง ฟน ฟูระเบีย บสังคมและ − เสริมสรางความรูความเขาใจของประชาชน บังคับใชกฎหมายอยางเทาเทียมและเปน ในชาติ ให ยึ ดมั่ นการปกครองในระบอบ ธรรมแกทุกฝาย ตลอดจนสนับสนุนองคกร ประชาธิ ป ไตยอั นมี พ ระมหากษั ตริ ยเ ป น ตามรัฐธรรมนูญใหมีสวนรวมในการสราง ประมุ ข และส ง เสริ ม การเรี ย นการสอน ความสมานฉั น ท ภายใต ก รอบของ การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยเพื่ อ บทบาท อํานาจและหนาที่ขององคกร สนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในระบอบ ประชาธิปไตย − เสริ ม สร า งจิ ต สํ า นึ ก ความรั ก ชาติ แ ละ ความสามั ค คี ข องคนในชาติ โดยใช วั ฒ นธรรม ประเพณี และกี ฬ าเป น สื่ อ ในการเสริ มสร า งความสมานฉัน ท แ ละ ความสามัคคี − สนั บ สนุ น องค ก รตามรั ฐ ธรรมนู ญ และ เสริ ม สร า งกลไกชุ ม ชนในการส ง เสริ ม ประชาธิปไตยและเสริมสรางความเขาใจ ร ว มกั น เพื่ อ ให เ กิ ด ความสมั ค รสมาน สามัคคี − พัฒ นาประสิ ท ธิภ าพด า นการข า วกรอง เพื่อสนั บ สนุ น การแก ไ ขป ญ หาความ ขัด แยง โดยสั น ติ วิธี ตรงกลุมเปาหมาย รวมทั้ ง เสริม สรา งความสมานฉั น ทแ ละ ความสามัคคีของคนในชาติ − เสริ ม สร า งวั ฒ นธรรมการอยู ร ว มกั น ใน สังคมไทยโดยไมใชความรุนแรง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๙
  • 15. ๑.๑.๒ จัดใหมีสํานักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใตเปนองคกรถาวร เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. จัดระบบและกลไกการบริหารจัดการและ − มีกลไกที่รับผิดชอบดานการบริหารจัดการ กําหนดใหจังหวัดชายแดนภาคใตเปนเขต การพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ที่ มี พัฒนาพิเศษ เอกภาพ − จังหวัดชายแดนภาคใตไดรับการกําหนด เปนเขตพัฒนาพิเศษ ๒. ประชาชนมี ค วามปลอดภั ย ในชี วิ ต และ − เหตุ ก ารณ ค วามไม ส งบลดลงอย า ง ทรัพยสิน สามารถดํารงชีพและประกอบ ตอเนื่อง อาชี พ ได อ ย า งปกติ รวมทั้ ง ได รั บ สิ ท ธิ − ชุ ม ชนในพื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย มี ก ารกํ า หนด พื้นฐานตามกฎหมายอยางเสมอภาคและ มาตรการการรักษาความปลอดภัยอยาง เปนธรรม มีความเชื่อถือและศรัทธาตอรัฐ เปนระบบ ตลอดจนได รั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพให − ประชาชนได รั บ ความเป น ธรรมมากขึ้ น สามารถพึ่งตนเองและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยมีเรื่องรองเรียนความไมเปนธรรมและ การละเมิดสิทธิ์ลดลง − ผูห ลงผิดกลับ ใจคืน สูสังคมเพิ่มขึ้น อยาง ตอเนื่อง และประชาชนที่เขามามีสวนรวม ในกิจกรรมของรัฐเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง − ประชาชนได รั บ การขยายโอกาสทาง การศึ ก ษา โดยอั ต ราการเรี ย นรู เ พิ่ ม ขึ้ น อยางตอเนื่อง − ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นจากอัตรา การตายแมและเด็กและอัตราการเจ็บปวย ลดลงอยางตอเนื่อง ๓. ระบบเศรษฐกิจมีความเขมแข็ง ประชาชน − ประชาชนมีโอกาสการทํางานเพิ่มขึ้นจาก มี ค วามมั่ น ค งในอาชี พ แ ละมี ร ายได อัตราการวางงานไมสูงกวาระดับภาคและ เพี ย งพอต อ การดํ า รงชี วิ ต โดยมี ก าร แรงงานมีหลักประกันและความปลอดภัย กระจายผลการพั ฒ นาอย า งเป น ธรรม ในการทํางาน มากขึ้น − สัดสวนคนจนลดลงอยางตอเนื่อง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๐
