SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๔ จัมเปยยจริยา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ในกาลที่เราเป็นพญานาคชื่อว่าจัมเปยยกะ มีฤทธิ์มาก แม้ในกาลนั้น เราเป็นผู้ประพฤติธรรม
เพียบพร้อมด้วยศีลวัตร กายของเรานี้ จงแตกไป จงกระจัดกระจายอยู่ ณ ที่นี้ เหมือนแกลบกระจัดกระจาย
อยู่ก็ตามเถิด เราไม่ควรทาลายศีล ฉะนี้ แล
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๓. จัมเปยยจริยา
ว่าด้วยจริยาของจัมเปยยกนาคราช
[๒๐] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นพญานาคชื่อว่าจัมเปยยกะ มีฤทธิ์มาก แม้ในกาลนั้น เราเป็น
ผู้ประพฤติธรรม เพียบพร้อมด้วยศีลวัตร
[๒๑] หมองูได้จับเราผู้ประพฤติธรรม รักษาอุโบสถ แล้วให้เล่นราอยู่ใกล้ประตูพระราชวัง
[๒๒] หมองูนั้นคิดสีใด คือ สีเขียว สีเหลือง หรือสีแดง เราย่อมเปลี่ยนไปตามความคิดของเขา
แปลงกายให้เหมือนที่เขาคิด
[๒๓] เราได้เนรมิตบก(คือแผ่นดิน)ให้เป็นน้าบ้าง เนรมิตน้าให้เป็นบกบ้าง ถ้าเราโกรธเคืองต่อ
หมองูนั้น ก็พึงทาเขาให้กลายเป็นเถ้าไปในพริบตา
[๒๔] ถ้าเราจักเป็นไปตามอานาจจิต เราก็จักเสื่อมจากศีล เมื่อเราเสื่อมจากศีล ประโยชน์สูงสุด
ก็จะไม่สาเร็จ
[๒๕] กายของเรานี้ จงแตกไป จงกระจัดกระจายอยู่ ณ ที่นี้ เหมือนแกลบกระจัดกระจายอยู่ก็
ตามเถิด เราไม่ควรทาลายศีล ฉะนี้ แล
จัมเปยยจริยาที่ ๓ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี
๓. จัมเปยยกจริยา
อรรถกถาจัมเปยยนาคจริยาที่ ๓
2
มีเรื่องย่อว่า พระโพธิสัตว์ในกาลนั้นบังเกิดในนาคพิภพชื่อว่าจัมปา เป็นนาคราชชื่อว่าจัมเปยย
ภะ มีฤทธิ์มากมีอานุภาพมาก. นาคราชนั้นครองนาคราชสมบัติอยู่ในนาคพิภพนั้น เสวยอิสสริยสมบัติ
เช่นเดียวกับโภคสมบัติของเทวราช เพราะไม่มีโอกาสได้บาเพ็ญบารมี จึงดาริว่า ประโยชน์อะไรด้วยกาเนิด
เดียรัจฉานนี้ เราจักเข้าอยู่ประจาอุโบสถ พ้นจากนี้ แล้วจักบาเพ็ญบารมีให้ดีทีเดียว.
ตั้งแต่นั้นมาก็รักษาอุโบสถในปราสาทของตนนั่นเอง.
นางนาคมาณวิกาแต่งตัวแล้วมาหาพระโพธิสัตว์.
พระโพธิสัตว์ดาริว่า อยู่ที่ปราสาทนี้ จักเป็นอันตรายแก่ศีลของเรา จึงออกจากปราสาทไปอยู่ใน
สวน. แม้ในสวนนั้นพวกนางนาคมาณวิกาก็มาหาอีก.
พระโพธิสัตว์ดาริว่า ในสวนนี้ ศีลของเราก็จักเศร้าหมอง เราจักออกจากนาคพิภพนี้ ไปยัง
มนุษยโลก แล้วอยู่จาอุโบสถ.
ตั้งแต่นั้นมา พระโพธิสัตว์ก็ออกจากนาคพิภพในวันอุโบสถ สละร่างกายให้เป็นทานโดย
อธิษฐานว่า ผู้ต้องการหนังเป็นต้นของเรา จงเอาหนังไปเถิด. หรือประสงค์จะเอาไปทากีฬางู ก็จงทาเถิด
แล้วนอนขดขนดอยู่บนยอดจอมปลวก ใกล้ทางไม่ไกลบ้านชายแดนแห่งหนึ่ง อยู่ประจาอุโบสถในวัน ๑๔ ค่า
และ ๑๕ ค่า. ในวันค่าหนึ่งจึงไปนาคพิภพ.
เมื่อพระโพธิสัตว์รักษาอุโบสอยู่อย่างนี้ กาลเวลาล่วงไปยาวนาน.
ลาดับนั้น อัครมเหสีชื่อสุมนา กล่าวกะพระโพธิสัตว์ว่า ข้าแต่พระองค์ พระองค์เสด็จไป
