SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 2
(Protocol) โปรโตคอล
Protocol โปรโตคอล
โปรโตคอล คือ ข้อกำำหนดหรือข้อตกลงในกำร
สื่อสำรระหว่ำงคอมพิวเตอร์ หรือภำษำสื่อสำรที่ใช้เป็น
ภำษำกลำงในกำรสื่อสำรระหว่ำงคอมพิวเตอร์ด้วยกัน
กำรที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกเชื่อมโยงกันไว้ในระบบ
จะสำมำรถติดต่อสื่อสำรกันได้นั้น จำำเป็นจะต้องมีกำร
สื่อสำรที่เรียกว่ำ โปรโตคอล (Protocol) เช่นเดียวกับ
 คนเรำที่ต้องมีภำษำพูดเพื่อให้สื่อสำรเข้ำใจกันได้
โปรโตคอลช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์สองระบบ ที่
แตกต่ำงกันสำมำรถสื่อสำรกันอย่ำงเข้ำใจได้  คือข้อ
ตกลงที่กำำหนดเกี่ยว กับกำรสื่อสำรระหว่ำงเครื่อง
คอมพิวเตอร์ต่ำงๆ ทั้งวิธีกำรส่งและรับข้อมูล วิธีกำร
ตรวจสอบข้อผิดพลำดของกำรส่งและรับข้อมูล กำร
แสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่ำงเครื่องสอง
เครื่อง ดังนั้นจะเห็นได้ว่ำโปรโตคอลมีควำมสำำคัญมำก
ในกำรสื่อสำรบนเครือข่ำย หำกไม่มีโปรโตคอลแล้ว
องค์ประกอบของโปรโตคอล
Syntax หมำยถึงรูปแบบ(Format) หรือ
โครงสร้ำง(Structure) ของข้อมูล เช่น กำำหนด ว่ำใน8 บิตแรก
จะหมำยถึงแอดเดรส(address) ของผู้ส่ง อีก8 บิตถัดมำหมำย
ถึง แอดเดรสของผู้รับ ส่วนที่เหลือจึงจะเป็นข้อมูลจริงๆ ถ้ำไม่มี
กำรกำำหนดsyntax แล้ว แอนติตี้จะไม่สำมำรถทรำบได้เลยว่ำ
บิตแต่ละบิตที่ได้รับมำนั้นคืออะไร
Semantics หมำยถึง ควำมหมำยของข้อมูลที่ได้รับมำ เช่น
เมื่อได้รับข้อมูลแล้ว เอนติตี้ รู้ syntax แล้ว แต่จะยังไม่รู้ว่ำบิต
แต่ละบิตนั้นทำำอะไรได้บ้ำง ดังนั้นจึงต้องมำทำำกำร แปลควำม
หมำยของบิตเหล่ำนั้นเสียก่อน เช่น เมื่อทรำบแอดเดรสของผู้รับ
แล้ว เอนติตี้ จะสำมำรถทำำกำรหำเส้นทำง
Timing เป็นข้อกำำหนดของเวลำในกำรรับส่งข้อมูล
เนื่องจำกเอนติตี้แต่ละตัวนั้นมำ ควำมเร็วในกำรรับส่งที่ไม่เท่ำกัน
การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยฝ่ายผู้ส่งและ
ผู้รับ และจะเริ่มด้วยฝ่ายผู้ส่ง ต้องการส่งข้อมูลโดยผ่านชั้น
มาตรฐาน7 ชั้น
1.ชั้นกายภาพ(physical layer) ทําหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของ
สัญญาณ ดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้
2.ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล(data link layer) ทําหน้าที่เสมือนเป็นผู้
บริการส่ง ข้อมูล คือ ส่งข้อมูลผ่านทางสายส่งโดยมีกระบวนการตรวจสอบ
ความผิดพลาดของข้อมูลอันเนื่องมาจาก สัญญาณรบกวนที่เกิดในสายส่ง
รวมทั้งมีการแก้ไขความผิดพลาดดังกล่าวด้วย เป็นชั้นที่ควบคุมความ ถูก
ต้องระหว่างการส่งข้อมูลระหว่างจุด(node) 2 จุดที่อยู่ติดกันในเครือข่าย
3.ชั้นเครือข่าย(network layer) ทําหน้าที่ควบคุมการส่งผ่าน
ข้อมูล ระหว่างนางและปลายทางโดยผ่านจุดต่างๆ บนเครือข่ายให้เป็นไป
ตามเส้นทางที่กําหนด รวบรวมและ แยกแยะข้อมูลเพื่อหาเส้นทางในการ
ส่งข้อมูลที่เหมาะสม
4.ชั้นขนส่ง(transport layer) เป็นชั้นของการตรวจสอบและ
