SlideShare a Scribd company logo
1.วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของ
ครูสมศรีไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น
พร้อมอธิบายเหตุผล
สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ที่ต้องการ
เกิดจาก
ประการแรก
ปริมาณของเนื้อหาที่
บรรจุในสื่อ เนื่องจากการใส่
เนื้อหาที่มีปริมาณมากเกินไป
โดยไม่ได้สรุปใจความสาคัญ
ของเนื้อหาจะทาให้มีตัวหนังสือ
มากเกินไป และการมีตัวหนังสือ
ในสื่อมากเกินไปอาจทาให้
นักเรียนขาดความสนใจในสื่อ
และรู้สึกเบื่อหน่าย
ประการที่สอง
การมีกราฟิกที่มากเกินไป เพราะการมีกราฟิกในสื่ออาจจะดึงดูดความสนใจ
ของนักเรียนได้ในช่วงแรกๆ แต่ถ้าใส่มากเกินไปก็จะทาให้เนื้อหาในสื่อขาดจุดเด่นที่จะ
กระตุ้นให้นักเรียนติดตามและสนใจที่จะศึกษา
ประการสาคัญ
การสร้างสื่อโดยไม่คานึงถึงผู้เรียน เนื่องจากครูสมศรีสร้างสื่อตาม
แนวคิดของตนเองโดยไม่คานึงถึงความต้องการของนักเรียน ทาให้สื่อที่ครูสมศรี
สร้างไม่สามารถตอบสนองความต้องการของนักเรียนได้จึงทาให้สื่อการสอน
ของครูสมศรีขาดประสิทธิภาพและผลการเรียนของนักเรียนไม่มีความแตกต่าง
จากวิธีการสอนแบบเดิม
2.วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการ
ออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้าง
และพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
การออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นจะต้องมีพื้นฐานมาจาก
แนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนทั้งสามกลุ่มแนวคิด
ใหญ่ๆ คือ
1.แนวคิดการออกแบบการสอน
และสื่อการสอนที่มีพื้นฐานมาจาก
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
จะมุ่งเน้นการออกแบบ
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้ให้
ได้ปริมาณมากที่สุด โดยเป็นการ
ออกแบบสื่อการสอนซึ่งสร้าง
สิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนจะต้องดูดซับ
ข้อมูลสารสนเทศจานวนมาก
เป็นการออกแบบที่มุ่งเน้น
ทางด้านพฤติกรรมที่สังเกต
ได้จากภายนอก
2.แนวคิดการออกแบบการสอนและสื่อการสอนที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี
กลุ่มพุทธิปัญญา
จะมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและ
คุณภาพทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพหรือการเรียนรู้เป็นการจัดระเบียบ จัด
หมวดหมู่ของความจาลงสู่โครงสร้างทางปัญญา
เป็นการออกแบบที่ให้ความสาคัญเกี่ยวกับ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าภายนอก (พฤติกรรม) และ
สิ่งเร้าภายใน (กระบวนการคิด)
3.แนวคิดการออกแบบการสอนและสื่อการสอนที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์
จะเน้นการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยเป็นการจัด
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
ซึ่งตอบสนองการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
แสดงกระบวนการสร้างความรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา
ตามแนวคิดของเพียเจต์
แสดงกระบวนการสร้างความรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมของ Vygotsky
ความสัมพันธ์ของพื้นฐานดังกล่าวคือ การออกแบบการสอนและสื่อการสอนจะต้องใช้ทั้งสาม
ทฤษฎีนั้นมารวมกันเพื่อเป็นพื้นฐานในการออกแบบโดยคานึงถึงความเหมาะสมกลมกลืน
กลุ่มแนวคิดการออกแบบการสอนและ
สื่อการสอน
เน้นการออกแบบที่มีพื้นฐานเกี่ยวกับ
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม เป็นการออกแบบที่มุ่งเน้นทางด้าน
พฤติกรรมที่สังเกตได้จากภายนอก
ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญา เป็นการออกแบบที่ให้ความสาคัญ
เกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า
ภายนอก (พฤติกรรม) และสิ่งเร้าภายใน
(กระบวนการคิด)
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เน้นการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นการสร้าง
ความรู้ด้วยตนเองซึ่งตอบสนองการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
แผนภาพความสัมพันธ์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญา
3.วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบ
การสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่บนพื้นฐานของสิ่งใดบ้าง
อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่บนพื้นฐานหลักๆคือโครงสร้างทางปัญญา
ของผู้เรียน และบริบทการเรียนรู้ของสังคม เป็นหลัก ดังจะขยายความได้ดังนี้คือ
1. โครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียน
เนื่องจากโครงสร้างทางปัญญาภายในสมองของผู้เรียนนั้น สามารถมีการเปลี่ยนแปลง
ขยาย และซับซ้อนขึ้นได้จากกระบวนการดูดซึมและการปรับเปลี่ยน ดังนั้นการออกแบบ
การสอนและสื่อการสอนของครูควรมีการจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนได้สารวจ ค้นหา
มีการเติมสิ่งที่น่าสนใจที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเองอย่างตื่นตัว
ยกตัวอย่างเช่น
1. มีการจัดสถานการณ์เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม ทักษะ เนื้อหาและภารกิจ ที่
เกี่ยวข้องกับสภาพจริงและสอดคล้องกับบริบทที่มีความซับซ้อน
2.มีการสร้างความรู้เดิมของของผู้เรียน ความเชื่อ และเจตคติ ว่าจะเป็นสิ่งสาคัญ
ที่นามาพิจารณาในกระบวนการสร้างความรู้
2.บริบทการเรียนรู้ของสังคม
เนื่องจากวัฒนธรรมและภาษาจะเป็นเครื่องมือทางปัญญาที่จาเป็นสาหรับสร้างความรู้
อย่างไรก็ตามมนุษย์เรามีระดับพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการ
ออกแบบการเรียนการสอนของครูในระหว่างที่ทาการเรียนการสอนจึงต้องมีการจัดฐาน
ความช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียนให้สามารถข้ามข้อจากัดทางการเรียนรู้
ยกตัวอย่างเช่น
ให้ผู้เรียนมีการร่วมมือกัน
แก้ปัญหาเพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียน
ได้แลกเปลี่ยนมุมมองที่หลากหลาย
สมาชิก
น.ส. นนทพร สาลี 553050083-1
น.ส. พรรณิศา สิงห์คา 553050303-3
น.ส. อรณิชา ศรีสุชาติ 553050329-5
น.ส. อังค์วรา สายแสงจันทร์ 553050331-8
นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2
สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

