SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๖ มหิสราชจริยา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ลิงนี้ จะสาคัญสัตว์อื่นเป็นเหมือนเรา จักทาอย่างนี้ แม้แก่สัตว์อื่นบ้าง. สัตว์เหล่านั้นจักฆ่าลิงนั้น
เสีย. ความตายของลิงนั้นจักเป็นอันพ้นเราไปดังนี้ .
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๕. มหิสราชจริยา
ว่าด้วยจริยาของพญากระบือ
[๓๗] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นกระบือ เที่ยวอยู่ในป่าใหญ่ มีกายอ้วนพี มีกาลังมาก ใหญ่โต
ดูน่ากลัว
[๓๘] พื้นที่แห่งใดแห่งหนึ่งในป่านี้ อันเป็นที่อยู่ของฝูงกระบือ มีอยู่ที่เงื้อมภูเขาก็ดี ที่ซอกภูเขาก็
ดี ที่โคนต้นไม้ก็ดี ที่ใกล้บึงก็ดี
[๓๙] เราเที่ยวไปในที่นั้นๆ เมื่อเราเที่ยวไปในป่าใหญ่ ได้เห็นสถานที่อันเจริญ เราจึงเข้าไปยังที่
นั้น แล้วยืนพักอยู่และนอนอยู่
[๔๐] ครั้งนั้น ลิงป่าตัวชั่วร้าย ไม่เจริญ ลอกแลก มาที่นั้น ถ่ายปัสสาวอุจจาระรดที่คอ ที่
หน้าผาก ที่คิ้ว
[๔๑] ย่อมเบียดเบียนเราวันแรกครั้งหนึ่ง วันที่ ๒ วันที่ ๓ วันที่ ๔ ก็วันละครั้ง เราจึงถูกลิงนั้น
เบียดเบียนตลอดกาลทั้งปวง
[๔๒] ยักษ์(เทวดา)เห็นเราถูกลิงเบียดเบียนได้กล่าวกับเราดังนี้ ว่า “ท่านจงทาลิงชั่วช้าลามกตัว
นี้ ให้ฉิบหายด้วยเขาและกีบเสียเถิด”
[๔๓] เมื่อยักษ์กล่าวอย่างนี้ ในครั้งนั้นแล้ว เราได้ตอบยักษ์นั้นว่า “เหตุไร ท่านจะให้เราเปื้ อน
ซากศพอันลามกไม่เจริญเล่า”
[๔๔] ถ้าเราพึงโกรธต่อลิงนั้น เราก็จะพึงเลวกว่ามัน ศีลของเราจะพึงขาด และวิญญูชนทั้งหลาย
ก็จะพึงติเตียนเรา
[๔๕] เราเป็นผู้บริสุทธิ์ ตายเสียยังประเสริฐกว่าความเป็นอยู่ที่น่าติเตียน เราจักเบียดเบียนผู้อื่น
แม้เพราะเหตุแห่งชีวิตได้อย่างไร
2
[๔๖] ลิงนี้ ดูหมิ่นเราได้อย่างนี้ ก็จักกระทาแม้แก่ผู้อื่นอย่างนี้ เขาก็จักฆ่ามันเสีย เราก็จักรอดตัว
ไป
[๔๗] บุคคลผู้มีปัญญา อดกลั้นคาดูหมิ่นในเพราะคาของคนเลว คนปานกลาง และคนชั้นสูง
ย่อมได้สิ่งตามที่ใจปรารถนาอย่างนี้ ฉะนี้ แล
มหิสราชจริยาที่ ๕ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี
๕. มหิสราชจริยา
อรรถกถามหิสราชจริยาที่ ๕
ได้ยินว่า ในกาลนั้นพระโพธิสัตว์ บังเกิดในกาเนิดกระบือในหิมวันตประเทศ ครั้นเจริญวัย
สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรงมีร่างใหญ่ประมาณเท่าช้างหนุ่มเที่ยวไปตามเชิงเขา เงื้อมเขา ซอกเขา ป่าและห้วยเป็น
ต้น เห็นโคนต้นไม้ใหญ่น่าสบายต้นหนึ่ง หาอาหารแล้วก็มาอาศัยอยู่ที่โคนต้นไม้นั้นในเวลากลางวัน.
ครั้งนั้น มีลิงลามกตัวหนึ่งลงจากต้นไม้ขึ้นหลังพระมหาสัตว์ ถ่ายอุจจาระปัสสาวะรด จับเขาโหน
ตัว จับหางเล่นห้อยโหน.
พระโพธิสัตว์ไม่สนใจการทาอนาจารของลิงนั้น เพราะถึงพร้อมด้วยขันติ เมตตาและความเอ็นดู.
ลิงยิ่งกาเริบทาอย่างนั้นบ่อยๆ.
อธิบายว่า เราถูกลิงนั้นเบียดเบียนด้วยการห้อยโหนเป็นต้นที่เขา ด้วยการเอาของสกปรกมี
ปัสสาวะเป็นต้นมา และด้วยรดน้าปนเปือกตมและฝุ่นล้างหลายครั้งที่ปลายเขา และปลายหางเพื่อนาสิ่ง
สกปรกออก.
เทวดาที่สิงสถิตอยู่บนต้นไม้ เมื่อจะประกาศเนื้ อความนี้ ว่า
