SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 10




ค่าเสื่อมราคา (Depreciation)

                               1
ค่า เสื่อ มราคา
• การลงทุนในทรัพย์สนถาวรของกิจการ เช่น
                     ิ
  อาคาร เครื่องจักร ระบบคอมพิวเตอร์ รถขนส่ง
  จะปรากฎให้เห็นในงบการเงินในรูปของค่า
  เสื่อมราคา
• ค่าเสือมราคามีความสำาคัญสำาหรับเศรษฐศาสตร์
         ่
  วิศวกรรม เนื่องจากเราสามารถนำาค่าเสื่อมราคา
  ไปหักออกจากรายได้ ก่อนที่จะนำาไปคิดภาษีเงิน
  ได้นติบคคลได้
        ิ ุ
• ภาษีเงินได้นิติบคคล = (รายได้ – รายจ่าย – ค่า
                  ุ
  เสื่อมราคา)*อัตราภาษี                        2
ค่า เสื่อ มราคา (Depreciation)
• คือ มูลค่าที่ลดลงไปของทรัพย์สิน ทรัพย์สินที่
  จัดหามาใช้งาน เมื่อใช้งานไปได้ระยะหนึ่ง ก็จะ
  มีการเสื่อมสภาพไปตามอายุการใช้งาน หรือ
  ตามปริมาณการผลิต
• ในทางบัญชี เพื่อคำานวณภาษีรายได้ส่งให้กับ
  รัฐบาลสามารถนำาค่าเสือมราคาเป็นค่าใช้จ่ายได้
                          ่
  ทำาให้ภาษีที่จะเสียตำ่าลง


                                             3
การเสื่อ มราคา
• เสื่อมจากลักษณะการใช้งาน เช่นล้าสมัย
• เสื่อมจากทางกายภาพ คือการเสื่อมจากการใช้
  งาน ใช้มากเสื่อมมาก
• เสื่อมจากอุบัติเหตุ (เช่น เหตุเพลิงไหม้ไ นำ้าท่วม
      เป็นต้น     การเสื่อมสภาพจากสาเหตุนี้จะ
  หมดสภาพการใช้งานทันที )
• จุดประสงค์ของการคำานวณค่าเสื่อมราคา
  – เพือให้สามารถนำาไปใช้หักคืนทุนได้ หลังจากการ
       ่
    ลงทุนไปแล้ว
                                                      4
  – เพื่อให้มการลงบัญชีเป็นค่าใช้จ่าย
             ี
วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา (ไม่รวมกับ
                  ดอกเบี้ย) จากนำาต้นทุน
• การคิดค่าเสื่อมราคาคำานวณได้
  ทรัพย์สินเมื่อเริ่มดำาเนินการ(Initial Cost) ลบ
  ด้วย มูลค่าซาก(Salvage Value)
• ต้นทุน จะต้องรวมถึง ค่าขนส่ง ค่าติดตั้ง และค่า
  ใช้จ่ายก่อนดำาเนินงาน
• มูลค่าซาก หมายถึง ราคาขายโดยประมาณของ
  ทรัพย์สินเมื่อหมดอายุการใช้งาน ซึ่งจะต้องหัก
  ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขายออกด้วย
• มูลค่าซากที่เป็นลบแสดงว่าเมื่อทรัพย์สนนั้นหมด
                                         ิ
  อายุลงแล้วต้องมีคาใช้จ่ายในการกำาจัดทิ้งด้วย
                       ่
• ดังนั้น การคิดค่าเสือมราคาจะต้องเกี่ยวข้องกับ 5
                         ่
  เงินทุนครั้งแรก อายุการใช้งาน และมูลค่า
วิธีคิดค่าเสือมราคา
                        ่
• การจัดสรรค่าเสื่อมราคาไว้เท่าๆ กันตลอดอายุ
  การใช้งาน มักใช้กับทรัพย์สินที่มีการเสือม
                                         ่
  สภาพอย่างสมำ่าเสมอ เช่น เครื่องจักรที่มีอายุ
  นานๆ ซึ่งนิยมใช้กันมากเพราะคำานวณได้ง่าย
• การจัดสรรค่าเสื่อมราคา ไว้มากในระยะ แรกๆ
  ของการใช้งาน นิยมใช้กับทรัพย์สินที่มีการ
  เสื่อมสภาพเร็ว ล้าสมัยเร็ว เช่น อุปกรณ์ทาง
  อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์ เป็นต้น
• การจัดสรรค่าเสื่อมราคาไว้น้อยในช่วง แรกๆ
  ของการใช้งาน นิยมกับทรัพย์สินที่มีการเสื่อม 6
กฎหมาย
• จะหักค่าเสือมราคาในบัญชีด้วยวิธีไหนก็ได้ แต่
             ่
  จะต้องใช้วิธีนั้นๆ ไปตลอดอายุของทรัพย์สน
                                         ิ
• หักค่าเสือมราคาโดยรวมแล้ว จะเกินราคา
           ่
  ทรัพย์สินไม่ได้