แก ป ญหา นว_ตกรรมบทท__ 3
แก ป ญหา นว_ตกรรมบทท__ 3แก ป ญหา นว_ตกรรมบทท__ 3
แก ป ญหา นว_ตกรรมบทท__ 3Tiger Saraprung
 
Lesson2 1meterail
Lesson2 1meterailLesson2 1meterail
Lesson2 1meterailSamorn Tara
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Anny Hotelier
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
โครงการผลดีผลร้ายของ Social media
โครงการผลดีผลร้ายของ Social mediaโครงการผลดีผลร้ายของ Social media
โครงการผลดีผลร้ายของ Social mediaพัน พัน
 
แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้
Duangraethai Suanya
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
Pennapa Kumpang
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
Natthida Suwannarat
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้วัจนี ศรีพวงผกาพันธุ์
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 

What's hot (20)

แก ป ญหา นว_ตกรรมบทท__ 3
แก ป ญหา นว_ตกรรมบทท__ 3แก ป ญหา นว_ตกรรมบทท__ 3
แก ป ญหา นว_ตกรรมบทท__ 3
 
Lesson2 1meterail
Lesson2 1meterailLesson2 1meterail
Lesson2 1meterail
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
L3
L3L3
L3
 
2
22
2
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
 
โครงการผลดีผลร้ายของ Social media
โครงการผลดีผลร้ายของ Social mediaโครงการผลดีผลร้ายของ Social media
โครงการผลดีผลร้ายของ Social media
 
แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
 
2
22
2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 

Viewers also liked

Aporte para la conservacion del planeta zonia sanchez
Aporte para la conservacion del planeta zonia sanchezAporte para la conservacion del planeta zonia sanchez
Aporte para la conservacion del planeta zonia sanchezsonia sanchez
 
OUTDOOR KLANG VALLEY & PENANG RATECARD
OUTDOOR KLANG VALLEY & PENANG RATECARDOUTDOOR KLANG VALLEY & PENANG RATECARD
OUTDOOR KLANG VALLEY & PENANG RATECARD
fatihafh
 