ท่านมหิสราช เพราะเหตุไร ท่านจึงอดทนความดูแคลนของลิงชั่วนี้ อยู่ได้ จึงได้กล่าวคานี้ กะเรา
ว่า ท่านจงยังลิงลามกตัวนี้ ให้ฉิบหายเสียด้วยเขาและกีบเถิด.
เราได้กล่าวตอบกะเทวดานั้นผู้กล่าวอยู่.
ท่านเทวดาเพราะเหตุไรท่านจึงดูแคลนเราด้วยสิ่งอันไม่เจริญ เพราะเป็นธรรมของคนเลวมี
พรานเนื้ อเป็นต้น ผู้ไม่เจริญไม่ใช่คนดี ถ้อยคาที่ท่านกล่าวชักชวนเราในความชั่วนั้นไม่สมควรเลย.
บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงประกาศโทษในธรรมอันลามกนั้น จึงตรัสพระดารัส
ดังต่อไปนี้
ท่านเทวดาผู้เจริญ ผิว่าเราโกรธลิงนั้น เราก็เลวกว่ามัน เพราะลิงนั้นเป็นลิงพาล เป็นลิงเลว ด้วย
ไม่ประพฤติธรรม. หากเราพึงประพฤติธรรมลามกอันมีกาลังกว่าลิงนั้น เราก็จะพึงเป็นผู้ลามกกว่าลิงนั้น
ด้วยเหตุนั้นมิใช่หรือ. ข้อที่เรารู้โลกนี้ โลกหน้าอย่างดียิ่ง แล้วดารงอยู่ได้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่นโดยส่วน
เดียวเท่านั้น พึงประพฤติธรรมลามกเห็นปานนั้นมิใช่ฐานะที่จะมีได้.
3
มีอะไรยิ่งไปกว่านั้นอีก. มีซิ.
ศีลของเราก็จะพึงแตก คือเราพึงทาความลามกเห็นปานนั้น. ศีลบารมีของเราจะพึงแตก.
เทวดาและมนุษย์ผู้เป็นบัณฑิตจะพึงติเตียนเราได้ว่า พ่อแม่พี่น้องทั้งหลายจงดูพระโพธิสัตว์นี้
เที่ยวแสวงหาโพธิญาณ ได้ทาความชั่วเห็นปานนี้ แล้ว.
ตายด้วยความบริสุทธิ์ คือเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ยังประเสริฐ อุดมดีกว่ามีชีวิตอยู่ ถูกวิญญูชน
ทั้งหลายติฉินนินทาด้วยประการฉะนี้ .
เราจักเบียดเบียนผู้อื่นแม้เพราะเหตุแห่งชีวิตเล่า คือเมื่อเรารู้อยู่อย่างนี้ เราจักทาการ
เบียดเบียนสัตว์อื่น เอาชีวิตของเราเป็นเดิมพันได้อย่างไรเล่า.
อธิบายว่า ไม่มีเหตุในการทาความเบียดเบียนนี้ .
กระบือกล่าวว่า ลิงนี้ สาคัญสัตว์อื่นว่าเป็นเหมือนเรา จักทาอนาจารอย่างนี้ . แต่นั้นกระบือที่ดุจัก
ฆ่าลิงที่ทาไปอย่างนั้นเสีย. การตายของลิงนี้ ด้วยสัตว์อื่น จักเป็นอันพ้นจากทุกข์และจากการฆ่าสัตว์ของเรา.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ลิงนี้ จะสาคัญสัตว์อื่นเป็นเหมือนเรา จักทาอย่างนี้ แม้แก่สัตว์อื่นบ้าง. สัตว์เหล่านั้นจักฆ่าลิงนั้น
เสีย. ความตายของลิงนั้นจักเป็นอันพ้นเราไปดังนี้ .
คนมีปัญญามิได้ทาการจาแนกในคนเลวเป็นต้นอย่างนี้ เข้าไปตั้งขันติ เมตตาและความเอ็นดูไว้
อดกลั้นความผิดนั้น เพิ่มพูนศีลบารมีเป็นต้น ย่อมได้คือแทงตลอดสัพพัญญุตญาณ ตามใจปรารถนาคือตาม
ต้องการ ความปรารถนาของเขานั้นอยู่ไม่ไกลนัก ด้วยประการฉะนี้ .
พระมหาสัตว์เมื่อจะประกาศอัธยาศัยของตนอย่างนี้ จึงแสดงธรรมแก่เทวดา.
กระบือนั้นล่วงไป ๒-๓ วันก็ได้ไปที่อื่น. กระบือดุตัวอื่นได้ไปตั้งหลักฐานอยู่ ณ ที่นั้นเพราะเป็นที่
อยู่สบาย. ลิงชั่วสาคัญว่ากระบือตัวนี้ ก็คือกระบือตัวนั้นนั่นเองจึงขึ้นหลังกระบือดุนั้น แล้วได้ทาอนาจารในที่
นั้นอย่างเดียวกัน. กระบือดุตัวนั้นจึงสลัดลิงให้ตกลงบนพื้นดินเอาเขาขวิดที่หัวใจ เอาเท้าเหยียบจนแหลก
เหลวไป.
มหิสราชในครั้งนั้น คือพระโลกนาถในครั้งนี้ .
จบอรรถกถามหิสราชจริยาที่ ๕
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 16 มหิสราชจริยา มจร.pdf

