SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๕ จูฬโพธิจริยา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ในกาลที่เราเป็นปริพาชกชื่อว่าจูฬโพธิ มีศีลงาม เราเห็นภพโดยความเป็นของน่ากลัว จึงออกบวช
ความโกรธเกิดแก่อาตมา แต่ไม่ปล่อยออก อาตมาจะไม่ปล่อยออกตราบเท่าชีวิต อาตมาจะห้ามทันที
เหมือนฝนตกหนักห้ามเสียซึ่งธุลีฉะนั้นดังนี้ .
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๔. จูฬโพธิจริยา
ว่าด้วยจริยาของจูฬโพธิปริพาชก
[๒๖] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นปริพาชกชื่อว่าจูฬโพธิ มีศีลงาม เราเห็นภพโดยความเป็น
ของน่ากลัว จึงออกบวช
[๒๗] นางพราหมณี ผู้มีผิวพรรณดังทองคา ซึ่งเป็นภรรยาเก่าของเรา แม้นางมิได้อาลัยในวัฏฏะ
ออกบวชแล้ว
[๒๘] เราทั้ง ๒ ไม่มีความอาลัย ตัดขาดพวกพ้อง ไม่ห่วงใยในตระกูลและหมู่ญาติ เที่ยวไปยัง
บ้านและนิคม มาถึงกรุงพาราณสี
[๒๙] เราทั้ง ๒ อยู่ ณ ที่นั้น มีปัญญารักษาตน ไม่คลุกคลีกับสกุลกับคณะ เราทั้ง ๒ อยู่ในพระ
ราชอุทยานอันสงัดเงียบ ไม่พลุกพล่าน
[๓๐] พระราชาเสด็จทอดพระเนตรพระราชอุทยาน ได้ทอดพระเนตรเห็นนางพราหมณี จึงเสด็จ
เข้ามาหาเราแล้วตรัสถามว่า “นางพราหมณีคนนี้ เป็นอะไรกับท่าน เป็นภริยาของใคร”
[๓๑] เมื่อพระราชาตรัสถามอย่างนี้ เราได้ทูลพระองค์ดังนี้ ว่า “นางพราหมณีนี้ มิใช่ภริยาของอา
ตมภาพ แต่เป็นผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน มีศาสนาเดียวกัน”
[๓๒] พระราชาทรงกาหนัดหนักในนางพราหมณีนั้น จึงรับสั่งให้พวกราชบุรุษจับ ทรงบีบคั้นด้วย
กาลัง สั่งให้นาเข้าไปภายในนคร
[๓๓] เมื่อภรรยาเก่าของเราซึ่งเกิดร่วมกัน มีศาสนาเดียวกัน ถูกฉุดคร่าไป ความโกรธเกิดขึ้นแก่
เรา
[๓๔] เราระลึกถึงศีลวัตรได้พร้อมกับความโกรธที่เกิดขึ้น เราข่มความโกรธได้ ณ ที่นั้นเอง ไม่ให้
มันเจริญขึ้นไปอีก
2
[๓๕] ถ้าใครๆ พึงเอาหอกอันคมกริบแทงนางพราหมณีนั้น เราก็ไม่พึงทาลายศีลของเราเลย
เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณเท่านั้น
[๓๖] นางพราหมณีนั้นจะเป็นที่รังเกียจของเราก็หาไม่ และเราจะไม่มีกาลังก็หามิได้ แต่เพราะ
พระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา เพราะฉะนั้น เราจึงตามรักษาศีลไว้ ฉะนี้ แล
จูฬโพธิจริยาที่ ๔ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี
๔. จูฬโพธิจริยา
อรรถกถาจูฬโพธิจริยาที่ ๔
พระโพธิสัตว์เห็นภพมีกามภพเป็นต้น แม้ทั้งปวงปรากฏโดยเป็นของน่ากลัวในสังสารวัฏ ด้วย
การพิจารณาสังเวควัตถุ ๘ เหล่านี้ คือ ชาติชราพยาธิมรณะ อบายทุกข์. ทุกข์มีวัฏฏะเป็นมูลในอดีต ทุกข์มี
วัฏฏะเป็นมูลในอนาคต ทุกข์มีการแสวงหาอาหารเป็นมูลในปัจจุบัน. และเห็นเนกขัมมะแม้ ๓ อย่างนี้ คือ
นิพพาน ๑ สมถวิปัสสนาอันเป็นอุบายแห่งนิพพานนั้น ๑ และบรรพชาอันเป็นอุบายแห่งสมถวิปัสสนานั้น ๑
โดยเป็นปฏิปักษ์ต่อภพนั้นด้วยญาณจักษุอันสาเร็จด้วยการฟังเป็นต้น แล้วจึงออกจากความเป็นคฤหัสถ์อัน
อากูลด้วยโทษมากมาย ด้วยการบรรพชาเป็นดาบสแล้วจึงไป.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงถึงความไม่มีการผูกพันในการครองเรือนอย่างนี้ แล้ว บัดนี้
เมื่อทรงแสดงถึงความไม่มีแม้การผูกพันไรๆ ของบรรพชิต.
ในอดีตกาล ในภัทรกัปนี้ แหละ พระโพธิสัตว์จุติจากพรหมโลก บังเกิดเป็นบุตรของพราหมณ์ มี
สมบัติมากตระกูลหนึ่งในกาสิคามแห่งหนึ่ง. ครั้นถึงคราวตั้งชื่อ มารดาบิดาตั้งชื่อว่าโพธิกุมาร.
