SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้
เรื่อง กลอนดอกสร้อย
รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
กลอนดอกสร้อย
คือ บทร้อยกรองชนิดหนึ่งที่ปรากฏในวรรณคดีไทยมาช้านาน มีลักษณะการแต่งเหมือนกับกลอน
สุภาพและกลอนสักวาทุกประการ แต่งขึ้นเพื่อใช้ในการขับร้อง วรรณคดีที่แต่งด้วยกลอนดอกสร้อย ได้แก่ กลอน
ดอกสร้อยราพึงในป่าช้า
ลักษณะของกลอนดอกสร้อย
๑. มีการสัมผัสบังคับเหมือนกลอนสุภาพทุกประการ
๒. บทหนึ่งมี ๔ คากลอน หรือ ๘ วรรค
- วรรคที่ ๑ เรียกว่า วรรคสดับ - วรรคที่ ๓ เรียกว่า วรรครอง
- วรรคที่ ๒ เรียกว่า วรรครับ - วรรคที่ ๔ เรียกว่า วรรคส่ง
๓. แต่ละวรรคใช้คา ๖ - ๘ คา แต่วรรคแรกจะมี ๔ คา
๔. คาที่ ๒ ของวรรคแรกใช้คาว่า “เอ๋ย” ส่วนคาสุดท้ายของบทคือวรรคที่ ๘ ใช้คาว่า “เอย”
การสัมผัสบังคับ
๑. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๒
๒. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๓
๓. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๔
๔. สัมผัสระหว่างบทคือ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๔ สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๖
เสียงวรรณยุกต์ท้ายคาแต่ละวรรค
๑. คาสุดท้ายวรรคที่ ๑ ใช้ได้ทั้ง ๕ เสียงแต่ไม่นิยมเสียงสามัญ
๒. คาสุดท้ายวรรคที่ ๒ นิยมใช้เสียงจัตวา
๓. คาสุดท้ายวรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ นิยมใช้เสียงสามัญ
แผนผังฉันทลักษณ์กลอนดอกสร้อย
ตัวอย่างบทประพันธ์
แมวเอ๋ยแมวเหมียว รูปร่างประเปรียวเป็นหนักหนา
ร้องเรียก เหมียว เหมียว เดี๋ยวก็มา เคล้าแข้งเคล้าขาน่าเอ็นดู
รู้จักเอารักเข้าต่อตั้ง ค่า ค่า ซ้านั่งระวังหนู
ควรนับว่ามันกตัญญู คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย
(นายทัด เปรียญ : แมวเหมียว)

More Related Content

Similar to _ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf

ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
peter dontoom
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
โรงเรียนประชาบำรุง อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2Anawat Supappornchai
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
rojanasak tipnek
 
เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทย
vinvin cocokurt
 

Similar to _ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf (19)

ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
66 (1)
66  (1)66  (1)
66 (1)
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
 
เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทย
 

Recently uploaded

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (7)

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 

_ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง กลอนดอกสร้อย รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ กลอนดอกสร้อย คือ บทร้อยกรองชนิดหนึ่งที่ปรากฏในวรรณคดีไทยมาช้านาน มีลักษณะการแต่งเหมือนกับกลอน สุภาพและกลอนสักวาทุกประการ แต่งขึ้นเพื่อใช้ในการขับร้อง วรรณคดีที่แต่งด้วยกลอนดอกสร้อย ได้แก่ กลอน ดอกสร้อยราพึงในป่าช้า ลักษณะของกลอนดอกสร้อย ๑. มีการสัมผัสบังคับเหมือนกลอนสุภาพทุกประการ ๒. บทหนึ่งมี ๔ คากลอน หรือ ๘ วรรค - วรรคที่ ๑ เรียกว่า วรรคสดับ - วรรคที่ ๓ เรียกว่า วรรครอง - วรรคที่ ๒ เรียกว่า วรรครับ - วรรคที่ ๔ เรียกว่า วรรคส่ง ๓. แต่ละวรรคใช้คา ๖ - ๘ คา แต่วรรคแรกจะมี ๔ คา ๔. คาที่ ๒ ของวรรคแรกใช้คาว่า “เอ๋ย” ส่วนคาสุดท้ายของบทคือวรรคที่ ๘ ใช้คาว่า “เอย” การสัมผัสบังคับ ๑. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๒ ๒. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ๓. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๔ ๔. สัมผัสระหว่างบทคือ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๔ สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๖ เสียงวรรณยุกต์ท้ายคาแต่ละวรรค ๑. คาสุดท้ายวรรคที่ ๑ ใช้ได้ทั้ง ๕ เสียงแต่ไม่นิยมเสียงสามัญ ๒. คาสุดท้ายวรรคที่ ๒ นิยมใช้เสียงจัตวา ๓. คาสุดท้ายวรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ นิยมใช้เสียงสามัญ แผนผังฉันทลักษณ์กลอนดอกสร้อย
  • 2. ตัวอย่างบทประพันธ์ แมวเอ๋ยแมวเหมียว รูปร่างประเปรียวเป็นหนักหนา ร้องเรียก เหมียว เหมียว เดี๋ยวก็มา เคล้าแข้งเคล้าขาน่าเอ็นดู รู้จักเอารักเข้าต่อตั้ง ค่า ค่า ซ้านั่งระวังหนู ควรนับว่ามันกตัญญู คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย (นายทัด เปรียญ : แมวเหมียว)