13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf
03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf
03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdfmaruay songtanin
 
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
02 อกิตติจริยา มจร.pdf
02 อกิตติจริยา มจร.pdf02 อกิตติจริยา มจร.pdf
02 อกิตติจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 

Similar to 16 มหิสราชจริยา มจร.pdf (7)

13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
 
03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf
03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf
03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf
 
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
 
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
 
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
 
02 อกิตติจริยา มจร.pdf
02 อกิตติจริยา มจร.pdf02 อกิตติจริยา มจร.pdf
02 อกิตติจริยา มจร.pdf
 
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
 

More from maruay songtanin

010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...maruay songtanin
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfmaruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

16 มหิสราชจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๖ มหิสราชจริยา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ลิงนี้ จะสาคัญสัตว์อื่นเป็นเหมือนเรา จักทาอย่างนี้ แม้แก่สัตว์อื่นบ้าง. สัตว์เหล่านั้นจักฆ่าลิงนั้น เสีย. ความตายของลิงนั้นจักเป็นอันพ้นเราไปดังนี้ . พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๕. มหิสราชจริยา ว่าด้วยจริยาของพญากระบือ [๓๗] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นกระบือ เที่ยวอยู่ในป่าใหญ่ มีกายอ้วนพี มีกาลังมาก ใหญ่โต ดูน่ากลัว [๓๘] พื้นที่แห่งใดแห่งหนึ่งในป่านี้ อันเป็นที่อยู่ของฝูงกระบือ มีอยู่ที่เงื้อมภูเขาก็ดี ที่ซอกภูเขาก็ ดี ที่โคนต้นไม้ก็ดี ที่ใกล้บึงก็ดี [๓๙] เราเที่ยวไปในที่นั้นๆ เมื่อเราเที่ยวไปในป่าใหญ่ ได้เห็นสถานที่อันเจริญ เราจึงเข้าไปยังที่ นั้น แล้วยืนพักอยู่และนอนอยู่ [๔๐] ครั้งนั้น ลิงป่าตัวชั่วร้าย ไม่เจริญ ลอกแลก มาที่นั้น ถ่ายปัสสาวอุจจาระรดที่คอ ที่ หน้าผาก ที่คิ้ว [๔๑] ย่อมเบียดเบียนเราวันแรกครั้งหนึ่ง วันที่ ๒ วันที่ ๓ วันที่ ๔ ก็วันละครั้ง