ควบคุมการส่ง ข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางให้ถูกต้อง
5.ชั้นส่วนงาน(session layer) ทําหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่าง
เครื่องต้น ทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องทั้ง
สองให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพโดย กําหนดขอบเขตการรับ-ส่ง คือกํา
หนดจุดผู้รับและผู้ส่งโดยจะเพิ่มเติมรูปแบบการรับ-ส่ง ข้อมูลว่าเป็นแบบ
ข้อมูลชุดเดียว หรือหลายชุดพร้อมๆ กัน เช่น โมดูล(module) ของการนํา
เสนอผ่านเว็บ
6.ชั้นการนําเสนอข้อมูล(presentation layer) จะแปลงข้อมูล
ที่ส่งมาให้ อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการจัด
โพรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet
Protocol)
ได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปี1960 ซึ่งถูกใช้เป็นครั้งแรกในเครือ
ข่ายARPANET ซึ่งต่อมาได้ขยายการ เชื่อมต่อไปทั่วโลกเป็นเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต ทําให้TCP/IP เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางจนถึง ปัจจุบันเป็นชุดของ
โพรโตคอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อให้สามารถใช้สื่อสารจากต้นทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทางได้ และสามารถ
หาเส้นทางที่จะส่ง ข้อมูลไปได้เองโดยอัตโนมัติ ถึงแม้ว่าในระหว่างทางอาจจะผ่าน
เครือข่ายที่มีปัญหา โพรโตคอลก็ยังคง หาเส้นทางอื่นในการส่งผ่านข้อมูลไปให้ถึง
ปลายทางได้โดยมีจุดประสงค์ของการสื่อสารตามมาตรฐาน สามประการคือ
-เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน
-ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย เช่นในกรณีที่ผู้
ส่งและผู้รับยังคงมีการติดต่อกันอยู่ แต่โหนดกลางทีใช้เป็นผู้ช่วยรับ-ส่งเกิด
เสียหายใช้การไม่ได้ หรือสายสื่อสารบางช่วงถูกตัดขาด กฎการสื่อสารนี้ จะ
ต้องสามารถจัดหาทางเลือกอื่นเพื่อทําให้การสื่อสารดําเนินต่อไปได้โดย
อัตโนมัติ
-มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน
เช่น การจัดส่งแฟ้มข้อมูล และแบบที่ต้องการรับประกันความเร่งด่วนของ
ข้อมูล เช่น การสื่อสารแบบreal-time และทั้งการสื่อสารแบบเสียง (Voice)
และข้อมูล(data)
การส่งข้อมูลโดยใช้โพรโตคอลTCP/IP จะเป็นการส่งข้อมูลผ่านในแต่ละ
เลเยอร์ โดยแต่ละเลเยอร์จะทําการประกอบข้อมูลที่ได้รับมา กับข้อมูลส่วนควบคุม
ซึ่งถูกนํามาไว้ในส่วนหัวของข้อมูล เรียกว่าHeader ภายในHeader จะบรรจุข้อมูล
โพรโตคอลFTP (File Transfer Protocol)
-การถ่ายโอนไฟล์ หรือเรียกได้อีกอย่างว่า การ คัดลอกแฟ้มข้อมูลบนเครือ
ข่าย คือ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งมายัง อีก
ระบบหนึ่งผ่านเครือข่าย ซึ่งทําได้หลายรูปแบบ เช่น การโอนจากแม่ข่าย
มายังเครื่องพีซี หรือ เครื่องพีซีไปแม่ข่ายหรือระหว่างแม่ข่ายด้วยกันเอง การ
ถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลหรือการโอนย้าย แฟ้มข้อมูลอาศัยโปรแกรมหนึ่งที่มีการ