มนุษยโลกเข้าจาอุโบสถ. ก็มนุษยโลกนั้นเต็มไปด้วยภัยอันตราย จึงประทับอยู่ ณ ฝั่งโบกขรณีอันเป็นมงคล
ทรงบอกนิมิต ๓ ประการแก่นางสุมนาว่า แม่นางผู้เจริญ หากใครทาร้ายเราให้ลาบาก น้าในสระโบกขรณีนี้
จักขุ่น. หากครุฑจับ น้าจักเดือดพล่าน. หากหมองูจับ น้าจักมีสีแดง.
แล้วอธิษฐานอุโบสถในวัน ๑๔ ค่า จึงออกจากนาคพิภพไปนอนบนยอดจอมปลวกนั้น ยังจอม
ปลวกให้งดงามด้วยความงามของร่างพระโพธิสัตว์. เพราะร่างของพระโพธิสัตว์ขาว ดุจพวงเงิน. ยอดศีรษะ
ดุจลูกคลีทาด้วยผ้ากัมพลสีแดง. ร่างกายประมาณหัวงอนไถ. เมื่อครั้งพระภูริทัตประมาณขาอ่อน. เมื่อครั้ง
พระสังขปาละประมาณเรือโกลนลาหนึ่ง.
ในกาลนั้น มาณพชาวกรุงพาราณสีคนหนึ่งไปเมื่องตักกสิลา เรียนมนต์อาลัมพายน์ คือมนต์
สะกดจิต เรียนจบแล้วก็กลับบ้านของตน มาตามทางนั้นเห็นพระมหาสัตว์ คิดว่า เรื่องอะไรที่เราจะกลับบ้าน
มือเปล่า จับนาคนี้ ไปแสดงการเล่นในหมู่บ้านนิคมและราชธานี ก็จะได้ทรัพย์แล้วจึงค่อยไป ได้หยิบโอสถ
ทิพย์ ร่ายทิพยมนต์เข้าไปหานาคราช.
นาคราชตั้งแต่ได้ยินทิพยมนต์ ได้เป็นดุจซี่เหล็กร้อนยอนเข้าไปในหูของพระมหาสัตว์ดุจปลาย
หงอนถูกขยี้.
พระมหาสัตว์ยกศีรษะออกจากระหว่างขนดมองดูนั่น ใครหนอ เห็นหมองู จึงดาริว่า พิษของเรา
แรงกล้า หากเราโกรธจักพ่นลมออกจากจมูก ร่างกายของหมองูนี้ ก็จะกระจุยกระจายดุจแกลบ. ทีนั้นศีลของ
เราก็จะขาด เราจักไม่มองดูหมองูละ.
พระมหาสัตว์หลับตาสอดศีรษะ เข้าไประหว่างขนด.
3
พราหมณ์หมองูเคี้ยวโอสถร่ายมนต์ พ่นน้าลายลงบนร่างของพระมหาสัตว์.
ด้วยอานุภาพของโอสถและมนต์ ได้เป็นดุจพุพองผุดขึ้นในที่ที่น้าลายถูกต้อง.
ลาดับนั้น พราหมณ์หมองูจึงจับที่หางฉุดออกมาให้นอนเหยียด เอาไม้ตีนแพะกดไว้ทาให้อ่อน
กาลังแล้วจับศีรษะให้มั่น. พระมหาสัตว์อ้าปาก. หมองูจึงพ่นน้าลายลงในปากของพระมหาสัตว์ ทาลายฟัน
ด้วยกาลังมนต์โอสถ. เลือดเต็มปาก.
พระมหาสัตว์อดกลั้นทุกข์ถึงปานนี้ เพราะเกรงศีลของตนจะขาด จึงหลับตาไม่ทาแม้เพียงแลดู.
หมองูนั้นคิดว่า เราทานาคราชให้หมดกาลังจึงขยาทั่วร่าง ดุจจะทาให้กระดูกตั้งแต่หางแหลก
เหลว พันผ้าสาลี เอาด้ายมัด จับที่หาง เอาผ้าทุบ. โลหิตเปื้ อนทั่วร่างพระมหาสัตว์.
พระมหาสัตว์อดกลั้นเวทนาอันสาหัส.
ลาดับนั้น หมองูรู้ว่าพระมหาสัตว์หมดกาลัง จึงเอาเถาวัลย์ทาตะกร้า จับพระมหาสัตว์ใส่ลงใน
ตะกร้านาไปยังบ้านชายแดน ให้เล่นกีฬาท่ามกลางมหาชน.
พระมหาสัตว์ฟ้อนทาตามพราหมณ์ต้องการให้ทา ในสีมีสีเขียวเป็นต้น ในสัณฐานมีสี่เหลี่ยม
เป็นต้น ในประมาณมีละเอียดและหยาบเป็นต้น. ทาพังพานร้อยหนึ่งบ้าง พันหนึ่งบ้าง.
มหาชนชอบใจได้ให้ทรัพย์เป็นอันมาก. วันเดียวเท่านั้นได้กหาปณะพันหนึ่งและบริขารมีค่าพัน
หนึ่ง.
พราหมณ์คิดมาแต่ต้นแล้วว่า ได้ทรัพย์พันหนึ่งแล้วจะปล่อย. แต่ครั้นได้ทรัพย์นั้นแล้ว คิดว่าใน
บ้านชายแดนเท่านั้น เรายังได้ทรัพย์ถึงเพียงนี้ เมื่อเราแสดงแก่พระราชาและมหาอามาตย์ของพระราชา จัก
ได้ทรัพย์มากเพียงไร. จึงหาเกวียนและยานน้อยที่สบายบรรทุกบริขารลงในเกวียน ตนเองนั่งบนยานน้อยที่
สบาย คิดว่า เราจะให้พระมหาสัตว์เล่นกีฬาในบ้าน นิคมและราชธานี ด้วยบริวารอันใหญ่ ครั้นให้เล่นใน
ราชสานักของพระเจ้าอุคคเสนะ ในกรุงพาราณสีแล้วก็จะปล่อย จึงได้เดินทางไป.
พราหมณ์นั้นได้ฆ่ากบให้นาคราช.
นาคราชไม่กินด้วยคิดว่า พราหมณ์จักฆ่ากบเพราะอาศัยเราบ่อยๆ.
ทีนั้นพราหมณ์จึงให้น้าผึ้งและข้าวตอกแก่พระมหาสัตว์. พระมหาสัตว์ไม่กินแม้น้าผึ้งและ
ข้าวตอกเหล่านั้นด้วยคิดว่า หากเราถือเอาอาหาร จักต้องตายภายในตะกร้านี้ แหละ.
พราหมณ์ได้ไปถึงกรุงพาราณสีประมาณ ๑ เดือน ให้พระโพธิสัตว์เล่นกีฬาที่ประตูบ้านได้ทรัพย์
เป็นอันมาก.
แม้พระราชาก็รับสั่งให้เรียกพราหมณ์นั้นมา ตรัสว่า จงให้เล่นกีฬาให้เราดู.
พราหมณ์ทูลรับพระดารัสว่า ขอเดชะ ข้าพระองค์จะให้เล่นกีฬาถวายพระองค์ในวัน ๑๕ ค่า พระ
เจ้าข้า.
พระราชารับสั่งให้ตีกลองป่าวประกาศว่า พรุ่งนี้ นาคราชจักฟ้อนที่พระลานหลวง ขอให้มหาชน
จงมาประชุมดูเถิด วันรุ่งขึ้นรับสั่งให้ตกแต่งพระลานหลวง แล้วตรัสเรียกหาพราหมณ์ให้เข้าเฝ้า. พราหมณ์จึง
นาพระมหาสัตว์ในตะกร้าแก้วไปวางตะกร้าไว้ ณ ที่ลาดอันวิจิตรนั่งอยู่.
พระราชาก็เสด็จลงจากปราสาทแวดล้อมด้วยมหาชนประทับนั่งเหนือราชอาสน์. พราหมณ์นา
4
พระมหาสัตว์ออกมาแล้วให้ฟ้อน.
พระมหาสัตว์แสดงไปตามที่พราหมณ์คิดให้แสดง.
มหาชนไม่อาจทรงภาวะของตนไว้ได้ ต่างยกผ้าพันผืนโบกไปมา แล้วฝนตกเบื้องบนพระมหา
สัตว์.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงว่า เราช่วยจูงใจชนผู้เพ่งดูด้วยอาการที่หมองูคิดให้ทา. อานุภาพ
ของเรามิใช่แสดงอาการตามที่หมองูคิดอย่างเดียว ที่แท้เราทาน้าให้เป็นบกบ้าง ทาบกให้เป็นน้าบ้าง. เรา
สามารถทาแผ่นดินใหญ่อันเป็นบกให้เป็นน้าได้ สามารถทาแม้น้าให้เป็นแผ่นดินได้. อานุภาพใหญ่ด้วย
ประการฉะนี้ .
ถ้าเราจักเป็นไปในอานาจของจิต แม้ด้วยเหตุเพียงโกรธแล้วมองดูด้วยคิดว่า หมองูนี้ เบียดเบียน
เราเหลือเกิน. คงไม่รู้จักอานุภาพของเรา. เอาละ เราจักแสดงอานุภาพของเราให้หมองูเห็นดังนี้ ทีนั้นหมองู
ก็จักกระจุยกระจายดุจแกลบไปฉะนั้น. เราก็จักเสื่อมจากศีลตามที่เราได้สมาทานไว้. ก็เมื่อเราเสื่อมจากศีลมี
ศีลขาด ประโยชน์อันใดที่เราปรารถนาไว้ตั้งแต่บาทมูลของพระทศพลพระนามว่าทีปังกร ประโยชน์อันสูงสุด
คือความเป็นพระพุทธเจ้านั้นก็จะไม่สาเร็จ.
พระมหาสัตว์อดอาหารตลอดกาลประมาณเท่านั้น.
นางสุมนาแลดูสระโบกขรณีด้วยคิดว่า สามีของเราช้าเหลือเกิน จะมีเหตุอะไรหนอครั้นเห็นน้ามี
สีแดงก็รู้ว่า สามีถูกหมองูจับจึงออกจากนาคพิภพไปใกล้จอมปลวกเห็นที่ที่พระมหาสัตว์ถูกจับและที่ที่ถูก
ทรมาน จึงร้องไห้คร่าครวญไปยังบ้านชายแดนถาม ครั้นทราบเรื่องราวแล้วก็ไปกรุงพาราณสี ยืนร้องไห้อยู่
บนอากาศใกล้ประตูพระราชวัง.
พระมหาสัตว์กาลังฟ้อนอยู่ แหงนสู่อากาศเห็นนางสุมนา จึงละอายเข้าตะกร้านอน.