                                                 7
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเส้นตรง
       (SL: Straight Line
         Depreciation)
• ใช้มูลค่าของทรัพย์สิน ลบด้วย มูลค่าซาก แล้ว
  หารด้วยจำานวนอายุการใช้งาน จะได้คาเสือม่ ่
  ราคาในแต่ละปี ดังนี้
• ค่า เสือ มราคาต่อ ปี
         ่                  = (P – L) / n
• P : ราคาต้นทุนของทรัพย์สิน
• L : ราคาหรือมูลค่าซากเมื่อหมดอายุการใช้งาน
  ของทรัพย์สิน
• n : อายุการใช้งานของทรัพย์สน     ิ
• มูลค่าราคาตามบัญชีเมื่อสิ้นปีExcel function P – 8
                               ที่ t BVt =
                                 SLN(B,S,n)
อัตราค่าเสื่อมราคาต่อปี
• อัตราค่าเสือมราคาต่อปี = [1-(L/P)] *100
             ่
                        N
มูลค่าเป็นราคาเมื่อสิ้นปีที่ x
           Value        = P – [(P-L)/N]*x

10.1 ซื้อเครื่อง 200,000บาท ใช้งาน 10 ปี ซาก
20,000บาท ใช้วิธีเส้นตรง   จะหาค่าเสือมราคา
                                     ่
ได้เท่าใด
                                               9
P = 200,000 L = 20,000            N = 10
ปี
• ค่าเสือมราคาต่อปี = (P-L)/N = (200,000-
        ่
  20,000)/10
                 = 18,000บาทต่อปี
อัตราคาเสือมราคาต่อปี = [1-(L/P)]/N *100%
          ่
            = [1-(20,000/200,000)]/10
  *100% = 9%ต่อปี
 มูลค่าของราคาตามบัญชี เมื่อสิ้นปีที่ 5
Value 5= P – [(P-L)/N * x]
    = 200,000-[ [(200,000-20,000)/10] 10
ตัว อย่า ง ลงทุนซื้อเครื่องจักรราคา 50,000
บาท มูลค่าซาก 10,000 บาท หลังจากใช้งานได้
5 ปี จงคำานวณ
• ค่าเสือมราคาต่อปีแบบเส้นตรง
        ่                      = (P-L)/N =
  (50,000-10,000)/5=8,000
• ราคาตามบัญชี       BVt = P – (t * ค่าเสือม
                                          ่
  ต่อปี)
                BV1 = 50,000 – (1*8,000) =
              BV2 = 50,000 – (2*8,000) =
              BV3 = 50,000 – (3*8,000) =
              BV4 = 50,000 – (4*8,000) 11
                                       =
Excel Function




=SLN(C2,C3,C4)
                    =$C2-H5*$C5
                                  12
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบลดส่วน
     (DB: Declining Balance
           Depreciation)
• Fixed percentage or Uniform
  percentage Method
• การคิดค่าเสื่อมราคาแบบนี้ เป็นระบบที่จัดสรร
  ให้ค่าเสือมในปีแรกๆ สูงกว่า และจะลดลง
            ่
  เรื่อยๆ ในปีต่อไป
• เหมาะสมกับทรัพย์สนที่เป็นเครื่องจักรสำารอง
                      ิ
  ธุรกิจที่ได้กำาไรมากในช่วงแรก เป็นต้น
• การคำานวณหาค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะใช้อัตรา
  คงที่คูณกับมูลค่าตามบัญชี ณ ปลายปีที่ผ่าน
  มา(คือต้นปีปจจุบน)
                 ั  ั
                                              13
• การคิดแบบนี้ จะไม่เป็นศูนย์ในปีที่หมดอายุการ
DB: Declining Balance
          Depreciation
• ให้ fixed percentage เท่ากับ    f
• f = 1 – (L/P)^(1/N)

• ค่าคาดคะเนทรัพย์สิน เมื่อหมดอายุการใช้งาน L
• L = P(1-f)N
เช่น ซื้อของใช้ราคา 1,000บาท ประมาณราคาจะลด
ลง 20% ต่อปี
ใช้งาน 1 ปี ราคา x = P(1-f)N
L = P –(0.2P) = 1,000-200 = 800บาท
f = 1 – (L/P)^(1/N) = 1-(800/1000)^0.5        14
DDB : Double Declining
            Balance
• สำำหรับ DB แล้ว อัตรำค่ำเสือมรำคำที่สูงที่สด
                             ่               ุ
  เท่ำกับสองเท่ำของอัตรำค่ำเสือมรำคำโดยวิธี
                               ่
  เส้นตรง
                      dmax = 2/n
   เรำเรียกว่ำ DDB : Double Declining
  Balance
• DB 150 % คือ d = 1.5/n