ใช้งานกันมาก และมีบริการอยู่ในโฮสต์แทบทุกเครื่อง คือ โปรแกรมFTP
-FTP (File Transfer Protocol) เป็นระบบโอนย้ายไฟล์ข้ามระบบเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่มีความปลอดภัยพอสมควร โดยใช้โปรโตคอล TCP เป็นกลไก
ขนส่งข้อมูล การเข้าใช้งานผู้ใช้จะต้องแนะนําตนเองต่อเซิร์ฟเวอร์ด้วยชื่อผู้
ใช้และรหัสผ่าน จากนั้นจะแสดงชื่อโฟล์เดอร์และชื่อไฟล์ที่มีอยู่ออกมา ความ
สามารถของ FTP ทําให้ไคลเอนต์โอนย้ายไฟล์ ระหว่างไคลเอนต์ และ FTP
Server ได้ รวมทั้งระหว่างเครื่องสองเครื่องที่อยู่ห่างไกลกัน
-FTP เป็นโปรโตคอลที่ยุ่งยากพอสมควร เพราะต้องสร้างช่องทางสื่อสารใน
ระดับ TCP ถึงสองช่องทาง โดยช่องหนึ่งสําหรับโอนถ่ายข้อมูลและอีกหนึ่ง
ใช้ส่งคําสั่ง เซิร์ฟเวอร์จะต้องมีตัวแปลโปรโตคอล (PI: Protocol
Interpreter) สําหรับทําหน้าที่แปลและดําเนินงานตามคําสั่งของ FTP
โพรโตคอล HTTP(Hyper Text
Transport Protocol)
• HTTP เป็นกลไกหรือโปรโตคอลหลักที่ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่าง
เซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์ของเวิลด์ไวด์เว็บ โดยถูกออกแบบมาให้มีความกระ
ทัดรัด สามารถทำางานได้รวดเร็ว มีกระบวนการทำางานที่ไม่ซับซ้อน และมีคำา
สั่งที่ใช้งานไม่มากนัก แต่สามารถรองรับข้อมูลได้ทุกแบบ ไม่ว่าเป็นข้อมูล
ทั่วไปที่เข้ารหัสแบบ MIME หรือข้อมูลที่เป็นกราฟิก
• หลักการทำางานทั่วๆไปของ HTTP คือ จะแบบการทำางานออกเป็น 2 ด้านคือ
ด้านเว็บเซิร์ฟเวอร์ และด้านไคลเอนต์ โดยไคลเอนต์จะติดต่อเข้ามายัง
เซิร์ฟเวอร์โดยใช้โปรแกรมบราวเซอร์ และอ้างถึงแอดเดรสของเซิร์ฟเวอร์
โดยใช้รูปแบบของ URL ส่วนด้านเซิร์ฟเวอร์จะส่งข้อมูลกลับมาในรูปแบบที่
เป็น HTML โดยที่โปรโตคอล HTTP ใช้วิธีการเข้ารหัสในแบบ MIME เป็น
มาตรฐานของการทำางาน
• โครงสร้างข้อมูลของ HTTP จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆคือ ส่วนเฮดเดอร์
หรือเรียกว่า metadata จะเป็นส่วนเก็บข้อมูลที่จำาเป็นต้องใช้ภายใน
โปรโตคอล ส่วนที่สองเป็นส่วนข้อมูลจริงที่ต้องการรับส่ง ทั้งนี้ HTTP ถูก
ออกแบบมาให้สามารรับส่งข้อมูลผ่าน Proxy หรือ Firewall ต่างๆได้ โดย
การทำางาน HTTP จะอาศัยโปรโตคอลพื้นฐาน TCP/IP ซึ่งทั่วไปจะใช้
หมายเลขพอร์ตที่ 80
• โปรโตคอล HTTP ในปัจจุบันได้พัฒนาขึ้นมาเป็นเวอร์ชั่น 1.1 (จากเดิมคือ
เวอร์ชั่น 1.0) ซึ่งโปรแกรมบราวเซอร์ที่แพร่หลายทั่วไปนั้นจะสามารถรองรับ
โปรโตคอลในเวอร์ชั่นใหม่นี้ได้ และได้กำาหนดไว้เป็นมาตรฐานใน
โพรโตคอล HTTPS (Hypertext
Transfer Protocol Security )
• คือ ระบบความปลอดภัยของHTTP protocol สำาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างเครื่องserver และclient ที่คิดค้นขึ้นโดยบริษัทNetscape เมื่อ
ปลายปี ค.ศ. 1994 โดยมีจุดประสงค์เพื่อรักษาความลับของข้อมูลขณะรับ-
ส่ง และ เพื่อให้แน่ใจว่า ข้อมูลนั้นถูกรับ-ส่งระหว่างผู้รับและผู้ส่งตามที่ระบุไว้
จริง
Miss Narikan Huanraluk
น.ส.นรีกานต์ หวลระลึก ม.6/8
Miss Narikan Huanraluk
น.ส.นรีกานต์ หวลระลึก ม.6/8