เมื่อโพธิกุมารเจริญวัย เขาไปสู่เมืองตักกสิลา เรียนศิลปะทุกสาขา เมื่อเขากลับมาทั้งๆ ที่เขาไม่
ปรารถนา มารดาบิดาได้นากุลสตรีที่มีชาติเสมอกันมาให้. แม้กุลสตรีนั้นก็จุติจากพรหมโลกเหมือนกัน มีรูป
งดงาม เปรียบด้วยเทพอัปสร.
แม้ทั้งสองไม่ปรารถนา มารดาบิดาก็ทาการอาวาหมงคลและวิวาหมงคลให้แก่กันและกัน ทั้ง
สองไม่เคยมีกิเลสร่วมกันเลย. แม้มองดูกันด้วยอานาจราคะก็มิได้มี. ไม่ต้องพูดถึงการร่วมเกี่ยวข้องกันละ.
ทั้งสองมีศีลบริสุทธิ์ด้วยประการฉะนี้ .
ครั้นต่อมา เมื่อมารดาบิดาถึงแก่กรรม พระโพธิสัตว์กระทาฌาปนกิจมารดาบิดาแล้วจึงเรียก
ภริยามากล่าวว่า นางผู้เจริญ แม่นางจงครองทรัพย์ ๘๐ โกฏิ เลี้ยงชีพให้สบายเถิด.
ภริยาถามว่า ท่านผู้เจริญ ก็ท่านเล่า.
พระมหาสัตว์ตอบว่า เราไม่ต้องการทรัพย์ เราจักบวช. นางถามว่า ก็การบวชไม่สมควรแม้แก่
สตรีหรือ. พระโพธิสัตว์ตอบว่า ควรซิแม่นาง.
นางตอบว่า ถ้าเช่นนั้น แม้ฉันก็ไม่ต้องการทรัพย์ ฉันจักบวชบ้าง.
3
ทั้งสองสละสมบัติทั้งหมดให้ทานเป็นการใหญ่ ออกจากเมืองเข้าป่าแล้วบวช เลี้ยงตัวด้วยผลาผล
ที่แสวงหามาได้อยู่ ๑๐ ปี ด้วยความสุขในการบวชนั่นเอง เที่ยวไปตามชนบทเพื่อต้องการเสพของมีรสเค็ม
และเปรี้ยว ถึงกรุงพาราณสีโดยลาดับ อาศัยอยู่ในพระราชอุทยาน.
อยู่มาวันหนึ่ง พระราชาเสด็จไปชมพระราชอุทยาน ครั้นเสด็จถึงที่ใกล้ดาบสดาบสินี [ผู้] ยัง
กาลเวลาให้น้อมไปด้วยความสุขในการบรรพชา ณ ข้างหนึ่งแห่งพระราชอุทยาน ทอดพระเนตรเห็นปริพาชิ
กามีรูปงดงามยิ่งนัก น่าเลื่อมใสอย่างยิ่ง มีพระทัยปฏิพัทธ์ด้วยอานาจกิเลส ตรัสถามพระโพธิสัตว์ว่า ปริพาชิ
กานี้ เป็นอะไรกับท่าน.
เมื่อพระโพธิสัตว์ทูลว่า มิได้เป็นอะไรกัน. เป็นบรรพชิต ร่วมบรรพชากันอย่างเดียว แต่เมื่อเป็น
คฤหัสถ์ได้เป็นภริยาของอาตมา.
พระราชาทรงดาริว่า ปริพาชิกานี้ มิได้เป็นอะไรกับพระโพธิสัตว์ แต่เมื่อครั้งเป็นคฤหัสถ์ได้เป็น
ภริยา. ถ้ากระไร เราจะนาปริพาชิกานี้ เข้าไปภายในเมือง. ด้วยเหตุนั้นแหละ เราจักรู้การปฏิบัติของปริพาชิ
กานี้ ต่อพระโพธิสัตว์.
พระราชาเป็นอันธพาล ไม่อาจห้ามจิตปฏิพัทธ์ของพระองค์ในปริพาชิกานั้นได้ จึงรับสั่งกะราช
บุรุษคนหนึ่งว่า จงนาปริพาชิกานี้ เข้าสู่ราชนิเวศน์.
ราชบุรุษรับพระบัญชาของพระราชาแล้ว กล่าวคามีอาทิว่า อธรรมย่อมเป็นไปในโลก ได้พาปริ
พาชิกาซึ่งคร่าครวญอยู่ไป.
พระโพธิสัตว์สดับเสียงคร่าครวญของปริพาชิกานั้นแลดูครั้งเดียวก็มิได้แลดูอีก คิดว่าหากว่าเรา
จักห้าม อันตรายจักมีแก่ศีลของเรา เพราะจิตประทุษร้ายต่อคนเหล่านั้น จึงนั่งราพึงถึงศีลบารมีอย่างเดียว.
คือพราหมณีนี้ ถึงจะเป็นภริยาเมื่อตอนอาตมาเป็นคฤหัสถ์ก็จริง แต่ตั้งแต่บวชแล้วมิใช่ภริยาของ
อาตมา. แม้อาตมาก็มิใช่สามีของนาง แต่ร่วมธรรม ร่วมคาสอนอันเดียวกันเท่านั้น. แม้อาตมาก็เป็น
ปริพาชก แม้หญิงนี้ ก็เป็นปริพาชิกา เพราะเหตุนั้นจึงมีธรรมเสมอกัน มีคาสอนร่วมกันด้วยคาสอนของ
ปริพาชก.