  • 16. กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. จัด ให มีสํา นัก งานบริ ห ารราชการจั ง หวั ด − จัดใหมีคณะกรรมการระดับนโยบายเพื่อ ชายแดนภาคใตเ ปน องคก รถาวร เพื่อทํา ศึ ก ษาและพิ จ ารณาแนวทางการแก ไ ข หน า ที่ แ ก ไขป ญ ห า แ ล ะพั ฒ น า พื้ น ที่ ป ญ หาความไม ส งบในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต โดยยึดมั่นหลักการสราง ชายแดนภาคใตใ หสอดคลองเหมาะสม ความสมานฉั น ท แ ละแนวทาง “เข า ใจ กับสถานการณในพื้นที่ ซึ่งมีความยืดหยุน เขาถึง พัฒนา” ใชกระบวนการยุติธรรมกับ และหลากหลายทางศาสนา และ ผูก ระทําผิด อยางเครง ครัดและเปน ธรรม วัฒนธรรม โดยกําหนดใหจังหวัดชายแดน กํา หนดจั ง หวัด ชายแดนภาคใต เ ป น เขต ภาคใตเ ปน เขตพัฒนาเศรษฐกิจ ที่มีก าร พัฒนาพิเ ศษที่มีการสนับ สนุนแหลงเงิน กู สนับสนุนแหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํา และสิทธิ ดอกเบี้ ย ต่ํ า สิ ท ธิ พิ เ ศษด า นภาษี และ พิ เ ศษด า นภาษี และพิ จ ารณาความ อุตสาหกรรมฮาลาล รวมทั้งสนับสนุน ให เหมาะสมในการปรั บ โครงสร างองค ก ร เปนเขตพัฒนาพิเศษที่มีความยืดหยุนและ กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวของ หลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรม − ควบคุ ม สถานการณ ค วามไม ส งบและ สรางความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ของประชาชนเพื่อสรางความเชื่อมั่น ใน อํานาจรัฐและสรางภูมิคุมกันแกค นกลุม เสี่ยง • เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพงานการข า วโดย บู ร ณ า ก า ร ข อ มู ล ก ล ไ ก แ ล ะ กระบวนการตรวจสอบตลอดจนการ ประมวลข า วกรองของหน ว ยงานที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ใ ห ค ร อ บ ค ลุ ม ทุ ก มิ ติ สถานการณและพื้นที่ • เพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความสงบ เรียบรอยโดยใหความสําคัญกับพื้นที่ เสี่ย งภัย และ คุมครองผูบริสุทธิ์มิใ ห ถูก คุก คามหรือถูก ชัก จูงในทางที่ผิ ด และใหโอกาสผูหลงผิดกลับคืนสูสังคม • เตรียมความพรอมดานทรัพยากรให แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๑
  • 17. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี พร อ มรั บ สถานการณ และเผชิ ญ ภั ย รวมทั้ งป อ ง กั น แล ะแก ไ ขป ญ ห า สาธารณภัย − อํานวยความเปนธรรมและความยุติธรรม แก ค นทุก ฝ ายอย างเทา เที ย มทั้ ง ผู ได รั บ ผลกระทบโดยตรง ประชาชนผูบ ริ สุ ท ธิ์ และบุคคลผู ดอยโอกาสเพื่อ สร างความ เชื่อถือและศรัทธาตอรัฐ • เพิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก ร ะ บ ว น ก า ร ยุติธรรมใหเปนที่พึ่งของประชาชน • เสริมสรางความเขาใจและการมีสวน ร ว มของประชาชนในกระบวนการ ยุติธรรม • ช ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ เ ยี ย ว ย า ผู ไ ด รั บ ผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบ อยางทั่วถึงและเปนธรรม − ส ง เสริ ม กระบวนการสั น ติ วิ ธี ที่ ยึ ด หลั ก ความเป น ธรรมและการมี ส ว นร ว มของ ทุกฝายใหเกิดความสามัคคีและลดความ ขัดแยง ตอกัน สามารถอยูรวมกัน อยางมี ความสุขบนพื้นฐานความหลากหลายใน ความคิด วิถีชีวิตและวัฒนธรรม • สงเสริมกิจกรรมวัฒนธรรม ประเพณี ประวั ติ ศ าสตร ศาสนา ดนตรี กี ฬ า เพื่อรัก ษาอัต ลัก ษณและคุณ คาดาน จิ ต ใ จ ร วม ทั้ ง วิ ถี สั ง ค ม ที่ มี ค ว า ม ปรองดองและสมานฉันท • เพิ่มประสิทธิภาพงานมวลชนสัมพันธ ง า น สั ง ค ม จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร ประชาสัมพันธเ ชิง รุก เพื่อสรางการมี แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๒