                                                 15
Excel Function
• DB(B,S,n,t)
•   DB(cost,salvage,life,period,month)
     – Cost   is the initial cost of the asset.
     – Salvage   is the value at the end of the depreciation (sometimes 
       called the salvage value of the asset).
     – Life   is the number of periods over which the asset is being 
       depreciated (sometimes called the useful life of the asset).
     – Period   is the period for which you want to calculate the 
       depreciation. Period must use the same units as life.
     – Month   is the number of months in the first year. If month is 
       omitted, it is assumed to be 12.

• rate = 1 - ((salvage / cost) ^ (1 / life)),
  rounded to three decimal places คือค่ำ
  fixed percentage : d                        16
17
กรำฟแสดงค่ำเสือมรำคำและมูลค่ำตำม
              ่
                บัญชี
Declining Balance Depreciation
                        DB


  ฿60,000

  ฿50,000

  ฿40,000

  ฿30,000

  ฿20,000

  ฿10,000

      ฿0
            0   1   2        3   4   5   6




                                             18
Excel Function
• DDB(B,S,n,t,d)
  – d มีค่ำระหว่ำง 1 กับ 2 ถ้ำปล่อยว่ำงไว้
    Excel จะกำำหนดให้มีคำ 2
                          ่
•   DDB(cost,salvage,life,period,factor)
     – Cost   is the initial cost of the asset.
     – Salvage   is the value at the end of the depreciation (sometimes 
       called the salvage value of the asset). This value can be 0.
     – Life   is the number of periods over which the asset is being 
       depreciated (sometimes called the useful life of the asset).
     – Period   is the period for which you want to calculate the 
       depreciation. Period must use the same units as life.
     – Factor   is the rate at which the balance declines. If factor is 
       omitted, it is assumed to be 2 (the double-declining balance 
       method).
     Important  All five arguments must be positive numbers.

                                                                      19
ตัวอย่ำงที่ 12.2 จงคำำนวณหำค่ำเสื่อมรำคำ วิธี
DB 150% และ DDB
• ซื้อเครื่องจักรรำคำ 80,000 บำท อำยุกำรใช้งำน 5
  ปี มูลค่ำซำก 10,000 บำท
• DB 150% d = 1.5/n=1.5/5 = 0.3
• DDB             d = 2/n = 2/5 = 0.4




                                                   20
DB d=0.3      DDB d=0.4
Year ,t     Dt =    BVt     Dt     BVt
          (d)BVt-1
  0               80000            80000
  1       24000   56000    32000   48000
  2       16800   39200    19200   28800
  3       11760   27440    11520   17280
  4        8232   19208     6912   10368
  5        5762   13446     368    10000
                      ทำำไม ?            21
฿35,000.00

฿30,000.00

฿25,000.00

฿20,000.00                               DB 150%
                                         DDB
฿15,000.00

฿10,000.00

 ฿5,000.00

     ฿0.00
             0   1   2   3   4   5   6




                                         22
Sum of year digits
          depreciation
• เป็นระบบที่คดค่าเสื่อมราคาไว้มากในช่วง
               ิ
  แรก
• มูลค่าซากเป็น 0 ได้
• ค่าเสื่อมราคาปีที่ t = (ต้นทุน – มูลค่า
  ซาก)(n-t+1)

 n(n+1)/2
                                            23
SYD
• Returns the sum-of-years' digits depreciation of an asset
  for a specified period.
• SYD(cost,salvage,life,per)
• Cost is the initial cost of the asset.
• Salvage is the value at the end of the depreciation
  (sometimes called the salvage value of the asset).
• Life is the number of periods over which the asset is
  depreciated (sometimes called the useful life of the
  asset).
• Per is the period and must use the same units as life.




                                                          24
25
฿60,000


฿50,000


฿40,000

                                      Depreciation
฿30,000
                                      Book Value

฿20,000


฿10,000


    ฿0
          0   1   2   3   4   5   6




                                             26
แบบฝึกหัด
• 10.16.11 ระบบระบายอากาศของโรงงานแห่ง
  หนึ่งมูลค่า 12 ล้านบาท อายุการใช้งาน 8 ปี
  มูลค่าซาก 2 ล้านบาท จงหา
  – ค่าเสือมราคาแบบ Straight Line Depreciation
          ่
  – Book Value
  – Rate of Depreciation