คือพราหมณีนี้ เป็นผู้มีศีล เป็นภริยาของท่านเมื่อครั้งเป็นคฤหัสถ์. ครั้นบวชแล้วเป็นน้องสาวเกิด
ร่วมโดยความเป็นเพื่อนพรหมจรรย์. พราหมณีนั้นถูกราชบุรุษฉุดเข้าไปโดยพลการต่อหน้าท่าน. ความโกรธ
ที่นอนเนื่องอยู่ช้านาน ได้ผุดขึ้นด้วยมานะของลูกผู้ชายว่า ดูก่อนโพธิพราหมณ์ ท่านเป็นลูกผู้ชายเสียเปล่า
ดังนี้ จะพลันเกิดขึ้นจากใจของเรา ดุจอสรพิษถูกบุรุษคนใดคนหนึ่งฉุดครูดออกจากปล่องจอมปลวกแผ่แม่
เบี้ยเสียงดังสุสุ ดังนี้ .
เพียงเมื่อความโกรธเกิดขึ้นนั่นเอง เราบริภาษตนว่า ดูก่อนโพธิปริพาชก ท่านบาเพ็ญบารมีทั้ง
ปวงประสงค์จะรู้แจ้งแทงตลอด พระสัพพัญญุตญาณมิใช่หรือ. อะไรกันนี่แม้เพียงศีลท่านยังเผอเรอได้. ความ
เผอเรอนี้ ย่อมเป็นดุจความที่โคทั้งหลายประสงค์จะไปยังฝั่งโน้นแห่งมหาสมุทรอันจมอยู่ในน้ากรดฉะนั้น
ในขณะนั้นเอง ข่มความโกรธไว้ได้ด้วยกาลังแห่งการพิจารณา ไม่ให้ความโกรธนั้นเจริญด้วยการเกิดขึ้นอีก.
พระราชาหรือใครๆ อื่นเอาหอกอันคมกริบแทงนางพราหมณีปริพาชิกานั้น. หากตัดให้เป็นชิ้นๆ
แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ เราก็ไม่พึงทาลายศีล คือศีลบารมีของตนเลย.
4
เพราะเหตุไร?
เพราะเหตุแห่งโพธิญาณเท่านั้น คือสามารถบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ด้วยศีลไม่ขาดในที่ทั้งปวง
มิใช่ด้วยเหตุนอกเหนือจากนี้ .
นางพราหมณีนั้นเป็นที่เกลียดชังของเราก็หามิได้ ไม่เป็นที่รักของเราก็หามิได้ โดยประการทั้ง
ปวง คือโดยชาติ ด้วยโคตร โดยประกาศของตระกูล โดยมารยาทและโดยคุณสมบัติมีบรรพชาเป็นต้นที่
สะสมมานาน ไม่มีอะไรที่จะทาให้เราไม่รักนางพราหมณีนี้ .
กาลังของเราจะไม่มีก็หามิได้ มีอยู่มากทีเดียว. เรามีกาลังดุจช้างสาร สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง
ปรารถนาอยู่สามารถจะลุกขึ้นฉับพลัน แล้วบดขยี้บุรุษที่ฉุดนางพราหมณีนั้น แล้วจับบุรุษนั้นไปยังที่ต้องการ
จะไปได้ ท่านแสดงไว้ดังนี้ .
ลาดับนั้น พระราชาไม่ทรงทาให้ชักช้าในพระราชอุทยานรีบเสด็จไปโดยเร็วเท่าที่จะเร็วได้ ตรัส
ให้เรียกนางปริพาชิกานั้นมาแล้วทรงมอบยศให้เป็นอันมาก.
นางปริพาชิกานั้นกล่าวถึงโทษของยศ คุณของบรรพชาและความที่ตนและพระโพธิสัตว์ละกอง
โภคสมบัติอันมหาศาล แล้วบวชด้วยความสังเวช.
พระราชา เมื่อไม่ทรงได้นางนั้นสมพระทัยโดยอุบายใดๆ จึงทรงดาริว่า ปริพาชิกาผู้นี้ มีศีล มี
กัลยาณธรรม แม้ปริพาชกนั้น เมื่อปริพาชิกานี้ ถูกฉุดนามาก็หามิได้แสดงอาการผิดปกติแต่อย่างใดเลย. ไม่
คานึงถึงอะไรทั้งหมด. การทาสิ่งผิดปกติในผู้มีคุณธรรมเห็นปานนี้ ไม่สมควรแก่เราเลย. เอาเถิด เราจะพา
ปริพาชิกานี้ ไปยังอุทยานแล้วขอขมาปริพาชิกานี้ และปริพาชกนั้น.
ครั้นพระราชาทรงดาริอย่างนี้ แล้วรับสั่งกะราชบุรุษว่า พวกเจ้าจงนาปริพาชิกานี้ มายังอุทยาน
พระองค์เองเสด็จไปก่อน ทรงเข้าไปหาพระโพธิสัตว์ตรัสถามว่า ท่านบรรพชิตผู้เจริญ เมื่อข้าพเจ้านาปริพาชิ
กานั้นไปพระคุณท่านโกรธหรือเปล่า.
พระมหาสัตว์ถวายพระพรว่า
ความโกรธเกิดแก่อาตมา แต่ไม่ปล่อยออก อาตมาจะไม่ปล่อยออกตราบเท่าชีวิต อาตมาจะห้าม
ทันที เหมือนฝนตกหนักห้ามเสียซึ่งธุลีฉะนั้นดังนี้ .
พระราชาครั้นสดับดังนั้นแล้วทรงดาริว่า ปริพาชกนี้ กล่าวหมายถึงความโกรธอย่างเดียว หรือ
อะไรอื่นมีศิลปะเป็นต้น จึงตรัสถามต่อไปว่า
อะไรเกิดแก่พระคุณท่าน พระคุณท่านไม่ปล่อย พระคุณท่านไม่ปล่อยอะไรตลอดชีวิต พระ
คุณท่านห้ามความโกรธนั้นอย่างไร ดุจฝนตกหนักห้ามธุลีฉะนั้นดังนี้ .