  • 18. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี สวนรวมอยางสรางสรรค • เพิ่มบทบาทกลุมพลังสังคมทั้งเยาวชน สตรี ปญญาชน ปราชญชาวบาน และ ผูนําชุมชนรวมสรางความสมานฉัน ท ของสังคม • เพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรของภาครัฐ ในการปฏิบัติงานตามแนวทางสันติวิธี เพื่อเสริมสรางสัน ติสุขของพื้นที่อยาง จริงจัง − พั ฒ นาศั ก ยภาพและคุ ณ ภาพคนเพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และทั ก ษะการ ดํารงชีวิตเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของ ครอบครั ว ชุมชน และความสมานฉัน ท ของสังคม • ขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป การศึ ก ษาทั้ ง ระบบทุ ก ระดับ อย า งจริ ง จั ง โดยจั ด การศึ ก ษาเชิ ง บู ร ณาการกั บ วิ ถี ชี วิ ต อั ต ลั ก ษณ ค วามหลากหลายทาง วั ฒ นธรรมและความต อ งการของ ทองถิ่น • พั ฒ นาคุ ณ ภาพบริ ก ารสาธารณสุ ข และสวั ส ดิ ก ารผู ด อ ยโอกาสและ เสริมสรางความเขมแข็งของสถาบัน ครอบครัว • สง เสริ มกระบวนการชุ มชนเข มแข็ ง เพื่อเพิ่มศัก ยภาพการพึ่ง ตนเองและ พึ่งพากันในชุมชน − พัฒนาเศรษฐกิจ ใหสอดคลองกับวิถีชีวิต และวั ฒ นธรรมของประชาชนและฐาน ทรั พ ยากรของท อ งถิ่น โดยยึด แนวทาง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๓
  • 19. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี เศรษฐกิจพอเพียงและกระบวนการพัฒนา แบบมีสวนรวมเพื่อเสริมสรางความมั่นคง ในการดํารงชีพของประชาชน • เสริมสรางความมั่นคงทางอาชีพและ รายไดแกกลุมคนมีรายไดนอยบนฐาน ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ที่ มี ค ว า ม หลากหลายทางชี ว ภาพและรั ก ษา ความสมดุลของสภาพแวดลอมอยาง ยั่งยืน • ส ง เสริ ม การพั ฒ นาการเกษตรและ ผลิ ต ภั ณ ฑ ก ารเกษตรที่ มี ศั ก ยภาพ อยางครบวงจร เหมาะสมสอดคลอง กั บ วิ ถี ชี วิ ตของแต ละชุ มชน แล ะ ทรั พ ยา ก รใ น พื้ น ที่ ใ ห เชื่ อมโย ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ฐ า น ร า ก ตั้ ง แ ต ร ะ ดั บ ครอบครัว ชุมชน สูระดับประเทศ • พัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลโดยเฉพาะ สินคาชุมชนและธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมที่มีศักยภาพ ใหมีคุณภาพ แล ะได รั บก าร รั บ รองม าต รฐ า น ฮาลาลควบคู ไ ปกั บ การส ง เสริ ม การตลาดใหกวางขวางมากขึ้น • พัฒนาดานการคา การทองเที่ยว การ บริ ก าร และการเชื่ อมโยงเศรษฐกิ จ ระหวางประเทศ เพื่อเสริมสรางการ ลงทุนและแหลงจางงานใหม ๆ • เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและ พัฒนาพลังงานทางเลือก − เสริมสรางความเขาใจกับนานาประเทศ เกี่ย วกับ นโยบายของรัฐ บาลไทยในการ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๔
  • 20. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี แก ไ ขป ญ หาความไม ส งบในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต • เส ริ ม สร า ง คว า ม สั ม พั น ธ ที่ ดี กั บ ประเทศเพื่อนบานและกลุม ประเทศ มุสลิม • เผยแพร ข อ มู ล ข า วสารที่ ถู ก ต อ ง เกี่ยวกับสถานการณจังหวัดชายแดน ภาคใตแกนานาประเทศ ๑.๑.