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
Benjapron Seesukong
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
Preeyapat Lengrabam
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
Pa'rig Prig
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
Khunakon Thanatee
 
6. ใบความรู้
6. ใบความรู้6. ใบความรู้
6. ใบความรู้kopkaewkoki2014
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
Andy Hung
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
Chok Ke
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
Li Yu Ling
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
Mu PPu
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Sukanjana
 
การศึกษาชีววิทยา.ppt
การศึกษาชีววิทยา.pptการศึกษาชีววิทยา.ppt
การศึกษาชีววิทยา.ppt
ssuser4ff757
 

What's hot (20)

บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
Social media with Thailand
Social media with ThailandSocial media with Thailand
Social media with Thailand
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงการบริจาคโลหิต
โครงการบริจาคโลหิตโครงการบริจาคโลหิต
โครงการบริจาคโลหิต
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 
6. ใบความรู้
6. ใบความรู้6. ใบความรู้
6. ใบความรู้
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
การศึกษาชีววิทยา.ppt
การศึกษาชีววิทยา.pptการศึกษาชีววิทยา.ppt
การศึกษาชีววิทยา.ppt
 

Similar to หน่วยที่ 2 โปรโตคอล

5630504331
56305043315630504331
5630504331
Morimoto Manawat
 
ด ชน คำศ_พท_
ด ชน คำศ_พท_ด ชน คำศ_พท_
ด ชน คำศ_พท_Mooky Saowaphan
 
ดัชนี
ดัชนีดัชนี
ดัชนี
Mooky Saowaphan
 
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้วดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
Kphum Rueangsen
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
Ver Faiir
 
Presentation1
Presentation1 Presentation1
Presentation1
Ver Faiir
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
Samart Phetdee
 
โพโตคอล
โพโตคอลโพโตคอล
โพโตคอล
Aqilla Madaka
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ Rawinnipa Manee
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ACR
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ACR
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ACR
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ACR
 
โปรโตคอลคืออะไร
โปรโตคอลคืออะไรโปรโตคอลคืออะไร
โปรโตคอลคืออะไรattakowit
 
Protocol1
Protocol1Protocol1
Protocol1
wanchalerm2531
 

Similar to หน่วยที่ 2 โปรโตคอล (20)

5630504331
56305043315630504331
5630504331
 
ด ชน คำศ_พท_
ด ชน คำศ_พท_ด ชน คำศ_พท_
ด ชน คำศ_พท_
 
ดัชนี
ดัชนีดัชนี
ดัชนี
 
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้วดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
 
1โพรโทคอลสื่อ
1โพรโทคอลสื่อ1โพรโทคอลสื่อ
1โพรโทคอลสื่อ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1 Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
โปรโตคอล
โปรโตคอลโปรโตคอล
โปรโตคอล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
โพโตคอล
โพโตคอลโพโตคอล
โพโตคอล
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
 
โปรโตคอลคืออะไร
โปรโตคอลคืออะไรโปรโตคอลคืออะไร
โปรโตคอลคืออะไร
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Protocol1
Protocol1Protocol1
Protocol1
 