ลาดับนั้น พระมหาบุรุษเมื่อจะประกาศโทษของความโกรธ โดยประการต่างๆ แด่พระราชานั้น
จึงแสดงธรรมด้วยคาถาเหล่านี้ ว่า
เมื่อความโกรธใดเกิดขึ้น ย่อมไม่เห็นประโยชน์ เมื่อความโกรธไม่เกิดย่อมเห็นเป็นอย่างดี.
ความโกรธนั้นเป็นโคจรของคนไร้ปัญญาเกิดขึ้นแก่อาตมา อาตมาใช่ปล่อยออก.
เหล่าอมิตรผู้แสวงหาทุกข์ ย่อมยินดีด้วยความโกรธใดที่เกิดแล้ว ความโกรธนั้นเป็นโคจรของ
คนไร้ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมา อาตมาไม่ปล่อยออก.
5
อนึ่ง เมื่อความโกรธใดเกิดขึ้นบุคคลย่อมไม่รู้สึกถึงประโยชน์ตน ความโกรธนั้นเป็นโคจรของ
คนไร้ปัญญาเกิดขึ้นแก่อาตมา อาตมาไม่ปล่อยออก.
บุคคลถูกความโกรธใดครอบงา ย่อมละกุสลธรรม กาจัดประโยชน์แม้ในมูลออกไปเสีย.
มหาบพิตร ความโกรธนั้นเป็นเสนาของความน่ากลัว มีกาลังย่ายีสัตว์ อาตมาไม่ปล่อย
ออกไป.
เมื่อไม้ถูกสี ไฟย่อมเกิด. ไฟย่อมเผาไม้นั้น เพราะไฟเกิดแต่ไม้. เมื่อคนปัญญาอ่อน โง่ เซ่อ
ความโกรธย่อมเกิดเพราะความฉุนเฉียว คนพาลแม้นั้นก็ย่อมถูกความโกรธนั้นเผาผลาญ.
ความโกรธย่อมเจริญแก่ผู้ใด เหมือนไฟที่หญ้าและไม้ ยศของผู้นั้นย่อมเสื่อมเหมือนดวงจันทร์ใน
วันข้างแรมฉะนั้น.
ความโกรธของผู้ใดสงบ เหมือนไฟไม่มีเชื้อ ยศของผู้นั้นย่อมเต็มเปี่ยมเหมือนดวงจันทร์ในวัน
ข้างขึ้น.
พระราชาครั้นทรงสดับธรรมกถาของพระมหาสัตว์แล้ว ทรงขอขมาพระมหาบุรุษ แม้นางปริพาชิ
กาผู้มาจากพระราชวัง ตรัสว่า ขอพระคุณท่านทั้งสองเสวยสุขในการบรรพชาอยู่ในอุทยานนี้ เถิด. ข้าพเจ้าจัก
ทาการรักษา ป้องกัน คุ้มครองอันเป็นธรรมแก่พระคุณท่านทั้งสอง นมัสการแล้วเสด็จกลับ.
ปริพาชกและปริพาชิกาทั้งสองอาศัยอยู่ในพระราชอุทยานนั้นเอง.
ต่อมา นางปริพาชิกาได้ถึงแก่กรรม.
พระโพธิสัตว์เข้าไปยังป่าหิมพานต์ ยังฌานและอภิญญาให้เกิด เมื่อสิ้นอายุก็ได้ไปสู่พรหมโลก.
นางปริพาชิกาในครั้งนั้นได้เป็นมารดาพระราหุลในครั้งนี้ .
พระราชาคือพระอานนทเถระ.
โพธิปริพาชก คือพระโลกนาถ.
อนึ่ง พึงประกาศคุณานุภาพแห่งพระมหาบุรุษไว้ในที่นี้ มีอาทิอย่างนี้ คือ
การละกองโภคะใหญ่ และวงศ์ญาติใหญ่ ออกจากเรือน เช่นเดียวกับออกมหาภิเนษกรมณ์.
การออกไปอย่างนั้นแล้วตั้งใจเป็นบรรพชิตที่ชนเป็นอันมากสมมติ ไม่เกี่ยวข้องในตระกูลในคณะ
เพราะเป็นผู้มักน้อยเป็นอย่างยิ่ง.
ความยินดียิ่งในความสงัด เพราะรังเกียจลาภและสักการะ โดยส่วนเดียวเท่านั้น.
การประพฤติขัดเกลากิเลสอันเป็นความดียอดยิ่ง.
การนึกถึงศีลบารมีไม่แสดงความโกรธเคืองเมื่อนางปริพาชิกาผู้มีกัลยาณธรรมมีศีลถึงปานนั้น
ถูกราชบุรุษจับไปโดยพลการ ต่อหน้าตนซึ่งไม่ได้อนุญาต.
และเมื่อพระราชาทรงรู้พระองค์ว่า ทรงทาผิดจึงเสด็จเข้าไปหา การตั้งจิตบาเพ็ญประโยชน์และ
ถวายคาสั่งสอน ด้วยประโยชน์ในปัจจุบันและประโยชน์ในภพหน้า.
จบอรรถกถาจูฬโพธิจริยาที่ ๔
-----------------------------------------------------
6

More Related Content

Similar to 15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf

๑๔ โปสาลปัญหา.pdf
๑๔ โปสาลปัญหา.pdf๑๔ โปสาลปัญหา.pdf
๑๔ โปสาลปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdf25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
02 อกิตติจริยา มจร.pdf
02 อกิตติจริยา มจร.pdf02 อกิตติจริยา มจร.pdf
02 อกิตติจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
17 รุรุราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdf35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tongsamut vorasan
 
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕Rose Banioki
 
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdfmaruay songtanin
 

Similar to 15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf (19)

๑๔ โปสาลปัญหา.pdf
๑๔ โปสาลปัญหา.pdf๑๔ โปสาลปัญหา.pdf
๑๔ โปสาลปัญหา.pdf
 
25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdf25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdf
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
 
02 อกิตติจริยา มจร.pdf
02 อกิตติจริยา มจร.pdf02 อกิตติจริยา มจร.pdf
02 อกิตติจริยา มจร.pdf
 
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdf35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdf
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
 
จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2
 
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
 
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
 
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๕ จูฬโพธิจริยา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ในกาลที่เราเป็นปริพาชกชื่อว่าจูฬโพธิ มีศีลงาม เราเห็นภพโดยความเป็นของน่ากลัว จึงออกบวช ความโกรธเกิดแก่อาตมา แต่ไม่ปล่อยออก อาตมาจะไม่ปล่อยออกตราบเท่าชีวิต อาตมาจะห้ามทันที เหมือนฝนตกหนักห้ามเสียซึ่งธุลีฉะนั้นดังนี้ . พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๔. จูฬโพธิจริยา ว่าด้วยจริยาของจูฬโพธิปริพาชก [๒๖] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นปริพาชกชื่อว่าจูฬโพธิ มีศีลงาม เราเห็นภพโดยความเป็น ของน่ากลัว จึงออกบวช [๒๗] นางพราหมณี ผู้มีผิวพรรณดังทองคา ซึ่งเป็นภรรยาเก่าของเรา แม้นางมิได้อาลัยในวัฏฏะ ออกบวชแล้ว [๒๘] เราทั้ง ๒ ไม่มีความอาลัย ตัดขาดพวกพ้อง ไม่ห่วงใยในตระกูลและหมู่ญาติ เที่ยวไปยัง บ้านและนิคม มาถึงกรุงพาราณสี [๒๙] เราทั้ง ๒ อยู่ ณ ที่นั้น มีปัญญารักษาตน ไม่คลุกคลีกับสกุลกับคณะ เราทั้ง ๒ อยู่ในพระ ราชอุทยานอันสงัดเงียบ ไม่พลุกพล่าน [๓๐] พระราชาเสด็จทอดพระเนตรพระราชอุทยาน ได้ทอดพระเนตรเห็นนางพราหมณี จึงเสด็จ เข้ามาหาเราแล้วตรัสถามว่า “นางพราหมณีคนนี้ เป็นอะไรกับท่าน เป็นภริยาของใคร” [๓๑] เมื่อพระราชาตรัสถามอย่างนี้ เราได้ทูลพระองค์ดังนี้ ว่า “นางพราหมณีนี้ มิใช่ภริยาของอา ตมภาพ แต่เป็นผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน มีศาสนาเดียวกัน” [๓๒] พระราชาทรงกาหนัดหนักในนางพราหมณีนั้น จึงรับสั่งให้พวกราชบุรุษจับ ทรงบีบคั้นด้วย กาลัง สั่งให้นาเข้าไปภายในนคร [๓๓] เมื่อภรรยาเก่าของเราซึ่งเกิดร่วมกัน มีศาสนาเดียวกัน ถูกฉุดคร่าไป ความโกรธเกิดขึ้นแก่ เรา [๓๔] เราระลึกถึงศีลวัตรได้พร้อมกับความโกรธที่เกิดขึ้น เราข่มความโกรธได้ ณ ที่นั้นเอง ไม่ให้ มันเจริญขึ้นไปอีก