พระราชาในขณะที่พระโพธิสัตว์เข้าตะกร้า ทรงดาริว่า มีเหตุอะไรหนอ ประทับยืน
ทอดพระเนตรดูข้างโน้นข้างนี้ ทรงเห็นนางสุมนายืนอยู่บนอากาศ ตรัสถามว่า ท่านเป็นใคร ครั้นทรงทราบ
ว่า นางเป็นนาคกัญญา ทรงเข้าพระทัยว่า นาคราชคงเห็นนางนาคกัญญานี้ ละอายเข้าตะกร้าไปโดยไม่ต้อง
สงสัย.
ฤทธานุภาพตามที่ได้แสดงนี้ เป็นของนาคราชเท่านั้น มิใช่ของหมองู จึงตรัสถามว่า นาคราชนี้ มี
อานุภาพมากถึงอย่างนี้ ตกไปสู่มือของพราหมณ์นี้ ได้อย่างไร ทรงสดับว่า นาคราชนี้ มีศีลประพฤติธรรมเข้า
อยู่จาอุโบสถในวัน ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า มอบร่างกายของตัวให้เป็นทาน นอนอยู่บนยอดจอมปลวกใกล้ทางหลวง.
ถูกหมองูจับในที่นั้น.
นาคราชนี้ มีนาคกัญญาตั้งพันเปรียบด้วยนางเทพอัปสร สมบัติในนาคพิภพเช่นกับสมบัติในเทว
โลก. นาคราชนี้ มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก สามารถพลิกแผ่นดินทั้งสิ้นได้. นาคราชคิดอย่างเดียวว่า ศีลของ
เราจักขาด จึงยอมรับทุกข์อย่างรุนแรงเห็นปานนี้ .
พระราชาทรงเกิดสังเวช ทันใดนั้นเองได้พระราชทานทรัพย์เป็นอันมาก ยศและความอิสระอย่าง
ใหญ่หลวงแก่พราหมณ์ แล้วทรงให้ปล่อยด้วยพระดารัสว่า เอาเถิดท่านพราหมณ์ผู้เจริญขอท่านจงปล่อย
นาคราชนี้ เถิด.
5
พระมหาสัตว์ยังเพศนาคให้หายไปกลายเพศเป็นมาณพ ปรากฏดุจเทพกุมาร.
แม้นางสุมนาก็ลงจากอากาศยืนอยู่ใกล้กับพระโพธิสัตว์นั้นถวายบังคมพระราชาทูลว่า ข้าแต่
มหาราช ขอเชิญพระองค์เสด็จมาทอดพระเนตรที่อยู่ของข้าพระองค์เถิด.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
จัมเปยยกนาคราชพ้นออกมาแล้วจึงทูลกะพระราชาว่า ข้าแต่พระเจ้ากาสี ขอความนอบน้อมจง
มีแด่พระองค์ ข้าแต่ท่านผู้ยังแคว้นกาสีให้เจริญขอความนอบน้อมจงมีแด่พระองค์ ข้าพระองค์ขอถวายบังคม
แด่พระองค์ ขอพระองค์พึงเห็นนิเวศน์ของข้าพระองค์.
พระราชาทรงอนุญาตให้พญานาคกลับไปยังนาคพิภพ.
พระมหาสัตว์พาพระราชาพร้อมด้วยข้าราชบริพารไปยังนาคพิภพแสดงอิสสริยสมบัติของตน อยู่
ในนาคพิภพได้ ๒-๓ วันจึงให้ตีกลองป่าวประกาศว่า พวกข้าราชบริพารทั้งหมดจงถือเอาทรัพย์มีเงินและ
ทองเป็นต้นตามความต้องการ. มอบทรัพย์ถวายพระราชา ๑๐๐ เล่มเกวียน.
พระมหาสัตว์ถวายโอวาทด้วยราชธรรมกถา ๑๐ ประการ มีอาทิว่า ข้าแต่มหาราช ธรรมดา
พระราชาควรทรงบริจาคทาน ควรรักษาศีล ควรจัดการรักษาป้องกันคุ้มครองเป็นธรรมในกิจทั้งปวงแล้วส่ง
เสด็จกลับ.
พระราชาเสด็จออกจากนาคพิภพด้วยพระยศอันใหญ่เสด็จถึงกรุงพาราณสี.
ได้ยินว่า ตั้งแต่นั้นมาในพื้นชมพูทวีปมีเงินและทองเป็นอันมาก.
พระมหาสัตว์รักษาศีลกระทาอุโบสถกรรมทุกกึ่งเดือน พร้อมด้วยบริษัทได้ไปบังเกิดบนสวรรค์.
หมองูในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ .
นางสุมนา คือมารดาพระราหุล.
อุคคเสนะ คือพระสารีบุตร.
จับเปยยกนาคราช คือพระโลกนาถ.
จบอรรถกถาจัมเปยยนาคจริยาที่ ๓
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf

บาลี 31 80
บาลี 31 80บาลี 31 80
บาลี 31 80Rose Banioki
 
3 31+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๕
3 31+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๕3 31+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๕
3 31+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๕Wataustin Austin
 
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdfmaruay songtanin
 
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
16 มหิสราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
พระมหาชนก
พระมหาชนกพระมหาชนก
พระมหาชนกDanai Thongsin
 
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
7 60+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๒
7 60+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๒7 60+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๒
7 60+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
บาลี 60 80
บาลี 60 80บาลี 60 80
บาลี 60 80Rose Banioki
 
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
บาลี 04 80
บาลี 04 80บาลี 04 80
บาลี 04 80Rose Banioki
 

Similar to 14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf (20)

บาลี 31 80
บาลี 31 80บาลี 31 80
บาลี 31 80
 
3 31+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๕
3 31+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๕3 31+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๕
3 31+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๕
 
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
 
พระมหาชนก
พระมหาชนกพระมหาชนก
พระมหาชนก
 
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
 
-------------- --- 4
 -------------- --- 4 -------------- --- 4
-------------- --- 4
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
7 60+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๒
7 60+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๒7 60+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๒
7 60+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๒
 
บาลี 60 80
บาลี 60 80บาลี 60 80
บาลี 60 80
 
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
 
บาลี 04 80
บาลี 04 80บาลี 04 80
บาลี 04 80
 

More from maruay songtanin

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfmaruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 

