SlideShare a Scribd company logo
 ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่
สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถนำาไป
ประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้สามารถเรียกเอามาใช้
ประโยชน์ได้ในภายหลัง โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์
ตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
 ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ผ่านการประมวลผลและสามารถนำามาใช้
ประโยชน์ตามจุดประสงค์ ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการ
ใช้งานให้ทันเวลา
 ทั้งนี้ข้อมูลที่จะเป็นสารสนเทศที่ดีนั้นจะต้องผ่านกระบวนการที่
เรียกว่า การประมวลผล (Processing)ซึ่งหมายถึง การจัดการ
กับข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปอย่างใดอย่างหนึ่งและสามารถ
นำาเอาข้อสรุป
หรือสารสนเทศนั้นไปช่วยในการตัดสินใจได้
ข้อมูล ประมวลผล สารสนเทศ
  ข้อมูลที่สามารถนำามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ มี 5 ประเภท คือ
1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นจำานวน
ตัวเลข สามารถนำาไปคำานวณได้ เช่น จำานวนเงินเดือนราคา
สินค้า
2. ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร
และสัญลักษณ์เช่น ชื่อ สกุล ที่อยู่
3. ข้อมูลเสียง (Audio Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นเสียงต่าง ๆ
เช่น เสียงดนตรี เสียงพูด
 4. ข้อมูลภาพ (Images Data) คือ ข้อมูลที่เป็นจุดสีต่าง
ๆเมื่อนำามาเรียงต่อกันแล้วเกิดรูปภาพขึ้น เช่น
ภาพถ่าย ภาพลายเส้น เป็นต้น
5. ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ได้แก่ ข้อมูลที่
เป็นภาพเคลื่อนไหวต่าง เช่น ภาพเคลื่อนไหวที่ถ่ายด้วย
กล้องวิดีโอ หรือภาพที่ทำาจากโปรแกรมต่างๆ เป็นต้น
 1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่
เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำาไปใช้งานได้
ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ
ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z   ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
 3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป
รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำาตัว ชื่อสกุล
เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำาเอาฟิลด์
หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน
เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ
สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลใน
ลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
 5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ
เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน 
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำานวน 50 คน ทุก
คนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ
ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำานวน 50 คนนี้ เรียกว่า
แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์
หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
 การประมวลผลข้อมูล เป็นวิธีการที่ใช้ในการจัดการ
กับข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมมา แล้วประมวลผลข้อมูล
ดังกล่าว เพื่อให้ได้ข้อมูลใหม่ให้อยู่ในลักษณะที่
สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ หรือเป็นสารสนเทศ
นั่นเอง
 ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล มีขั้นตอนการประมวล
ผล 3 ขั้นตอน คือ การรวบรวมข้อมูลเข้า การ
ประมวลผลข้อมูล และการนำาเสนอข้อมูล
 1.1 การรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้
รับจากแหล่งต่าง ๆ
1.2 การตรวจสอบข้อมูล เป็นการตรวจสอบข้อมูล เพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบต้องมี
ความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข
 2.1 การแยกประเภท เป็นแยกประเภทข้อมูลให้ถูกต้องตาม
ลักษณะงานหรือคุณสมบัติของข้อมูล เช่น แยกประเภทตามรหัส
อาชีพ เพศ เป็นต้น
 2.2 การเรียงลำาดับข้อมูล เป็นการจัดเรียงข้อมูลไว้เป็นลำาดับ
เพื่อความสะดวกในการค้นหาหรือการเก็บรักษา เช่นเรียงตาม
ลำาดับชื่อ วันเวลา อักษร เป็นต้น
 2.3 การคำานวณ เป็นการประมวลผล โดยการใช้การบวก ลบ
คูณ หาร เพื่อหาผลลัพธ์ของข้อมูล
 2.4 การสรุปผลข้อมูล เป็นการสรุปผลการคำานวณ ทำาให้เกิด
ข้อมูลใหม่ขึ้นมาในรูปของสารสนเทศ
www.themegallery.comCompany Logo
 3.1 การเก็บรักษาข้อมูล หมายถึง การนำาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึก
ต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทำาสำาเนา
ข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคต
 3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป
การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยำา รวดเร็ว จึงมีการนำาคอมพิวเตอร์
เข้ามามีส่วนช่วยในการทำางาน ทำาให้การเรียกค้นกระทำาได้ทันเวลา
 3.3 การทำาสำาเนาข้อมูล การทำาสำาเนาเพื่อที่จะนำาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนำา
ไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อการทำาสำาเนา หรือนำา
ไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย
 3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย
การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสำาคัญและมีบทบาทที่สำาคัญยิ่งที่จะทำาให้การส่ง
ข่าวสารไปยังผู้ใช้ทำาได้รวดเร็วและทันเวลา
www.themegallery.comCompany Logo
 1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูล
เหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทำาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้
จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุ
ให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำา และอาจมี
โอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำานึง
ถึงกรรมวิธีการดำาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้อง
แม่นยำามากที่สุด
 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูล
จำาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้มีการตอบ
สนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อ
เหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการ
เรียกค้น และรายงานตามความต้องการของผู้ใช้
 3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับ
การรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการ
ดำาเนินการจัดทำาสารสนเทศต้องสำารวจและสอบถาม
ความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์
ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
 4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำานวนมากจะต้อง
ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจำาเป็นต้องออกแบบ
โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือ
ย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์
5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำาคัญ ดังนั้นจึงต้อง
มีการสำารวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดู
สภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของ
ข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ
               1   ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ได้มา
จากการที่ผู้ใช้เป็นผู้เก็บข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะเก็บด้วยการ
สัมภาษณ์หรือสังเกตการณ์ เป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด
เนื่องจากยังไม่มีการเปลี่ยนรูป และมีรายละเอียดตามที่ผู้ใช้
ต้องการ แต่จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก เช่น ข้อมูลที่ได้จาก
การนับจำานวนรถที่เข้า - ออก มหาวิทยาลัยในช่วงเวลา 08.00 - 
09.00 น . ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นักศึกษา
          
 แนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
2   ข้อมูลทุติภูมิ (Secondary Data) 
เป็นข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว
เป็นข้อมูลในอดีต และมักจะเป็นข้อมูลที่ได้ผ่านการวิเคราะห์เบื้องต้นมาแล้ว ผู้
ใช้นำามาใช้ได้เลย จึงประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย บางครั้งข้อมูลทุติยภูมิจะ
ไม่ตรงกับความต้องการหรือมีรายละเอียดไม่เพียงพอ นอกจากนั้นผู้ใช้จะไม่
ทราบถึงข้อผิดพลาดของข้อมูล ซึ่งอาจจะทำาให้ผู้ที่นำามาใช้ สรุปผลการวิจัยผิด
พลาดไปด้วย เช่น สถิติการเกิดอุบัติเหตุโดยรถจักรยานยนต์ของนักศึกษาในปี
2540 - 2541 เป็นข้อมูลที่บางครั้งอาจถูกแปรรูปไปแล้ว แต่เนื่องจากบางครั้ง
เราไม่สามารถที่จะจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิได้เราจึงต้องศึกษาจากข้อมูลที่มีการ
เก็บรวบรวมไว้แล้ว
สวัสดีค่ะ

More Related Content

What's hot

การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
Wanphen Wirojcharoenwong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
chaiwat vichianchai
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลKhanpetz'Kao Boreds
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Gatesiree G'ate
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศtaenmai
 
Data processing1
Data processing1Data processing1
Data processing1chukiat008
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rungnapa Rungnapa
 

What's hot (18)

การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
Original it 3
Original it 3Original it 3
Original it 3
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Data processing1
Data processing1Data processing1
Data processing1
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Similar to บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ

it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
rilerilept
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
Tiger Tanatat
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศkartoon7
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ssuseraa96d2
 