  • 2. 2 [๓๕] ถ้าใครๆ พึงเอาหอกอันคมกริบแทงนางพราหมณีนั้น เราก็ไม่พึงทาลายศีลของเราเลย เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณเท่านั้น [๓๖] นางพราหมณีนั้นจะเป็นที่รังเกียจของเราก็หาไม่ และเราจะไม่มีกาลังก็หามิได้ แต่เพราะ พระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา เพราะฉะนั้น เราจึงตามรักษาศีลไว้ ฉะนี้ แล จูฬโพธิจริยาที่ ๔ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี ๔. จูฬโพธิจริยา อรรถกถาจูฬโพธิจริยาที่ ๔ พระโพธิสัตว์เห็นภพมีกามภพเป็นต้น แม้ทั้งปวงปรากฏโดยเป็นของน่ากลัวในสังสารวัฏ ด้วย การพิจารณาสังเวควัตถุ ๘ เหล่านี้ คือ ชาติชราพยาธิมรณะ อบายทุกข์. ทุกข์มีวัฏฏะเป็นมูลในอดีต ทุกข์มี วัฏฏะเป็นมูลในอนาคต ทุกข์มีการแสวงหาอาหารเป็นมูลในปัจจุบัน. และเห็นเนกขัมมะแม้ ๓ อย่างนี้ คือ นิพพาน ๑ สมถวิปัสสนาอันเป็นอุบายแห่งนิพพานนั้น ๑ และบรรพชาอันเป็นอุบายแห่งสมถวิปัสสนานั้น ๑ โดยเป็นปฏิปักษ์ต่อภพนั้นด้วยญาณจักษุอันสาเร็จด้วยการฟังเป็นต้น แล้วจึงออกจากความเป็นคฤหัสถ์อัน อากูลด้วยโทษมากมาย ด้วยการบรรพชาเป็นดาบสแล้วจึงไป. พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงถึงความไม่มีการผูกพันในการครองเรือนอย่างนี้ แล้ว บัดนี้ เมื่อทรงแสดงถึงความไม่มีแม้การผูกพันไรๆ ของบรรพชิต. ในอดีตกาล ในภัทรกัปนี้ แหละ พระโพธิสัตว์จุติจากพรหมโลก บังเกิดเป็นบุตรของพราหมณ์ มี สมบัติมากตระกูลหนึ่งในกาสิคามแห่งหนึ่ง. ครั้นถึงคราวตั้งชื่อ มารดาบิดาตั้งชื่อว่าโพธิกุมาร. เมื่อโพธิกุมารเจริญวัย เขาไปสู่เมืองตักกสิลา เรียนศิลปะทุกสาขา เมื่อเขากลับมาทั้งๆ ที่เขาไม่ ปรารถนา มารดาบิดาได้นากุลสตรีที่มีชาติเสมอกันมาให้. แม้กุลสตรีนั้นก็จุติจากพรหมโลกเหมือนกัน มีรูป งดงาม เปรียบด้วยเทพอัปสร. แม้ทั้งสองไม่ปรารถนา มารดาบิดาก็ทาการอาวาหมงคลและวิวาหมงคลให้แก่กันและกัน ทั้ง สองไม่เคยมีกิเลสร่วมกันเลย. แม้มองดูกันด้วยอานาจราคะก็มิได้มี. ไม่ต้องพูดถึงการร่วมเกี่ยวข้องกันละ. ทั้งสองมีศีลบริสุทธิ์ด้วยประการฉะนี้ . ครั้นต่อมา เมื่อมารดาบิดาถึงแก่กรรม พระโพธิสัตว์กระทาฌาปนกิจมารดาบิดาแล้วจึงเรียก ภริยามากล่าวว่า นางผู้เจริญ แม่นางจงครองทรัพย์ ๘๐ โกฏิ เลี้ยงชีพให้สบายเถิด. ภริยาถามว่า ท่านผู้เจริญ ก็ท่านเล่า. พระมหาสัตว์ตอบว่า เราไม่ต้องการทรัพย์ เราจักบวช. นางถามว่า ก็การบวชไม่สมควรแม้แก่ สตรีหรือ. พระโพธิสัตว์ตอบว่า ควรซิแม่นาง. นางตอบว่า ถ้าเช่นนั้น แม้ฉันก็ไม่ต้องการทรัพย์ ฉันจักบวชบ้าง.
  • 3. 3 ทั้งสองสละสมบัติทั้งหมดให้ทานเป็นการใหญ่ ออกจากเมืองเข้าป่าแล้วบวช เลี้ยงตัวด้วยผลาผล ที่แสวงหามาได้อยู่ ๑๐ ปี ด้วยความสุขในการบวชนั่นเอง เที่ยวไปตามชนบทเพื่อต้องการเสพของมีรสเค็ม และเปรี้ยว ถึงกรุงพาราณสีโดยลาดับ อาศัยอยู่ในพระราชอุทยาน. อยู่มาวันหนึ่ง พระราชาเสด็จไปชมพระราชอุทยาน ครั้นเสด็จถึงที่ใกล้ดาบสดาบสินี [ผู้] ยัง กาลเวลาให้น้อมไปด้วยความสุขในการบรรพชา ณ ข้างหนึ่งแห่งพระราชอุทยาน ทอดพระเนตรเห็นปริพาชิ กามีรูปงดงามยิ่งนัก น่าเลื่อมใสอย่างยิ่ง มีพระทัยปฏิพัทธ์ด้วยอานาจกิเลส ตรัสถามพระโพธิสัตว์ว่า ปริพาชิ กานี้ เป็นอะไรกับท่าน. เมื่อพระโพธิสัตว์ทูลว่า มิได้เป็นอะไรกัน. เป็นบรรพชิต ร่วมบรรพชากันอย่างเดียว แต่เมื่อเป็น คฤหัสถ์ได้เป็นภริยาของอาตมา. พระราชาทรงดาริว่า ปริพาชิกานี้ มิได้เป็นอะไรกับพระโพธิสัตว์ แต่เมื่อครั้งเป็นคฤหัสถ์ได้เป็น ภริยา. ถ้ากระไร เราจะนาปริพาชิกานี้ เข้าไปภายในเมือง. ด้วยเหตุนั้นแหละ เราจักรู้การปฏิบัติของปริพาชิ กานี้ ต่อพระโพธิสัตว์. พระราชาเป็นอันธพาล ไม่อาจห้ามจิตปฏิพัทธ์ของพระองค์ในปริพาชิกานั้นได้ จึงรับสั่งกะราช บุรุษคนหนึ่งว่า จงนาปริพาชิกานี้ เข้าสู่ราชนิเวศน์. ราชบุรุษรับพระบัญชาของพระราชาแล้ว กล่าวคามีอาทิว่า อธรรมย่อมเป็นไปในโลก ได้พาปริ พาชิกาซึ่งคร่าครวญอยู่ไป. พระโพธิสัตว์สดับเสียงคร่าครวญของปริพาชิกานั้นแลดูครั้งเดียวก็มิได้แลดูอีก คิดว่าหากว่าเรา จักห้าม อันตรายจักมีแก่ศีลของเรา เพราะจิตประทุษร้ายต่อคนเหล่านั้น จึงนั่งราพึงถึงศีลบารมีอย่างเดียว. คือพราหมณีนี้ ถึงจะเป็นภริยาเมื่อตอนอาตมาเป็นคฤหัสถ์ก็จริง แต่ตั้งแต่บวชแล้วมิใช่ภริยาของ อาตมา. แม้อาตมาก็มิใช่สามีของนาง แต่ร่วมธรรม ร่วมคาสอนอันเดียวกันเท่านั้น. แม้อาตมาก็เป็น ปริพาชก แม้หญิงนี้ ก็เป็นปริพาชิกา