14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๔ จัมเปยยจริยา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ในกาลที่เราเป็นพญานาคชื่อว่าจัมเปยยกะ มีฤทธิ์มาก แม้ในกาลนั้น เราเป็นผู้ประพฤติธรรม เพียบพร้อมด้วยศีลวัตร กายของเรานี้ จงแตกไป จงกระจัดกระจายอยู่ ณ ที่นี้ เหมือนแกลบกระจัดกระจาย อยู่ก็ตามเถิด เราไม่ควรทาลายศีล ฉะนี้ แล พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๓. จัมเปยยจริยา ว่าด้วยจริยาของจัมเปยยกนาคราช [๒๐] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นพญานาคชื่อว่าจัมเปยยกะ มีฤทธิ์มาก แม้ในกาลนั้น เราเป็น ผู้ประพฤติธรรม เพียบพร้อมด้วยศีลวัตร [๒๑] หมองูได้จับเราผู้ประพฤติธรรม รักษาอุโบสถ แล้วให้เล่นราอยู่ใกล้ประตูพระราชวัง [๒๒] หมองูนั้นคิดสีใด คือ สีเขียว สีเหลือง หรือสีแดง เราย่อมเปลี่ยนไปตามความคิดของเขา แปลงกายให้เหมือนที่เขาคิด [๒๓] เราได้เนรมิตบก(คือแผ่นดิน)ให้เป็นน้าบ้าง เนรมิตน้าให้เป็นบกบ้าง ถ้าเราโกรธเคืองต่อ หมองูนั้น ก็พึงทาเขาให้กลายเป็นเถ้าไปในพริบตา [๒๔] ถ้าเราจักเป็นไปตามอานาจจิต เราก็จักเสื่อมจากศีล เมื่อเราเสื่อมจากศีล ประโยชน์สูงสุด ก็จะไม่สาเร็จ [๒๕] กายของเรานี้ จงแตกไป จงกระจัดกระจายอยู่ ณ ที่นี้ เหมือนแกลบกระจัดกระจายอยู่ก็ ตามเถิด เราไม่ควรทาลายศีล ฉะนี้ แล จัมเปยยจริยาที่ ๓ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี ๓. จัมเปยยกจริยา อรรถกถาจัมเปยยนาคจริยาที่ ๓
  • 2. 2 มีเรื่องย่อว่า พระโพธิสัตว์ในกาลนั้นบังเกิดในนาคพิภพชื่อว่าจัมปา เป็นนาคราชชื่อว่าจัมเปยย ภะ มีฤทธิ์มากมีอานุภาพมาก. นาคราชนั้นครองนาคราชสมบัติอยู่ในนาคพิภพนั้น เสวยอิสสริยสมบัติ เช่นเดียวกับโภคสมบัติของเทวราช เพราะไม่มีโอกาสได้บาเพ็ญบารมี จึงดาริว่า ประโยชน์อะไรด้วยกาเนิด เดียรัจฉานนี้ เราจักเข้าอยู่ประจาอุโบสถ พ้นจากนี้ แล้วจักบาเพ็ญบารมีให้ดีทีเดียว. ตั้งแต่นั้นมาก็รักษาอุโบสถในปราสาทของตนนั่นเอง. นางนาคมาณวิกาแต่งตัวแล้วมาหาพระโพธิสัตว์. พระโพธิสัตว์ดาริว่า อยู่ที่ปราสาทนี้ จักเป็นอันตรายแก่ศีลของเรา จึงออกจากปราสาทไปอยู่ใน สวน. แม้ในสวนนั้นพวกนางนาคมาณวิกาก็มาหาอีก. พระโพธิสัตว์ดาริว่า ในสวนนี้ ศีลของเราก็จักเศร้าหมอง เราจักออกจากนาคพิภพนี้ ไปยัง มนุษยโลก แล้วอยู่จาอุโบสถ. ตั้งแต่นั้นมา พระโพธิสัตว์ก็ออกจากนาคพิภพในวันอุโบสถ สละร่างกายให้เป็นทานโดย อธิษฐานว่า ผู้ต้องการหนังเป็นต้นของเรา จงเอาหนังไปเถิด. หรือประสงค์จะเอาไปทากีฬางู ก็จงทาเถิด แล้วนอนขดขนดอยู่บนยอดจอมปลวก ใกล้ทางไม่ไกลบ้านชายแดนแห่งหนึ่ง อยู่ประจาอุโบสถในวัน ๑๔ ค่า และ ๑๕ ค่า. ในวันค่าหนึ่งจึงไปนาคพิภพ. เมื่อพระโพธิสัตว์รักษาอุโบสอยู่อย่างนี้ กาลเวลาล่วงไปยาวนาน. ลาดับนั้น อัครมเหสีชื่อสุมนา กล่าวกะพระโพธิสัตว์ว่า ข้าแต่พระองค์ พระองค์เสด็จไป มนุษยโลกเข้าจาอุโบสถ. ก็มนุษยโลกนั้นเต็มไปด้วยภัยอันตราย จึงประทับอยู่ ณ ฝั่งโบกขรณีอันเป็นมงคล ทรงบอกนิมิต ๓ ประการแก่นางสุมนาว่า แม่นางผู้เจริญ หากใครทาร้ายเราให้ลาบาก น้าในสระโบกขรณีนี้ จักขุ่น. หากครุฑจับ น้าจักเดือดพล่าน. หากหมองูจับ น้าจักมีสีแดง. แล้วอธิษฐานอุโบสถในวัน ๑๔ ค่า จึงออกจากนาคพิภพไปนอนบนยอดจอมปลวกนั้น ยังจอม ปลวกให้งดงามด้วยความงามของร่างพระโพธิสัตว์. เพราะร่างของพระโพธิสัตว์ขาว ดุจพวงเงิน. ยอดศีรษะ ดุจลูกคลีทาด้วยผ้ากัมพลสีแดง. ร่างกายประมาณหัวงอนไถ. เมื่อครั้งพระภูริทัตประมาณขาอ่อน. เมื่อครั้ง พระสังขปาละประมาณเรือโกลนลาหนึ่ง. ในกาลนั้น มาณพชาวกรุงพาราณสีคนหนึ่งไปเมื่องตักกสิลา เรียนมนต์อาลัมพายน์ คือมนต์ สะกดจิต เรียนจบแล้วก็กลับบ้านของตน มาตามทางนั้นเห็นพระมหาสัตว์ คิดว่า เรื่องอะไรที่เราจะกลับบ้าน มือเปล่า จับนาคนี้ ไปแสดงการเล่นในหมู่บ้านนิคมและราชธานี ก็จะได้ทรัพย์แล้วจึงค่อยไป ได้หยิบโอสถ ทิพย์ ร่ายทิพยมนต์เข้าไปหานาคราช. นาคราชตั้งแต่ได้ยินทิพยมนต์ ได้เป็นดุจซี่เหล็กร้อนยอนเข้าไปในหูของพระมหาสัตว์ดุจปลาย หงอนถูกขยี้. พระมหาสัตว์ยกศีรษะออกจากระหว่างขนดมองดูนั่น ใครหนอ เห็นหมองู จึงดาริว่า พิษของเรา แรงกล้า หากเราโกรธจักพ่นลมออกจากจมูก ร่างกายของหมองูนี้ ก็จะกระจุยกระจายดุจแกลบ. ทีนั้นศีลของ เราก็จะขาด เราจักไม่มองดูหมองูละ. พระมหาสัตว์หลับตาสอดศีรษะ เข้าไประหว่างขนด.