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษาTawatchai Sangpukdee
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
Trakarnta Samatchai
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
Latae Chutipas
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
Praphaphun Kaewmuan
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
leoleaun
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
บรรลุ ช่อชู
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pWareerut Suwannalop
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 

Similar to บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ (20)

หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
 
ทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิมทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิม
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

More from จิราภรณ์ ไทยนกเทศ (9)

Extention
ExtentionExtention
Extention
 
การจัดการไฟล์มีเดีย
การจัดการไฟล์มีเดียการจัดการไฟล์มีเดีย
การจัดการไฟล์มีเดีย
 
การสร้างCategory
การสร้างCategoryการสร้างCategory
การสร้างCategory
 
การสร้างบทความ
การสร้างบทความการสร้างบทความ
การสร้างบทความ
 
ผู้ดูแลระบบคือ
ผู้ดูแลระบบคือผู้ดูแลระบบคือ
ผู้ดูแลระบบคือ
 
จูมล่าคือ
จูมล่าคือจูมล่าคือ
จูมล่าคือ
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ

  • 1.
  • 2.  ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถนำาไป ประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้สามารถเรียกเอามาใช้ ประโยชน์ได้ในภายหลัง โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
  • 3.  ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ผ่านการประมวลผลและสามารถนำามาใช้ ประโยชน์ตามจุดประสงค์ ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการ ใช้งานให้ทันเวลา  ทั้งนี้ข้อมูลที่จะเป็นสารสนเทศที่ดีนั้นจะต้องผ่านกระบวนการที่ เรียกว่า การประมวลผล (Processing)ซึ่งหมายถึง การจัดการ กับข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปอย่างใดอย่างหนึ่งและสามารถ นำาเอาข้อสรุป หรือสารสนเทศนั้นไปช่วยในการตัดสินใจได้
  • 5.   ข้อมูลที่สามารถนำามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ มี 5 ประเภท คือ 1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นจำานวน ตัวเลข สามารถนำาไปคำานวณได้ เช่น จำานวนเงินเดือนราคา สินค้า 2. ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร และสัญลักษณ์เช่น ชื่อ สกุล ที่อยู่ 3. ข้อมูลเสียง (Audio Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นเสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียงพูด
  • 6.  4. ข้อมูลภาพ (Images Data) คือ ข้อมูลที่เป็นจุดสีต่าง ๆเมื่อนำามาเรียงต่อกันแล้วเกิดรูปภาพขึ้น เช่น ภาพถ่าย ภาพลายเส้น เป็นต้น 5. ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ได้แก่ ข้อมูลที่ เป็นภาพเคลื่อนไหวต่าง เช่น ภาพเคลื่อนไหวที่ถ่ายด้วย กล้องวิดีโอ หรือภาพที่ทำาจากโปรแกรมต่างๆ เป็นต้น
  • 7.  1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำาไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1 2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9, A, B,…Z   ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
  • 8.  3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำาตัว ชื่อสกุล เป็นต้น 4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำาเอาฟิลด์ หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลใน ลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
  • 9.  5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน  เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำานวน 50 คน ทุก คนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำานวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล 6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
  • 10.  การประมวลผลข้อมูล เป็นวิธีการที่ใช้ในการจัดการ กับข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมมา แล้วประมวลผลข้อมูล ดังกล่าว เพื่อให้ได้ข้อมูลใหม่ให้อยู่ในลักษณะที่ สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ หรือเป็นสารสนเทศ นั่นเอง  ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล มีขั้นตอนการประมวล ผล 3 ขั้นตอน คือ การรวบรวมข้อมูลเข้า การ ประมวลผลข้อมูล และการนำาเสนอข้อมูล
  • 11.  1.1 การรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้ รับจากแหล่งต่าง ๆ 1.2 การตรวจสอบข้อมูล เป็นการตรวจสอบข้อมูล เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบต้องมี ความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข
  • 12.  2.1 การแยกประเภท เป็นแยกประเภทข้อมูลให้ถูกต้องตาม ลักษณะงานหรือคุณสมบัติของข้อมูล เช่น แยกประเภทตามรหัส อาชีพ เพศ เป็นต้น  2.2 การเรียงลำาดับข้อมูล เป็นการจัดเรียงข้อมูลไว้เป็นลำาดับ เพื่อความสะดวกในการค้นหาหรือการเก็บรักษา เช่นเรียงตาม ลำาดับชื่อ วันเวลา อักษร เป็นต้น  2.3 การคำานวณ เป็นการประมวลผล โดยการใช้การบวก ลบ คูณ หาร เพื่อหาผลลัพธ์ของข้อมูล  2.4 การสรุปผลข้อมูล เป็นการสรุปผลการคำานวณ ทำาให้เกิด ข้อมูลใหม่ขึ้นมาในรูปของสารสนเทศ www.themegallery.comCompany Logo
  • 13.  3.1 การเก็บรักษาข้อมูล หมายถึง การนำาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึก ต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทำาสำาเนา ข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคต  3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยำา รวดเร็ว จึงมีการนำาคอมพิวเตอร์ เข้ามามีส่วนช่วยในการทำางาน ทำาให้การเรียกค้นกระทำาได้ทันเวลา  3.3 การทำาสำาเนาข้อมูล การทำาสำาเนาเพื่อที่จะนำาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนำา ไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อการทำาสำาเนา หรือนำา ไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย  3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสำาคัญและมีบทบาทที่สำาคัญยิ่งที่จะทำาให้การส่ง ข่าวสารไปยังผู้ใช้ทำาได้รวดเร็วและทันเวลา www.themegallery.comCompany Logo
  • 14.  1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูล เหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทำาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้ จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุ ให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำา และอาจมี โอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำานึง ถึงกรรมวิธีการดำาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้อง แม่นยำามากที่สุด
  • 15.  2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูล จำาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้มีการตอบ สนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อ เหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการ เรียกค้น และรายงานตามความต้องการของผู้ใช้  3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับ การรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการ ดำาเนินการจัดทำาสารสนเทศต้องสำารวจและสอบถาม ความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
  • 16.  4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำานวนมากจะต้อง ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจำาเป็นต้องออกแบบ โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือ ย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์ 5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำาคัญ ดังนั้นจึงต้อง มีการสำารวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดู สภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของ ข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ
  • 17.                1   ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ได้มา จากการที่ผู้ใช้เป็นผู้เก็บข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะเก็บด้วยการ สัมภาษณ์หรือสังเกตการณ์ เป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด เนื่องจากยังไม่มีการเปลี่ยนรูป และมีรายละเอียดตามที่ผู้ใช้ ต้องการ แต่จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก เช่น ข้อมูลที่ได้จาก การนับจำานวนรถที่เข้า - ออก มหาวิทยาลัยในช่วงเวลา 08.00 -  09.00 น . ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นักศึกษา             แนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
  • 18. 2   ข้อมูลทุติภูมิ (Secondary Data)  เป็นข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว เป็นข้อมูลในอดีต และมักจะเป็นข้อมูลที่ได้ผ่านการวิเคราะห์เบื้องต้นมาแล้ว ผู้ ใช้นำามาใช้ได้เลย จึงประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย บางครั้งข้อมูลทุติยภูมิจะ ไม่ตรงกับความต้องการหรือมีรายละเอียดไม่เพียงพอ นอกจากนั้นผู้ใช้จะไม่ ทราบถึงข้อผิดพลาดของข้อมูล ซึ่งอาจจะทำาให้ผู้ที่นำามาใช้ สรุปผลการวิจัยผิด พลาดไปด้วย เช่น สถิติการเกิดอุบัติเหตุโดยรถจักรยานยนต์ของนักศึกษาในปี 2540 - 2541 เป็นข้อมูลที่บางครั้งอาจถูกแปรรูปไปแล้ว แต่เนื่องจากบางครั้ง เราไม่สามารถที่จะจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิได้เราจึงต้องศึกษาจากข้อมูลที่มีการ เก็บรวบรวมไว้แล้ว