เพราะเหตุนั้นจึงมีธรรมเสมอกัน มีคาสอนร่วมกันด้วยคาสอนของ ปริพาชก. คือพราหมณีนี้ เป็นผู้มีศีล เป็นภริยาของท่านเมื่อครั้งเป็นคฤหัสถ์. ครั้นบวชแล้วเป็นน้องสาวเกิด ร่วมโดยความเป็นเพื่อนพรหมจรรย์. พราหมณีนั้นถูกราชบุรุษฉุดเข้าไปโดยพลการต่อหน้าท่าน. ความโกรธ ที่นอนเนื่องอยู่ช้านาน ได้ผุดขึ้นด้วยมานะของลูกผู้ชายว่า ดูก่อนโพธิพราหมณ์ ท่านเป็นลูกผู้ชายเสียเปล่า ดังนี้ จะพลันเกิดขึ้นจากใจของเรา ดุจอสรพิษถูกบุรุษคนใดคนหนึ่งฉุดครูดออกจากปล่องจอมปลวกแผ่แม่ เบี้ยเสียงดังสุสุ ดังนี้ . เพียงเมื่อความโกรธเกิดขึ้นนั่นเอง เราบริภาษตนว่า ดูก่อนโพธิปริพาชก ท่านบาเพ็ญบารมีทั้ง ปวงประสงค์จะรู้แจ้งแทงตลอด พระสัพพัญญุตญาณมิใช่หรือ. อะไรกันนี่แม้เพียงศีลท่านยังเผอเรอได้. ความ เผอเรอนี้ ย่อมเป็นดุจความที่โคทั้งหลายประสงค์จะไปยังฝั่งโน้นแห่งมหาสมุทรอันจมอยู่ในน้ากรดฉะนั้น ในขณะนั้นเอง ข่มความโกรธไว้ได้ด้วยกาลังแห่งการพิจารณา ไม่ให้ความโกรธนั้นเจริญด้วยการเกิดขึ้นอีก. พระราชาหรือใครๆ อื่นเอาหอกอันคมกริบแทงนางพราหมณีปริพาชิกานั้น. หากตัดให้เป็นชิ้นๆ แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ เราก็ไม่พึงทาลายศีล คือศีลบารมีของตนเลย.
  • 4. 4 เพราะเหตุไร? เพราะเหตุแห่งโพธิญาณเท่านั้น คือสามารถบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ด้วยศีลไม่ขาดในที่ทั้งปวง มิใช่ด้วยเหตุนอกเหนือจากนี้ . นางพราหมณีนั้นเป็นที่เกลียดชังของเราก็หามิได้ ไม่เป็นที่รักของเราก็หามิได้ โดยประการทั้ง ปวง คือโดยชาติ ด้วยโคตร โดยประกาศของตระกูล โดยมารยาทและโดยคุณสมบัติมีบรรพชาเป็นต้นที่ สะสมมานาน ไม่มีอะไรที่จะทาให้เราไม่รักนางพราหมณีนี้ . กาลังของเราจะไม่มีก็หามิได้ มีอยู่มากทีเดียว. เรามีกาลังดุจช้างสาร สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง ปรารถนาอยู่สามารถจะลุกขึ้นฉับพลัน แล้วบดขยี้บุรุษที่ฉุดนางพราหมณีนั้น แล้วจับบุรุษนั้นไปยังที่ต้องการ จะไปได้ ท่านแสดงไว้ดังนี้ . ลาดับนั้น พระราชาไม่ทรงทาให้ชักช้าในพระราชอุทยานรีบเสด็จไปโดยเร็วเท่าที่จะเร็วได้ ตรัส ให้เรียกนางปริพาชิกานั้นมาแล้วทรงมอบยศให้เป็นอันมาก. นางปริพาชิกานั้นกล่าวถึงโทษของยศ คุณของบรรพชาและความที่ตนและพระโพธิสัตว์ละกอง โภคสมบัติอันมหาศาล แล้วบวชด้วยความสังเวช. พระราชา เมื่อไม่ทรงได้นางนั้นสมพระทัยโดยอุบายใดๆ จึงทรงดาริว่า ปริพาชิกาผู้นี้ มีศีล มี กัลยาณธรรม แม้ปริพาชกนั้น เมื่อปริพาชิกานี้ ถูกฉุดนามาก็หามิได้แสดงอาการผิดปกติแต่อย่างใดเลย. ไม่ คานึงถึงอะไรทั้งหมด. การทาสิ่งผิดปกติในผู้มีคุณธรรมเห็นปานนี้ ไม่สมควรแก่เราเลย. เอาเถิด เราจะพา ปริพาชิกานี้ ไปยังอุทยานแล้วขอขมาปริพาชิกานี้ และปริพาชกนั้น. ครั้นพระราชาทรงดาริอย่างนี้ แล้วรับสั่งกะราชบุรุษว่า พวกเจ้าจงนาปริพาชิกานี้ มายังอุทยาน พระองค์เองเสด็จไปก่อน ทรงเข้าไปหาพระโพธิสัตว์ตรัสถามว่า ท่านบรรพชิตผู้เจริญ เมื่อข้าพเจ้านาปริพาชิ กานั้นไปพระคุณท่านโกรธหรือเปล่า. พระมหาสัตว์ถวายพระพรว่า ความโกรธเกิดแก่อาตมา แต่ไม่ปล่อยออก อาตมาจะไม่ปล่อยออกตราบเท่าชีวิต อาตมาจะห้าม ทันที เหมือนฝนตกหนักห้ามเสียซึ่งธุลีฉะนั้นดังนี้ . พระราชาครั้นสดับดังนั้นแล้วทรงดาริว่า ปริพาชกนี้ กล่าวหมายถึงความโกรธอย่างเดียว หรือ อะไรอื่นมีศิลปะเป็นต้น จึงตรัสถามต่อไปว่า อะไรเกิดแก่พระคุณท่าน พระคุณท่านไม่ปล่อย พระคุณท่านไม่ปล่อยอะไรตลอดชีวิต พระ คุณท่านห้ามความโกรธนั้นอย่างไร ดุจฝนตกหนักห้ามธุลีฉะนั้นดังนี้ . ลาดับนั้น พระมหาบุรุษเมื่อจะประกาศโทษของความโกรธ โดยประการต่างๆ แด่พระราชานั้น จึงแสดงธรรมด้วยคาถาเหล่านี้ ว่า เมื่อความโกรธใดเกิดขึ้น ย่อมไม่เห็นประโยชน์ เมื่อความโกรธไม่เกิดย่อมเห็นเป็นอย่างดี. ความโกรธนั้นเป็นโคจรของคนไร้ปัญญาเกิดขึ้นแก่อาตมา อาตมาใช่ปล่อยออก. เหล่าอมิตรผู้แสวงหาทุกข์ ย่อมยินดีด้วยความโกรธใดที่เกิดแล้ว ความโกรธนั้นเป็นโคจรของ คนไร้ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมา อาตมาไม่ปล่อยออก.