หน่วยที่ 2 โปรโตคอล

  • 2. Protocol โปรโตคอล โปรโตคอล คือ ข้อกำำหนดหรือข้อตกลงในกำร สื่อสำรระหว่ำงคอมพิวเตอร์ หรือภำษำสื่อสำรที่ใช้เป็น ภำษำกลำงในกำรสื่อสำรระหว่ำงคอมพิวเตอร์ด้วยกัน กำรที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกเชื่อมโยงกันไว้ในระบบ จะสำมำรถติดต่อสื่อสำรกันได้นั้น จำำเป็นจะต้องมีกำร สื่อสำรที่เรียกว่ำ โปรโตคอล (Protocol) เช่นเดียวกับ  คนเรำที่ต้องมีภำษำพูดเพื่อให้สื่อสำรเข้ำใจกันได้ โปรโตคอลช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์สองระบบ ที่ แตกต่ำงกันสำมำรถสื่อสำรกันอย่ำงเข้ำใจได้  คือข้อ ตกลงที่กำำหนดเกี่ยว กับกำรสื่อสำรระหว่ำงเครื่อง คอมพิวเตอร์ต่ำงๆ ทั้งวิธีกำรส่งและรับข้อมูล วิธีกำร ตรวจสอบข้อผิดพลำดของกำรส่งและรับข้อมูล กำร แสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่ำงเครื่องสอง เครื่อง ดังนั้นจะเห็นได้ว่ำโปรโตคอลมีควำมสำำคัญมำก ในกำรสื่อสำรบนเครือข่ำย หำกไม่มีโปรโตคอลแล้ว
  • 3. องค์ประกอบของโปรโตคอล Syntax หมำยถึงรูปแบบ(Format) หรือ โครงสร้ำง(Structure) ของข้อมูล เช่น กำำหนด ว่ำใน8 บิตแรก จะหมำยถึงแอดเดรส(address) ของผู้ส่ง อีก8 บิตถัดมำหมำย ถึง แอดเดรสของผู้รับ ส่วนที่เหลือจึงจะเป็นข้อมูลจริงๆ ถ้ำไม่มี กำรกำำหนดsyntax แล้ว แอนติตี้จะไม่สำมำรถทรำบได้เลยว่ำ บิตแต่ละบิตที่ได้รับมำนั้นคืออะไร Semantics หมำยถึง ควำมหมำยของข้อมูลที่ได้รับมำ เช่น เมื่อได้รับข้อมูลแล้ว เอนติตี้ รู้ syntax แล้ว แต่จะยังไม่รู้ว่ำบิต แต่ละบิตนั้นทำำอะไรได้บ้ำง ดังนั้นจึงต้องมำทำำกำร แปลควำม หมำยของบิตเหล่ำนั้นเสียก่อน เช่น เมื่อทรำบแอดเดรสของผู้รับ แล้ว เอนติตี้ จะสำมำรถทำำกำรหำเส้นทำง Timing เป็นข้อกำำหนดของเวลำในกำรรับส่งข้อมูล เนื่องจำกเอนติตี้แต่ละตัวนั้นมำ ควำมเร็วในกำรรับส่งที่ไม่เท่ำกัน
  • 4. การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยฝ่ายผู้ส่งและ ผู้รับ และจะเริ่มด้วยฝ่ายผู้ส่ง ต้องการส่งข้อมูลโดยผ่านชั้น มาตรฐาน7 ชั้น 1.ชั้นกายภาพ(physical layer) ทําหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของ สัญญาณ ดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้ 2.ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล(data link layer) ทําหน้าที่เสมือนเป็นผู้ บริการส่ง ข้อมูล คือ ส่งข้อมูลผ่านทางสายส่งโดยมีกระบวนการตรวจสอบ ความผิดพลาดของข้อมูลอันเนื่องมาจาก สัญญาณรบกวนที่เกิดในสายส่ง รวมทั้งมีการแก้ไขความผิดพลาดดังกล่าวด้วย เป็นชั้นที่ควบคุมความ ถูก ต้องระหว่างการส่งข้อมูลระหว่างจุด(node) 2 จุดที่อยู่ติดกันในเครือข่าย 3.ชั้นเครือข่าย(network layer) ทําหน้าที่ควบคุมการส่งผ่าน ข้อมูล ระหว่างนางและปลายทางโดยผ่านจุดต่างๆ บนเครือข่ายให้เป็นไป ตามเส้นทางที่กําหนด รวบรวมและ แยกแยะข้อมูลเพื่อหาเส้นทางในการ ส่งข้อมูลที่เหมาะสม 4.ชั้นขนส่ง(transport layer) เป็นชั้นของการตรวจสอบและ ควบคุมการส่ง ข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางให้ถูกต้อง 5.