๓ ปฏิรูปการเมือง เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. ระบบการเมืองไทยมีเสถียรภาพ และมี − มี รั ฐ บาลที่ มี ค วามมั่ น คงในการบริ ห าร ธรรมาภิบาล ประเทศ กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. ปฏิรูป การเมือง โดยจัด ตั้ง คณะกรรมการ − จั ด ตั้ ง “ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เ พื่ อ ศึ ก ษ า เพื่อศึก ษาแนวทางการดําเนิน การปฏิรูป แนวทางการดําเนินการปฏิรูป” โดยการ โดยการมี ส ว นร ว มของภาคประชาชน มีสวนรวมของภาคประชาชน เพื่ อ วางระบบการบริ ห ารประเทศให มี เสถีย รภาพและประสิทธิภาพ ในแนวทาง การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษั ต ริ ย ท รงเป น ประมุ ข และมี ความเหมาะสมสอดคล อ งกั บ สภาพ สัง คมไทย รวมทั้งสามารถสนองตอบต อ การพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน และเปนไป ตามความต อ งการของประชาชนอย า ง แทจริง แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๕
  • 21. ๑.๑.๔ เรงสรางความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. ความคืบ หนาของการดําเนิน การรวมกับ − กา ร ดํ า เ นิ นง า น ร ว ม กั บรั ฐ ส ภา เ พื่ อ รั ฐ สภาเพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข อ งที่ เกี่ย วของที่ป ระเทศไทยในฐานะสมาชิ ก ประเทศไทยในฐานะสมาชิ ก ประชาคม ประชาคมอาเซีย นจะตองลงนามในชว ง อาเซียนจะตองลงนามในชวงการประชุม การประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน สุดยอดผูนําอาเซียนเปน ไปตามแผนงาน ของกระทรวงการตางประเทศ ๒. ไทยประสบความสําเร็จในการเปนประธาน − การประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย นและการ อาเซียน ประชุ ม ที่ เ กี่ ย วข อ งเป น ไปตามแผนงาน การเปนประธานอาเซียนของไทย กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. เรงสรางความเชื่อมั่นของประเทศไทยใน − สนั บ สนุ น บทบาทและศั ก ยภาพในการ สายตาของชาวโลก โดยใหความสําคัญ ดํารงตําแหนงประธานอาเซีย นของไทย ตอกรอบความรวมมืออาเซียนเปนลําดับ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นความร ว มมื อ ในกรอบ แร ก แ ล ะ ร ว ม มื อกั บ รั ฐส ภา ใ น ก า ร อาเซียน พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข อ งที่ − เรงประชาสัมพันธเ พื่อสรางความเชื่อมั่น ประเทศไทยในฐานะสมาชิก ประชาคม และความน า เชื่ อ ของเศรษฐกิ จ ไทยใน อาเซี ย นจะต อ งลงนามในช ว งของการ ต า ง ป ร ะเ ท ศ โ ดย บู ร ณ า กา ร ง า น ที่ ประชุมสุดยอดผูนําอาเซีย นใหแลวเสร็จ เกี่ ย วขอ งกั บ การส ง ออก การท องเที่ ย ว ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ และเตรียม และการลงทุนใหเปนเอกภาพ โดยอาศัย ความพรอ มเปน เจ าภาพจั ดการประชุ ม กลไกของสถานฑูตไทยในตางประเทศ สุด ยอดผูนําอาเซียน ครั้ง ที่ ๑๔ ในเดือน กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ในฐานะที่ประเทศไทย เปนประธานอาเซียน แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๖
  • 22. ๑.๑.๕ ฟนฟูเศรษฐกิจที่กําลังประสบปญหาเปนการเรงดวน เปาหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด เปาหมายเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด ๑. กระตุนเศรษฐกิจใหขยายตัวไดอยาง − อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ตอเนื่องเพื่อปองกันและบรรเทาปญหาการ − มูลคาการลงทุนที่ขอรับสงเสริมการลงทุน วางงาน − มูลคาการลงทุนที่ขอรับสงเสริมการลงทุน ๒. มูลคาการลงทุนรวมที่ขอรับสงเสริมการ ในอุตสาหกรรมเปาหมาย