Internet of things - Design, Trends and Opportunities
Internet of things - Design, Trends and OpportunitiesInternet of things - Design, Trends and Opportunities
Internet of things - Design, Trends and Opportunities
Vishwajeet Vatharkar
 
Our family´s dilemma.
Our family´s dilemma.Our family´s dilemma.
Our family´s dilemma.kathiarc
 
Library Orientation for Faculty
Library Orientation for FacultyLibrary Orientation for Faculty
Library Orientation for FacultyMary MacWithey
 
Arequipe los pinos igr
Arequipe los pinos igrArequipe los pinos igr
Arequipe los pinos igrEr Ick
 
презентация
презентацияпрезентация
презентацияsredets
 
Imporve confident part 1
Imporve confident part 1Imporve confident part 1
Imporve confident part 1
Oscar Williams
 
Health in Southampton: Assessing smoking and air pollution variation within t...
Health in Southampton: Assessing smoking and air pollution variation within t...Health in Southampton: Assessing smoking and air pollution variation within t...
Health in Southampton: Assessing smoking and air pollution variation within t...
Nick Kirrage
 
Cuarta ola
Cuarta olaCuarta ola
Cuarta ola
Yuki Bendezú
 
Portifólio
PortifólioPortifólio
Portifólio
Josi Martins
 

Viewers also liked (13)

Aporte para la conservacion del planeta zonia sanchez
Aporte para la conservacion del planeta zonia sanchezAporte para la conservacion del planeta zonia sanchez
Aporte para la conservacion del planeta zonia sanchez
 
Chap9 ppt
Chap9 pptChap9 ppt
Chap9 ppt
 
OUTDOOR KLANG VALLEY & PENANG RATECARD
OUTDOOR KLANG VALLEY & PENANG RATECARDOUTDOOR KLANG VALLEY & PENANG RATECARD
OUTDOOR KLANG VALLEY & PENANG RATECARD
 
Internet of things - Design, Trends and Opportunities
Internet of things - Design, Trends and OpportunitiesInternet of things - Design, Trends and Opportunities
Internet of things - Design, Trends and Opportunities
 
Our family´s dilemma.
Our family´s dilemma.Our family´s dilemma.
Our family´s dilemma.
 
Library Orientation for Faculty
Library Orientation for FacultyLibrary Orientation for Faculty
Library Orientation for Faculty
 
Arequipe los pinos igr
Arequipe los pinos igrArequipe los pinos igr
Arequipe los pinos igr
 
презентация
презентацияпрезентация
презентация
 
Imporve confident part 1
Imporve confident part 1Imporve confident part 1
Imporve confident part 1
 
Health in Southampton: Assessing smoking and air pollution variation within t...
Health in Southampton: Assessing smoking and air pollution variation within t...Health in Southampton: Assessing smoking and air pollution variation within t...
Health in Southampton: Assessing smoking and air pollution variation within t...
 
Make a plan
Make a planMake a plan
Make a plan
 
Cuarta ola
Cuarta olaCuarta ola
Cuarta ola
 
Portifólio
PortifólioPortifólio
Portifólio
 

Similar to 241203 chapter 3

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Vi Mengdie
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Vi Mengdie
 
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
Markker Promma
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจนjittraphorn
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
Pronsawan Petklub
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาP-zhiie Chic'
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาP-zhiie Chic'
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
Pari Za
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
Pari Za
 
Chapte3
Chapte3Chapte3
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
Piyarerk Bunkoson
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3PattrapornSakkunee
 

Similar to 241203 chapter 3 (20)

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจน
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Innovation chapter 3
Innovation chapter 3Innovation chapter 3
Innovation chapter 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Chapte3
Chapte3Chapte3
Chapte3
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3
 

More from Aungwara Saisangjunt

Chapter8การผลิตสื่อกราฟิก
Chapter8การผลิตสื่อกราฟิกChapter8การผลิตสื่อกราฟิก
Chapter8การผลิตสื่อกราฟิกAungwara Saisangjunt
 

More from Aungwara Saisangjunt (6)

241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt
 
Chap9 ppt
Chap9 pptChap9 ppt
Chap9 ppt
 
Chapter8การผลิตสื่อกราฟิก
Chapter8การผลิตสื่อกราฟิกChapter8การผลิตสื่อกราฟิก
Chapter8การผลิตสื่อกราฟิก
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Make a plan
Make a planMake a plan
Make a plan
 

241203 chapter 3