เราจึงถูกลิงนั้น เบียดเบียนตลอดกาลทั้งปวง [๔๒] ยักษ์(เทวดา)เห็นเราถูกลิงเบียดเบียนได้กล่าวกับเราดังนี้ ว่า “ท่านจงทาลิงชั่วช้าลามกตัว นี้ ให้ฉิบหายด้วยเขาและกีบเสียเถิด” [๔๓] เมื่อยักษ์กล่าวอย่างนี้ ในครั้งนั้นแล้ว เราได้ตอบยักษ์นั้นว่า “เหตุไร ท่านจะให้เราเปื้ อน ซากศพอันลามกไม่เจริญเล่า” [๔๔] ถ้าเราพึงโกรธต่อลิงนั้น เราก็จะพึงเลวกว่ามัน ศีลของเราจะพึงขาด และวิญญูชนทั้งหลาย ก็จะพึงติเตียนเรา [๔๕] เราเป็นผู้บริสุทธิ์ ตายเสียยังประเสริฐกว่าความเป็นอยู่ที่น่าติเตียน เราจักเบียดเบียนผู้อื่น แม้เพราะเหตุแห่งชีวิตได้อย่างไร
  • 2. 2 [๔๖] ลิงนี้ ดูหมิ่นเราได้อย่างนี้ ก็จักกระทาแม้แก่ผู้อื่นอย่างนี้ เขาก็จักฆ่ามันเสีย เราก็จักรอดตัว ไป [๔๗] บุคคลผู้มีปัญญา อดกลั้นคาดูหมิ่นในเพราะคาของคนเลว คนปานกลาง และคนชั้นสูง ย่อมได้สิ่งตามที่ใจปรารถนาอย่างนี้ ฉะนี้ แล มหิสราชจริยาที่ ๕ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี ๕. มหิสราชจริยา อรรถกถามหิสราชจริยาที่ ๕ ได้ยินว่า ในกาลนั้นพระโพธิสัตว์ บังเกิดในกาเนิดกระบือในหิมวันตประเทศ ครั้นเจริญวัย สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรงมีร่างใหญ่ประมาณเท่าช้างหนุ่มเที่ยวไปตามเชิงเขา เงื้อมเขา ซอกเขา ป่าและห้วยเป็น ต้น เห็นโคนต้นไม้ใหญ่น่าสบายต้นหนึ่ง หาอาหารแล้วก็มาอาศัยอยู่ที่โคนต้นไม้นั้นในเวลากลางวัน. ครั้งนั้น มีลิงลามกตัวหนึ่งลงจากต้นไม้ขึ้นหลังพระมหาสัตว์ ถ่ายอุจจาระปัสสาวะรด จับเขาโหน ตัว จับหางเล่นห้อยโหน. พระโพธิสัตว์ไม่สนใจการทาอนาจารของลิงนั้น เพราะถึงพร้อมด้วยขันติ เมตตาและความเอ็นดู. ลิงยิ่งกาเริบทาอย่างนั้นบ่อยๆ. อธิบายว่า เราถูกลิงนั้นเบียดเบียนด้วยการห้อยโหนเป็นต้นที่เขา ด้วยการเอาของสกปรกมี ปัสสาวะเป็นต้นมา และด้วยรดน้าปนเปือกตมและฝุ่นล้างหลายครั้งที่ปลายเขา และปลายหางเพื่อนาสิ่ง สกปรกออก. เทวดาที่สิงสถิตอยู่บนต้นไม้ เมื่อจะประกาศเนื้ อความนี้ ว่า ท่านมหิสราช เพราะเหตุไร ท่านจึงอดทนความดูแคลนของลิงชั่วนี้ อยู่ได้ จึงได้กล่าวคานี้ กะเรา ว่า ท่านจงยังลิงลามกตัวนี้ ให้ฉิบหายเสียด้วยเขาและกีบเถิด. เราได้กล่าวตอบกะเทวดานั้นผู้กล่าวอยู่. ท่านเทวดาเพราะเหตุไรท่านจึงดูแคลนเราด้วยสิ่งอันไม่เจริญ เพราะเป็นธรรมของคนเลวมี พรานเนื้ อเป็นต้น ผู้ไม่เจริญไม่ใช่คนดี ถ้อยคาที่ท่านกล่าวชักชวนเราในความชั่วนั้นไม่สมควรเลย. บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงประกาศโทษในธรรมอันลามกนั้น จึงตรัสพระดารัส ดังต่อไปนี้ ท่านเทวดาผู้เจริญ ผิว่าเราโกรธลิงนั้น เราก็เลวกว่ามัน เพราะลิงนั้นเป็นลิงพาล เป็นลิงเลว ด้วย ไม่ประพฤติธรรม. หากเราพึงประพฤติธรรมลามกอันมีกาลังกว่าลิงนั้น เราก็จะพึงเป็นผู้ลามกกว่าลิงนั้น ด้วยเหตุนั้นมิใช่หรือ. ข้อที่เรารู้โลกนี้ โลกหน้าอย่างดียิ่ง แล้วดารงอยู่ได้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่นโดยส่วน เดียวเท่านั้น พึงประพฤติธรรมลามกเห็นปานนั้นมิใช่ฐานะที่จะมีได้.
  • 3. 3 มีอะไรยิ่งไปกว่านั้นอีก. มีซิ. ศีลของเราก็จะพึงแตก คือเราพึงทาความลามกเห็นปานนั้น. ศีลบารมีของเราจะพึงแตก. เทวดาและมนุษย์ผู้เป็นบัณฑิตจะพึงติเตียนเราได้ว่า พ่อแม่พี่น้องทั้งหลายจงดูพระโพธิสัตว์นี้ เที่ยวแสวงหาโพธิญาณ ได้ทาความชั่วเห็นปานนี้ แล้ว. ตายด้วยความบริสุทธิ์ คือเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ยังประเสริฐ อุดมดีกว่ามีชีวิตอยู่ ถูกวิญญูชน ทั้งหลายติฉินนินทาด้วยประการฉะนี้ . เราจักเบียดเบียนผู้อื่นแม้เพราะเหตุแห่งชีวิตเล่า คือเมื่อเรารู้อยู่อย่างนี้ เราจักทาการ เบียดเบียนสัตว์อื่น เอาชีวิตของเราเป็นเดิมพันได้อย่างไรเล่า. อธิบายว่า ไม่มีเหตุในการทาความเบียดเบียนนี้ . กระบือกล่าวว่า ลิงนี้ สาคัญสัตว์อื่นว่าเป็นเหมือนเรา จักทาอนาจารอย่างนี้ . แต่นั้นกระบือที่ดุจัก ฆ่าลิงที่ทาไปอย่างนั้นเสีย. การตายของลิงนี้ ด้วยสัตว์อื่น จักเป็นอันพ้นจากทุกข์และจากการฆ่าสัตว์ของเรา. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ลิงนี้ จะสาคัญสัตว์อื่นเป็นเหมือนเรา จักทาอย่างนี้ แม้แก่สัตว์อื่นบ้าง. สัตว์เหล่านั้นจักฆ่าลิงนั้น เสีย. ความตายของลิงนั้นจักเป็นอันพ้นเราไปดังนี้ . คนมีปัญญามิได้ทาการจาแนกในคนเลวเป็นต้นอย่างนี้ เข้าไปตั้งขันติ เมตตาและความเอ็นดูไว้ อดกลั้นความผิดนั้น เพิ่มพูนศีลบารมีเป็นต้น ย่อมได้คือแทงตลอดสัพพัญญุตญาณ ตามใจปรารถนาคือตาม ต้องการ ความปรารถนาของเขานั้นอยู่ไม่ไกลนัก ด้วยประการฉะนี้ . พระมหาสัตว์เมื่อจะประกาศอัธยาศัยของตนอย่างนี้ จึงแสดงธรรมแก่เทวดา. กระบือนั้นล่วงไป ๒-๓ วันก็ได้ไปที่อื่น. กระบือดุตัวอื่นได้ไปตั้งหลักฐานอยู่ ณ ที่นั้นเพราะเป็นที่ อยู่สบาย. ลิงชั่วสาคัญว่ากระบือตัวนี้ ก็คือกระบือตัวนั้นนั่นเองจึงขึ้นหลังกระบือดุนั้น แล้วได้ทาอนาจารในที่ นั้นอย่างเดียวกัน. กระบือดุตัวนั้นจึงสลัดลิงให้ตกลงบนพื้นดินเอาเขาขวิดที่หัวใจ เอาเท้าเหยียบจนแหลก เหลวไป. มหิสราชในครั้งนั้น คือพระโลกนาถในครั้งนี้ . จบอรรถกถามหิสราชจริยาที่ ๕ -----------------------------------------------------