ลงทุนในป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ จํานวน ๑,๒๕๐,๐๐๐ ลานบาท ๓. สรางความเชื่อมั่นและภาพลักษณในดาน − มูลคาการคาระหวางประเทศเพิ่มขึ้น การคาและการลงทุนของประเทศในระดับ นานาชาติ ๔. ลดการสูญเสียรายไดจากการทองเที่ยว − รายไดจากนักทองเที่ยวตางชาติลดลงจาก ไมใหต่ํามากเกินไปจากป ๒๕๕๐ ป ๒๕๕๐ ไมเกินรอยละ ๕ และรายไดจาก นักทองเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจากป ๒๕๕๑ รอยละ ๕ ๕. พัฒนา กลไก บริหารจัด การทรัพยากรน้ํา − จํานวนแหลงน้ําผิวดิน / ใตดิน ที่ไดรับการ อนุ รั ก ษ ฟ น ฟู และพั ฒ นาทรั พ ยากรน้ํ า พั ฒ นาและฟ น ฟู เป น แหล ง น้ํ า ต น ทุ น เพื่อเพิ่มน้ําตนทุน รวมทั้งพัฒนาระบบน้ํา สนับสนุน การอุปโภค บริโภคของประเทศ สะอาด ภาคการเกษตร และอุต สาหกรรมอยา ง ทั่วถึง เพียงพอ ๖. การเขาถึงสินเชื่อของกลุมเปาหมายอยาง − จํานวนผูกู (ราย) กลุมเปาหมาย ทั่วถึง − อัตราเพิ่มการใหสินเชื่อของสถาบันการเงิน ตอป กลยุทธ/วิธีดําเนินการ นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี ๑. ฟนฟูเศรษฐกิจที่กําลังประสบปญหาเปน − จัดทําแผนฟน ฟูเศรษฐกิจระยะเรงดวนที่ การเร ง ด ว น โดยจั ด ทํ า เป น แผนฟ น ฟู ครอบคลุ ม การช ว ยเหลื อ และบรรเทา เศรษฐกิจระยะสั้นที่ครอบคลุมภาคเกษตร ปญ หาผลกระทบจากภาวะการชลอตั ว แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๗
  • 23. นโยบาย กลยุทธ/วิธการ ี และเกษตรกร ภาคอุ ต สาหกรรม ภาค ของเศรษฐกิจตามกลุมเปาหมายตาง ๆ บริการและการทองเที่ยว ภาคการสงออก และจัด ทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม ภาคอสัง หาริมทรั พย การสร างงานและ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552 สรางรายไดในชนบท การพัฒนาแหลงน้ํา − รวมกับภาคเอกชนในการฟนฟูและกระตุน ธรรมชาติและฟนฟูทรัพยากรใหแลวเสร็จ เศรษฐกิ จ ระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ ให เ กิ ด การ ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ พรอมทั้ ง สรางงานและสรางรายได จั ด ทํ า งบประมาณรายจ า ยเพิ่ ม เติ ม − สร า งภาพลัก ษณแ ละความเขื่ อ มั่น ของ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยมี ประเทศไทยในระดับนานาชาติ วัต ถุประสงคเ พื่อนําเม็ ด เงิน ของรัฐ เขาสู − ดําเนิน โครงการลดผลกระทบวิก ฤตและ ระบบเศรษฐกิ จ และเพื่ อ ให ส ามารถ เสริ ม สร า งขี ด ความสามารถทางการ บ ร ร เ ท า ภ า ว ะ ค ว า ม เ ดื อด ร อ น ข อ ง แขงขันและพัฒนาการตลาด โดยพัฒนา ประชาชนและภาคธุรกิจได และยกระดับคุณภาพสินคา และบริการที่ มี ศั ก ยภาพ ดํ า เนิ น ตลาดเชิ ง รุ ก ทั้ ง ใน ประเทศ และต า งประเทศ และเร ง ใช ประโยชนจากขอตกลงทางการคา − ส ง เสริ ม และพั ฒ นาผู ป ระกอบการและ บุคลากรดานการทองเที่ยวใหมีคุณภาพ − สรางกิจกรรมการจัดการแขง ขันกีฬาเพื่อ ฟ น ฟู เ ศรษฐกิ จ ภาคบริ ก ารและการ ทองเที่ยวเพื่อนําเม็ดเงินของรัฐเขาสูระบบ เศรษฐกิ จ และเพื่ อ ให ส ามารถบรรเทา ภาวะความเดือดรอนของประชาชนและ ภาคธุรกิจ − จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ํ แบบบูรณาการและสงเสริมการ มีสวนรวม ของทุกภาคสวนใหมีการใชทรัพยากรน้ํา เป น ฐานในการพั ฒ นาประเทศและ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องประชาชน และ ดําเนิน การบริห ารจั ด การทรัพยากรเพื่ อ ชวยเหลือเกษตรกรที่เดือดรอนในระยะสั้น แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๑๘