SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
 ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer)
 ยุคที่สอง (Second Generation Computer)
 ยุคที่สาม(Third Generation Computer)
 ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer)
 ยุคที่ห้า (Fifth Generation Computer)
www.themegallery.comLogo
www.themegallery.comLogo
ลักษณะเครื่อง คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ ใช้ไฟฟ้าแรงสูงจึงต้อง
ติดตั้งในห้องปรับอากาศตลอดเวลา
วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้วงจรอิเล็คโทรนิคส์ และหลอดสูญญากาศ
ความเร็วในการทางาน เป็นวินาที
สื่อข้อมูล บัตรเจาะ
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่องจักร (Machine Language)
ตัวอย่างเครื่อง UNIVAC, IBM 650, IBM 701, NCR 102
www.themegallery.comLogo
www.themegallery.comLogo
ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่สอง
ลักษณะเครื่อง มีขนาดเล็ก มีความร้อนน้อย และราคาถูกลง
วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้หลอดทรานซิสเตอร์แทนหลอดสูญญากาศ มี
วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยวามจา
ความเร็วในการทางาน เป็นมิลลิเซคคั่น
สื่อข้อมูล บัตรเจาะและเทปแม่เหล็กเป็นส่วนใหญ่
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาสัญลักษณ์ (symbolic Language) และ
ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN)
ตัวอย่างเครื่อง IBM 1620, IBM 1401, CDC 1604, Honeywell
200, NCR 315
www.themegallery.comLogo
ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่สาม
ลักษณะเครื่อง เล็กลงกว่าเดิม ความเร็วเพิ่มขึ้น ใช้ความร้อนน้อย
วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้ไอซี (Integrated Circuit) ซึ่งสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัว (จึงทาให้
ขนาดเล็ก)
ความเร็วในการทางาน เป็นไมโครเซคคั่น
สื่อข้อมูล บัตรเจาะ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ เริ่มมีภาษาโคบอลและภาษาพีแอลวัน (PL/1) ภาษาโคบอลเป็นภาษาที่แพร่หลายมากในยุคนี้
ตัวอย่างเครื่อง IBM 360, CDC 3300, NCR 395, UNIVAC 9400
คอมพิวเตอรยุคที่สี่
เปนยุคของวงจร VLSI (Very Large Scale Integration)ในรูปของไมโครโพรเซสเซอร
(Microprocessor) เปลี่ยนระบบหนวยความจําจากวงแหวนแมเหล็กเปนหนวยความจําสารกึ่ง
ตัวนําที่เรียกวา RAM (Random Access Memory) สงผลใหเกิดคอมพิวเตอร์สวนบุคคล
(PC : Personal Computer)
Microprocessor - VLSI (Very Large Scale Integration)
www.themegallery.comLogo
ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่สี่
ลักษณะเครื่อง มีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กหรือไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งไม่จาเป็นต้องอยู่ใน
ห้องปรับอากาศ ทางานเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้วงจรรวมขนาดใหญ่ที่เรียกว่าVLSI (Very Large Scale Integrated)
ความเร็วในการทางานเป็นนาโนเซคคั่น
สื่อข้อมูล เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก ส่วนบัตรเจาะจะใช้น้อยลง
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ เริ่มมีภาษาใหม่ ๆ เช่น ภาษาเบสิค ภาษาปาสคาล และภาษาซีเกิดขึ้น
ตัวอย่างเครื่องIBM 370, IBM 3033, UNIVAC 9700,CDC 7600,IBM PC(XT และ AT)
www.themegallery.comLogo
www.themegallery.comLogo
ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า ปัญญาประดิษฐ์
•มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการจัดการ และสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารมากยิ่งขึ้น
•มีภาษาเชิงวัตถุ (Object-Oriented)
•ความเร็วในการทางาน เป็นพิคโคเซคคั่น หนึ่งในล้านล้านวินาที
www.themegallery.comLogo
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
www.themegallery.comLogo
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะในการทางานสูงกว่า
คอมพิวเตอร์แบบอื่น ดังนั้นจึงมีผู้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (High Performance
Computer) คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ สามารถคานวนเลขที่มีจุดทศนิยม ด้วยความเร็วสูงมาก ขนาดหลายร้อย
ล้านจานวนต่อวินาที งานที่ให้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ทาแค่ 1 วินาที ถ้าหากเอามาให้คนอย่างเราคิด อาจจะต้อง
ใช้เวลานานกว่าร้อยปี ด้วยเหตุนี้ จึงเหมาะที่จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เมื่อต้องมีการคานวนมากๆ อย่างเช่น
งานวิเคราะห์ภาพถ่าย จากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา หรือดาวเทียมสารวจทรัพยากร งานวิเคราะห์พยากรณ์อากาศ
งานทาแบบจาลองโมเลกุล ของสารเคมี งานวิเคราะห์โครงสร้างอาคาร ที่ซับซ้อน คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ มี
ราคาค่อนข้างแพง ปัจจุบันประเทศไทย มีเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ Cray YMP ใช้ในงานวิจัย อยู่ที่
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์สมรรถภาพสูง (HPCC) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
ผู้ใช้เป็นนักวิจัยด้านวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ทั่วประเทศ บริษัทผู้ผลิตที่เด่นๆ ได้แก่ บริษัทเครย์ รีเสิร์ซ,
บริษัท เอ็นอีซี เป็นต้น
www.themegallery.comLogo
www.themegallery.comLogo
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูงมาก แต่ยังต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์
เหมาะกับการใช้งาน ทั้งในด้านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ
โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลจานวนมากๆ เช่น งานธนาคาร
ซึ่งต้องตรวจสอบบัญชีลูกค้าหลายคน งานของสานักงาน
ทะเบียนราษฎร์ ที่เก็บรายชื่อประชาชนประมาณ 60 ล้านคน พร้อมรายละเอียดต่างๆ งาน
จัดการบันทึกการส่งเงิน ของผู้ประกับตนหลายล้านคน
ของสานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน
คอมพิวเตอร์เมนเฟรม ที่มีชื่อเสียงมาก คือ เครื่องของบริษัท IBM
www.themegallery.comLogo
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini-Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม
คือทางานได้ช้ากว่า และควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า
อย่างไรก็ตามจุดเด่นสาคัญ ของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็คือ
ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม การใช้งานก็ไม่ต้องใช้ บุคลากรมากนัก
ยังมีผู้ที่รู้วิธีใช้มากกว่าด้วย เพราะเครื่องประเภทนี้ มีใช้ตามสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาหลายแห่ง มินิคอมพิวเตอร์ เหมาะกับงานหลากหลาย
ประเภท คือใช้ได้ทั้งในงานวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม เครื่องที่มีใช้ตาม
หน่วยงานราชการระดับกรมส่วนใหญ่ มักจะเป็นเครื่องประเภทนี้
www.themegallery.comLogo
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro-Computer)
เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของ
หน่วยความจาและความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุด
สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal
Computer : PC) ราคาถูก ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก
ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน ตลอดจนตามโรงเรียน
สถานศึกษา และบ้านเรือน บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจาหน่ายจน
ประสบความสาเร็จเป็นบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์
www.themegallery.comLogo
Notebook/Laptop
ความต้องการใช้งานคอมพิวเตอร์ในทุก ๆ สถานที่นั้นทาให้มีการพัฒนา
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาพกติดตัวไปด้วย เรียกว่า Notebook หรือ Laptop
ซึ่งมีประสิทธิภาพและการใช้งานเทียบเท่ากับระดับพีซี
www.themegallery.comLogo
Handheld : Pocket PC / Palm
คอมพิวเตอร์ถูกพัฒนาให้สามารถใช้งานได้สะดวกมากขึ้น โดยการออกแบบในมีรูปแบบการใช้งาน
อยู่เพียงบนฝ่ามือเท่านั้น มีน้าหนักเบา และพกพาสะดวก
ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์แบบแฮนด์เฮลได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยบางรุ่น
ใช้กับโทรศัพท์มือถือ
www.themegallery.comLogo
Tablet
คอมพิวเตอร์ที่สามารถป้อนข้อมูลทางจอภาพได้ และสามารถใช้ซอฟต์แวร์ชนิดเดียวกันกับที่ติดตั้ง
บนคอมพิวเตอร์แบบพีซีได้