ชั้นส่วนงาน(session layer) ทําหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่าง เครื่องต้น ทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องทั้ง สองให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพโดย กําหนดขอบเขตการรับ-ส่ง คือกํา หนดจุดผู้รับและผู้ส่งโดยจะเพิ่มเติมรูปแบบการรับ-ส่ง ข้อมูลว่าเป็นแบบ ข้อมูลชุดเดียว หรือหลายชุดพร้อมๆ กัน เช่น โมดูล(module) ของการนํา เสนอผ่านเว็บ 6.ชั้นการนําเสนอข้อมูล(presentation layer) จะแปลงข้อมูล ที่ส่งมาให้ อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการจัด
  • 5. โพรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) ได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปี1960 ซึ่งถูกใช้เป็นครั้งแรกในเครือ ข่ายARPANET ซึ่งต่อมาได้ขยายการ เชื่อมต่อไปทั่วโลกเป็นเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ทําให้TCP/IP เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางจนถึง ปัจจุบันเป็นชุดของ โพรโตคอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้สามารถใช้สื่อสารจากต้นทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทางได้ และสามารถ หาเส้นทางที่จะส่ง ข้อมูลไปได้เองโดยอัตโนมัติ ถึงแม้ว่าในระหว่างทางอาจจะผ่าน เครือข่ายที่มีปัญหา โพรโตคอลก็ยังคง หาเส้นทางอื่นในการส่งผ่านข้อมูลไปให้ถึง ปลายทางได้โดยมีจุดประสงค์ของการสื่อสารตามมาตรฐาน สามประการคือ -เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน -ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย เช่นในกรณีที่ผู้ ส่งและผู้รับยังคงมีการติดต่อกันอยู่ แต่โหนดกลางทีใช้เป็นผู้ช่วยรับ-ส่งเกิด เสียหายใช้การไม่ได้ หรือสายสื่อสารบางช่วงถูกตัดขาด กฎการสื่อสารนี้ จะ ต้องสามารถจัดหาทางเลือกอื่นเพื่อทําให้การสื่อสารดําเนินต่อไปได้โดย อัตโนมัติ -มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน เช่น การจัดส่งแฟ้มข้อมูล และแบบที่ต้องการรับประกันความเร่งด่วนของ ข้อมูล เช่น การสื่อสารแบบreal-time และทั้งการสื่อสารแบบเสียง (Voice) และข้อมูล(data) การส่งข้อมูลโดยใช้โพรโตคอลTCP/IP จะเป็นการส่งข้อมูลผ่านในแต่ละ เลเยอร์ โดยแต่ละเลเยอร์จะทําการประกอบข้อมูลที่ได้รับมา กับข้อมูลส่วนควบคุม ซึ่งถูกนํามาไว้ในส่วนหัวของข้อมูล เรียกว่าHeader ภายในHeader จะบรรจุข้อมูล
  • 6. โพรโตคอลFTP (File Transfer Protocol) -การถ่ายโอนไฟล์ หรือเรียกได้อีกอย่างว่า การ คัดลอกแฟ้มข้อมูลบนเครือ ข่าย คือ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งมายัง อีก ระบบหนึ่งผ่านเครือข่าย ซึ่งทําได้หลายรูปแบบ เช่น การโอนจากแม่ข่าย มายังเครื่องพีซี หรือ เครื่องพีซีไปแม่ข่ายหรือระหว่างแม่ข่ายด้วยกันเอง การ ถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลหรือการโอนย้าย แฟ้มข้อมูลอาศัยโปรแกรมหนึ่งที่มีการ ใช้งานกันมาก และมีบริการอยู่ในโฮสต์แทบทุกเครื่อง คือ โปรแกรมFTP -FTP (File Transfer Protocol) เป็นระบบโอนย้ายไฟล์ข้ามระบบเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่มีความปลอดภัยพอสมควร โดยใช้โปรโตคอล TCP เป็นกลไก ขนส่งข้อมูล การเข้าใช้งานผู้ใช้จะต้องแนะนําตนเองต่อเซิร์ฟเวอร์ด้วยชื่อผู้ ใช้และรหัสผ่าน จากนั้นจะแสดงชื่อโฟล์เดอร์และชื่อไฟล์ที่มีอยู่ออกมา ความ สามารถของ FTP ทําให้ไคลเอนต์โอนย้ายไฟล์ ระหว่างไคลเอนต์ และ FTP Server ได้ รวมทั้งระหว่างเครื่องสองเครื่องที่อยู่ห่างไกลกัน -FTP เป็นโปรโตคอลที่ยุ่งยากพอสมควร เพราะต้องสร้างช่องทางสื่อสารใน ระดับ TCP ถึงสองช่องทาง โดยช่องหนึ่งสําหรับโอนถ่ายข้อมูลและอีกหนึ่ง ใช้ส่งคําสั่ง เซิร์ฟเวอร์จะต้องมีตัวแปลโปรโตคอล (PI: Protocol Interpreter) สําหรับทําหน้าที่แปลและดําเนินงานตามคําสั่งของ FTP
  • 7. โพรโตคอล HTTP(Hyper Text Transport Protocol) • HTTP เป็นกลไกหรือโปรโตคอลหลักที่ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่าง เซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์ของเวิลด์ไวด์เว็บ โดยถูกออกแบบมาให้มีความกระ ทัดรัด สามารถทำางานได้รวดเร็ว มีกระบวนการทำางานที่ไม่ซับซ้อน และมีคำา สั่งที่ใช้งานไม่มากนัก แต่สามารถรองรับข้อมูลได้ทุกแบบ ไม่ว่าเป็นข้อมูล ทั่วไปที่เข้ารหัสแบบ MIME หรือข้อมูลที่เป็นกราฟิก • หลักการทำางานทั่วๆไปของ HTTP คือ จะแบบการทำางานออกเป็น 2 ด้านคือ ด้านเว็บเซิร์ฟเวอร์ และด้านไคลเอนต์ โดยไคลเอนต์จะติดต่อเข้ามายัง เซิร์ฟเวอร์โดยใช้โปรแกรมบราวเซอร์ และอ้างถึงแอดเดรสของเซิร์ฟเวอร์ โดยใช้รูปแบบของ URL ส่วนด้านเซิร์ฟเวอร์จะส่งข้อมูลกลับมาในรูปแบบที่ เป็น HTML โดยที่โปรโตคอล HTTP ใช้วิธีการเข้ารหัสในแบบ MIME เป็น มาตรฐานของการทำางาน • โครงสร้างข้อมูลของ HTTP จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆคือ ส่วนเฮดเดอร์ หรือเรียกว่า metadata จะเป็นส่วนเก็บข้อมูลที่จำาเป็นต้องใช้ภายใน โปรโตคอล ส่วนที่สองเป็นส่วนข้อมูลจริงที่ต้องการรับส่ง ทั้งนี้ HTTP ถูก ออกแบบมาให้สามารรับส่งข้อมูลผ่าน Proxy หรือ Firewall ต่างๆได้ โดย การทำางาน HTTP จะอาศัยโปรโตคอลพื้นฐาน TCP/IP ซึ่งทั่วไปจะใช้ หมายเลขพอร์ตที่ 80 • โปรโตคอล HTTP ในปัจจุบันได้พัฒนาขึ้นมาเป็นเวอร์ชั่น 1.1 (จากเดิมคือ เวอร์ชั่น 1.0) ซึ่งโปรแกรมบราวเซอร์ที่แพร่หลายทั่วไปนั้นจะสามารถรองรับ โปรโตคอลในเวอร์ชั่นใหม่นี้ได้ และได้กำาหนดไว้เป็นมาตรฐานใน
  • 8. โพรโตคอล HTTPS (Hypertext Transfer Protocol Security ) • คือ ระบบความปลอดภัยของHTTP protocol สำาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างเครื่องserver และclient ที่คิดค้นขึ้นโดยบริษัทNetscape เมื่อ ปลายปี ค.ศ. 1994 โดยมีจุดประสงค์เพื่อรักษาความลับของข้อมูลขณะรับ- ส่ง และ เพื่อให้แน่ใจว่า ข้อมูลนั้นถูกรับ-ส่งระหว่างผู้รับและผู้ส่งตามที่ระบุไว้ จริง