  • 3. 3 พราหมณ์หมองูเคี้ยวโอสถร่ายมนต์ พ่นน้าลายลงบนร่างของพระมหาสัตว์. ด้วยอานุภาพของโอสถและมนต์ ได้เป็นดุจพุพองผุดขึ้นในที่ที่น้าลายถูกต้อง. ลาดับนั้น พราหมณ์หมองูจึงจับที่หางฉุดออกมาให้นอนเหยียด เอาไม้ตีนแพะกดไว้ทาให้อ่อน กาลังแล้วจับศีรษะให้มั่น. พระมหาสัตว์อ้าปาก. หมองูจึงพ่นน้าลายลงในปากของพระมหาสัตว์ ทาลายฟัน ด้วยกาลังมนต์โอสถ. เลือดเต็มปาก. พระมหาสัตว์อดกลั้นทุกข์ถึงปานนี้ เพราะเกรงศีลของตนจะขาด จึงหลับตาไม่ทาแม้เพียงแลดู. หมองูนั้นคิดว่า เราทานาคราชให้หมดกาลังจึงขยาทั่วร่าง ดุจจะทาให้กระดูกตั้งแต่หางแหลก เหลว พันผ้าสาลี เอาด้ายมัด จับที่หาง เอาผ้าทุบ. โลหิตเปื้ อนทั่วร่างพระมหาสัตว์. พระมหาสัตว์อดกลั้นเวทนาอันสาหัส. ลาดับนั้น หมองูรู้ว่าพระมหาสัตว์หมดกาลัง จึงเอาเถาวัลย์ทาตะกร้า จับพระมหาสัตว์ใส่ลงใน ตะกร้านาไปยังบ้านชายแดน ให้เล่นกีฬาท่ามกลางมหาชน. พระมหาสัตว์ฟ้อนทาตามพราหมณ์ต้องการให้ทา ในสีมีสีเขียวเป็นต้น ในสัณฐานมีสี่เหลี่ยม เป็นต้น ในประมาณมีละเอียดและหยาบเป็นต้น. ทาพังพานร้อยหนึ่งบ้าง พันหนึ่งบ้าง. มหาชนชอบใจได้ให้ทรัพย์เป็นอันมาก. วันเดียวเท่านั้นได้กหาปณะพันหนึ่งและบริขารมีค่าพัน หนึ่ง. พราหมณ์คิดมาแต่ต้นแล้วว่า ได้ทรัพย์พันหนึ่งแล้วจะปล่อย. แต่ครั้นได้ทรัพย์นั้นแล้ว คิดว่าใน บ้านชายแดนเท่านั้น เรายังได้ทรัพย์ถึงเพียงนี้ เมื่อเราแสดงแก่พระราชาและมหาอามาตย์ของพระราชา จัก ได้ทรัพย์มากเพียงไร. จึงหาเกวียนและยานน้อยที่สบายบรรทุกบริขารลงในเกวียน ตนเองนั่งบนยานน้อยที่ สบาย คิดว่า เราจะให้พระมหาสัตว์เล่นกีฬาในบ้าน นิคมและราชธานี ด้วยบริวารอันใหญ่ ครั้นให้เล่นใน ราชสานักของพระเจ้าอุคคเสนะ ในกรุงพาราณสีแล้วก็จะปล่อย จึงได้เดินทางไป. พราหมณ์นั้นได้ฆ่ากบให้นาคราช. นาคราชไม่กินด้วยคิดว่า พราหมณ์จักฆ่ากบเพราะอาศัยเราบ่อยๆ. ทีนั้นพราหมณ์จึงให้น้าผึ้งและข้าวตอกแก่พระมหาสัตว์. พระมหาสัตว์ไม่กินแม้น้าผึ้งและ ข้าวตอกเหล่านั้นด้วยคิดว่า หากเราถือเอาอาหาร จักต้องตายภายในตะกร้านี้ แหละ. พราหมณ์ได้ไปถึงกรุงพาราณสีประมาณ ๑ เดือน ให้พระโพธิสัตว์เล่นกีฬาที่ประตูบ้านได้ทรัพย์ เป็นอันมาก. แม้พระราชาก็รับสั่งให้เรียกพราหมณ์นั้นมา ตรัสว่า จงให้เล่นกีฬาให้เราดู. พราหมณ์ทูลรับพระดารัสว่า ขอเดชะ ข้าพระองค์จะให้เล่นกีฬาถวายพระองค์ในวัน ๑๕ ค่า พระ เจ้าข้า. พระราชารับสั่งให้ตีกลองป่าวประกาศว่า พรุ่งนี้ นาคราชจักฟ้อนที่พระลานหลวง ขอให้มหาชน จงมาประชุมดูเถิด วันรุ่งขึ้นรับสั่งให้ตกแต่งพระลานหลวง แล้วตรัสเรียกหาพราหมณ์ให้เข้าเฝ้า. พราหมณ์จึง นาพระมหาสัตว์ในตะกร้าแก้วไปวางตะกร้าไว้ ณ ที่ลาดอันวิจิตรนั่งอยู่. พระราชาก็เสด็จลงจากปราสาทแวดล้อมด้วยมหาชนประทับนั่งเหนือราชอาสน์. พราหมณ์นา
  • 4. 4 พระมหาสัตว์ออกมาแล้วให้ฟ้อน. พระมหาสัตว์แสดงไปตามที่พราหมณ์คิดให้แสดง. มหาชนไม่อาจทรงภาวะของตนไว้ได้ ต่างยกผ้าพันผืนโบกไปมา แล้วฝนตกเบื้องบนพระมหา สัตว์. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงว่า เราช่วยจูงใจชนผู้เพ่งดูด้วยอาการที่หมองูคิดให้ทา. อานุภาพ ของเรามิใช่แสดงอาการตามที่หมองูคิดอย่างเดียว ที่แท้เราทาน้าให้เป็นบกบ้าง ทาบกให้เป็นน้าบ้าง. เรา สามารถทาแผ่นดินใหญ่อันเป็นบกให้เป็นน้าได้ สามารถทาแม้น้าให้เป็นแผ่นดินได้. อานุภาพใหญ่ด้วย ประการฉะนี้ . ถ้าเราจักเป็นไปในอานาจของจิต แม้ด้วยเหตุเพียงโกรธแล้วมองดูด้วยคิดว่า หมองูนี้ เบียดเบียน เราเหลือเกิน. คงไม่รู้จักอานุภาพของเรา. เอาละ เราจักแสดงอานุภาพของเราให้หมองูเห็นดังนี้ ทีนั้นหมองู ก็จักกระจุยกระจายดุจแกลบไปฉะนั้น. เราก็จักเสื่อมจากศีลตามที่เราได้สมาทานไว้. ก็เมื่อเราเสื่อมจากศีลมี ศีลขาด ประโยชน์อันใดที่เราปรารถนาไว้ตั้งแต่บาทมูลของพระทศพลพระนามว่าทีปังกร ประโยชน์อันสูงสุด คือความเป็นพระพุทธเจ้านั้นก็จะไม่สาเร็จ. พระมหาสัตว์อดอาหารตลอดกาลประมาณเท่านั้น. นางสุมนาแลดูสระโบกขรณีด้วยคิดว่า สามีของเราช้าเหลือเกิน จะมีเหตุอะไรหนอครั้นเห็นน้ามี สีแดงก็รู้ว่า สามีถูกหมองูจับจึงออกจากนาคพิภพไปใกล้จอมปลวกเห็นที่ที่พระมหาสัตว์ถูกจับและที่ที่ถูก ทรมาน จึงร้องไห้คร่าครวญไปยังบ้านชายแดนถาม ครั้นทราบเรื่องราวแล้วก็ไปกรุงพาราณสี ยืนร้องไห้อยู่ บนอากาศใกล้ประตูพระราชวัง. พระมหาสัตว์กาลังฟ้อนอยู่ แหงนสู่อากาศเห็นนางสุมนา จึงละอายเข้าตะกร้านอน. พระราชาในขณะที่พระโพธิสัตว์เข้าตะกร้า ทรงดาริว่า มีเหตุอะไรหนอ ประทับยืน ทอดพระเนตรดูข้างโน้นข้างนี้ ทรงเห็นนางสุมนายืนอยู่บนอากาศ ตรัสถามว่า ท่านเป็นใคร ครั้นทรงทราบ ว่า นางเป็นนาคกัญญา ทรงเข้าพระทัยว่า นาคราชคงเห็นนางนาคกัญญานี้ ละอายเข้าตะกร้าไปโดยไม่ต้อง สงสัย. ฤทธานุภาพตามที่ได้แสดงนี้ เป็นของนาคราชเท่านั้น มิใช่ของหมองู จึงตรัสถามว่า นาคราชนี้ มี อานุภาพมากถึงอย่างนี้ ตกไปสู่มือของพราหมณ์นี้ ได้อย่างไร ทรงสดับว่า นาคราชนี้ มีศีลประพฤติธรรมเข้า อยู่จาอุโบสถในวัน ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า มอบร่างกายของตัวให้เป็นทาน นอนอยู่บนยอดจอมปลวกใกล้ทางหลวง. ถูกหมองูจับในที่นั้น. นาคราชนี้ มีนาคกัญญาตั้งพันเปรียบด้วยนางเทพอัปสร สมบัติในนาคพิภพเช่นกับสมบัติในเทว โลก. นาคราชนี้ มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก สามารถพลิกแผ่นดินทั้งสิ้นได้. นาคราชคิดอย่างเดียวว่า ศีลของ เราจักขาด จึงยอมรับทุกข์อย่างรุนแรงเห็นปานนี้ . พระราชาทรงเกิดสังเวช ทันใดนั้นเองได้พระราชทานทรัพย์เป็นอันมาก ยศและความอิสระอย่าง ใหญ่หลวงแก่พราหมณ์ แล้วทรงให้ปล่อยด้วยพระดารัสว่า เอาเถิดท่านพราหมณ์ผู้เจริญขอท่านจงปล่อย นาคราชนี้ เถิด.
  • 5. 5 พระมหาสัตว์ยังเพศนาคให้หายไปกลายเพศเป็นมาณพ ปรากฏดุจเทพกุมาร. แม้นางสุมนาก็ลงจากอากาศยืนอยู่ใกล้กับพระโพธิสัตว์นั้นถวายบังคมพระราชาทูลว่า ข้าแต่ มหาราช ขอเชิญพระองค์เสด็จมาทอดพระเนตรที่อยู่ของข้าพระองค์เถิด. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า จัมเปยยกนาคราชพ้นออกมาแล้วจึงทูลกะพระราชาว่า ข้าแต่พระเจ้ากาสี ขอความนอบน้อมจง มีแด่พระองค์ ข้าแต่ท่านผู้ยังแคว้นกาสีให้เจริญขอความนอบน้อมจงมีแด่พระองค์ ข้าพระองค์ขอถวายบังคม แด่พระองค์ ขอพระองค์พึงเห็นนิเวศน์ของข้าพระองค์. พระราชาทรงอนุญาตให้พญานาคกลับไปยังนาคพิภพ. พระมหาสัตว์พาพระราชาพร้อมด้วยข้าราชบริพารไปยังนาคพิภพแสดงอิสสริยสมบัติของตน อยู่ ในนาคพิภพได้ ๒-๓ วันจึงให้ตีกลองป่าวประกาศว่า พวกข้าราชบริพารทั้งหมดจงถือเอาทรัพย์มีเงินและ ทองเป็นต้นตามความต้องการ. มอบทรัพย์ถวายพระราชา ๑๐๐ เล่มเกวียน. พระมหาสัตว์ถวายโอวาทด้วยราชธรรมกถา ๑๐ ประการ มีอาทิว่า ข้าแต่มหาราช ธรรมดา พระราชาควรทรงบริจาคทาน ควรรักษาศีล ควรจัดการรักษาป้องกันคุ้มครองเป็นธรรมในกิจทั้งปวงแล้วส่ง เสด็จกลับ. พระราชาเสด็จออกจากนาคพิภพด้วยพระยศอันใหญ่เสด็จถึงกรุงพาราณสี. ได้ยินว่า ตั้งแต่นั้นมาในพื้นชมพูทวีปมีเงินและทองเป็นอันมาก. พระมหาสัตว์รักษาศีลกระทาอุโบสถกรรมทุกกึ่งเดือน พร้อมด้วยบริษัทได้ไปบังเกิดบนสวรรค์. หมองูในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ . นางสุมนา คือมารดาพระราหุล. อุคคเสนะ คือพระสารีบุตร. จับเปยยกนาคราช คือพระโลกนาถ. จบอรรถกถาจัมเปยยนาคจริยาที่ ๓ -----------------------------------------------------