  • 5. 5 อนึ่ง เมื่อความโกรธใดเกิดขึ้นบุคคลย่อมไม่รู้สึกถึงประโยชน์ตน ความโกรธนั้นเป็นโคจรของ คนไร้ปัญญาเกิดขึ้นแก่อาตมา อาตมาไม่ปล่อยออก. บุคคลถูกความโกรธใดครอบงา ย่อมละกุสลธรรม กาจัดประโยชน์แม้ในมูลออกไปเสีย. มหาบพิตร ความโกรธนั้นเป็นเสนาของความน่ากลัว มีกาลังย่ายีสัตว์ อาตมาไม่ปล่อย ออกไป. เมื่อไม้ถูกสี ไฟย่อมเกิด. ไฟย่อมเผาไม้นั้น เพราะไฟเกิดแต่ไม้. เมื่อคนปัญญาอ่อน โง่ เซ่อ ความโกรธย่อมเกิดเพราะความฉุนเฉียว คนพาลแม้นั้นก็ย่อมถูกความโกรธนั้นเผาผลาญ. ความโกรธย่อมเจริญแก่ผู้ใด เหมือนไฟที่หญ้าและไม้ ยศของผู้นั้นย่อมเสื่อมเหมือนดวงจันทร์ใน วันข้างแรมฉะนั้น. ความโกรธของผู้ใดสงบ เหมือนไฟไม่มีเชื้อ ยศของผู้นั้นย่อมเต็มเปี่ยมเหมือนดวงจันทร์ในวัน ข้างขึ้น. พระราชาครั้นทรงสดับธรรมกถาของพระมหาสัตว์แล้ว ทรงขอขมาพระมหาบุรุษ แม้นางปริพาชิ กาผู้มาจากพระราชวัง ตรัสว่า ขอพระคุณท่านทั้งสองเสวยสุขในการบรรพชาอยู่ในอุทยานนี้ เถิด. ข้าพเจ้าจัก ทาการรักษา ป้องกัน คุ้มครองอันเป็นธรรมแก่พระคุณท่านทั้งสอง นมัสการแล้วเสด็จกลับ. ปริพาชกและปริพาชิกาทั้งสองอาศัยอยู่ในพระราชอุทยานนั้นเอง. ต่อมา นางปริพาชิกาได้ถึงแก่กรรม. พระโพธิสัตว์เข้าไปยังป่าหิมพานต์ ยังฌานและอภิญญาให้เกิด เมื่อสิ้นอายุก็ได้ไปสู่พรหมโลก. นางปริพาชิกาในครั้งนั้นได้เป็นมารดาพระราหุลในครั้งนี้ . พระราชาคือพระอานนทเถระ. โพธิปริพาชก คือพระโลกนาถ. อนึ่ง พึงประกาศคุณานุภาพแห่งพระมหาบุรุษไว้ในที่นี้ มีอาทิอย่างนี้ คือ การละกองโภคะใหญ่ และวงศ์ญาติใหญ่ ออกจากเรือน เช่นเดียวกับออกมหาภิเนษกรมณ์. การออกไปอย่างนั้นแล้วตั้งใจเป็นบรรพชิตที่ชนเป็นอันมากสมมติ ไม่เกี่ยวข้องในตระกูลในคณะ เพราะเป็นผู้มักน้อยเป็นอย่างยิ่ง. ความยินดียิ่งในความสงัด เพราะรังเกียจลาภและสักการะ โดยส่วนเดียวเท่านั้น. การประพฤติขัดเกลากิเลสอันเป็นความดียอดยิ่ง. การนึกถึงศีลบารมีไม่แสดงความโกรธเคืองเมื่อนางปริพาชิกาผู้มีกัลยาณธรรมมีศีลถึงปานนั้น ถูกราชบุรุษจับไปโดยพลการ ต่อหน้าตนซึ่งไม่ได้อนุญาต. และเมื่อพระราชาทรงรู้พระองค์ว่า ทรงทาผิดจึงเสด็จเข้าไปหา การตั้งจิตบาเพ็ญประโยชน์และ ถวายคาสั่งสอน ด้วยประโยชน์ในปัจจุบันและประโยชน์ในภพหน้า. จบอรรถกถาจูฬโพธิจริยาที่ ๔ -----------------------------------------------------
  • 6. 6