More Related Content

What's hot

บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์Nichapa Paktanadechanon
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์phonon701
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการdollar onohano
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1warawee
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Krieangsak Pholwiboon
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมMooAuan_Mini
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันkanit087
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์Archa Reeyong
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นBeerza Kub
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1Jintana Pandoung
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ThaNit YiamRam
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันspimsorn
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1ninjung
 

What's hot (20)

บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Similar to วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์

สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ยุคของคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ยุคของคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ยุคของคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ยุคของคอมพิวเตอร์Arunee Dabnarong
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3paween
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1maysasithon
 
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1Jansri Pinkam
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Owat
 
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Beerza Kub
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์num19
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นJunya Punngam
 

Similar to วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ (20)

Computer Era
Computer EraComputer Era
Computer Era
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Work3-25
Work3-25Work3-25
Work3-25
 
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ยุคของคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ยุคของคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ยุคของคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ยุคของคอมพิวเตอร์
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
work3-18
work3-18work3-18
work3-18
 
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Com1 2
Com1 2Com1 2
Com1 2
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
Test onet 50
Test onet 50Test onet 50
Test onet 50
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

More from จิราภรณ์ ไทยนกเทศ (9)

บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Extention
ExtentionExtention
Extention
 
การจัดการไฟล์มีเดีย
การจัดการไฟล์มีเดียการจัดการไฟล์มีเดีย
การจัดการไฟล์มีเดีย
 
การสร้างCategory
การสร้างCategoryการสร้างCategory
การสร้างCategory
 
การสร้างบทความ
การสร้างบทความการสร้างบทความ
การสร้างบทความ
 
ผู้ดูแลระบบคือ
ผู้ดูแลระบบคือผู้ดูแลระบบคือ
ผู้ดูแลระบบคือ
 
จูมล่าคือ
จูมล่าคือจูมล่าคือ
จูมล่าคือ
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 

วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์