                                                 27
10.16.23
• ระบบรักษาความปลอดภัยและเก็บสำารองข้อมูล
  มูลค่า 175 ล้านบาท อายุการใช้งาน 12 ปี
  ประมาณการมูลค่าซากไว้ 32 ล้านบาท คิดค่า
  เสื่อมราคาโดยวิธี Declining Balance
  Depreciation ที่อัตรา 1.5 เท่าของ
  Straight Line Rate จงหา
  – ค่าเสือมราคาและมูลค่าตามบัญชีของปีที่ 1 และ 12
          ่
  – เปรียบเทียบมูลค่าซากและมูลค่าตามบัญชี
  – ใช้ Excel หาค่าเสื่อมราคาและมูลค่าตามบัญชีของ
    ทุกปี                                         28

More Related Content

What's hot

12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพKobwit Piriyawat
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
Aor's Sometime
 
01cost concept
01cost concept01cost concept
01cost concept
pop Jaturong
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Pattapong Promchai
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
Khunnawang Khunnawang
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supplybnongluk
 
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วนบทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
sawed kodnara
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
VolunteerCharmSchool
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
tumetr1
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
VolunteerCharmSchool
 
ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2
ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2
ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2
chontida1
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละนายเค ครูกาย
 

What's hot (20)

การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
01cost concept
01cost concept01cost concept
01cost concept
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
 
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วนบทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
 
บทที่ 7 aw
บทที่ 7 awบทที่ 7 aw
บทที่ 7 aw
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
 
ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2
ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2
ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
Personality r1
Personality r1Personality r1
Personality r1
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
Hydrology sediment 4 slide
Hydrology sediment 4 slideHydrology sediment 4 slide
Hydrology sediment 4 slide
 

Similar to บท10 depreciation

การผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิตการผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิต
VolunteerCharmSchool
 
11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สินต้น ชุมพล
 
2015 lesson 8 accounting and finance 2
2015 lesson 8 accounting and finance 22015 lesson 8 accounting and finance 2
2015 lesson 8 accounting and finance 2
Watcharin Chongkonsatit
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
Ornkapat Bualom
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updatedtltutortutor
 

Similar to บท10 depreciation (7)

บทที่ 9 b c
บทที่ 9 b cบทที่ 9 b c
บทที่ 9 b c
 
การผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิตการผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิต
 
11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน
 
2015 lesson 8 accounting and finance 2
2015 lesson 8 accounting and finance 22015 lesson 8 accounting and finance 2
2015 lesson 8 accounting and finance 2
 
02 businessfinance v1
02 businessfinance v102 businessfinance v1
02 businessfinance v1
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updated
 

บท10 depreciation

  • 2. ค่า เสื่อ มราคา • การลงทุนในทรัพย์สนถาวรของกิจการ เช่น ิ อาคาร เครื่องจักร ระบบคอมพิวเตอร์ รถขนส่ง จะปรากฎให้เห็นในงบการเงินในรูปของค่า เสื่อมราคา • ค่าเสือมราคามีความสำาคัญสำาหรับเศรษฐศาสตร์ ่ วิศวกรรม เนื่องจากเราสามารถนำาค่าเสื่อมราคา ไปหักออกจากรายได้ ก่อนที่จะนำาไปคิดภาษีเงิน ได้นติบคคลได้ ิ ุ • ภาษีเงินได้นิติบคคล = (รายได้ – รายจ่าย – ค่า ุ เสื่อมราคา)*อัตราภาษี 2
  • 3. ค่า เสื่อ มราคา (Depreciation) • คือ มูลค่าที่ลดลงไปของทรัพย์สิน ทรัพย์สินที่ จัดหามาใช้งาน เมื่อใช้งานไปได้ระยะหนึ่ง ก็จะ มีการเสื่อมสภาพไปตามอายุการใช้งาน หรือ ตามปริมาณการผลิต • ในทางบัญชี เพื่อคำานวณภาษีรายได้ส่งให้กับ รัฐบาลสามารถนำาค่าเสือมราคาเป็นค่าใช้จ่ายได้ ่ ทำาให้ภาษีที่จะเสียตำ่าลง 3
  • 4. การเสื่อ มราคา • เสื่อมจากลักษณะการใช้งาน เช่นล้าสมัย • เสื่อมจากทางกายภาพ คือการเสื่อมจากการใช้ งาน ใช้มากเสื่อมมาก • เสื่อมจากอุบัติเหตุ (เช่น เหตุเพลิงไหม้ไ นำ้าท่วม เป็นต้น การเสื่อมสภาพจากสาเหตุนี้จะ หมดสภาพการใช้งานทันที ) • จุดประสงค์ของการคำานวณค่าเสื่อมราคา – เพือให้สามารถนำาไปใช้หักคืนทุนได้ หลังจากการ ่ ลงทุนไปแล้ว 4 – เพื่อให้มการลงบัญชีเป็นค่าใช้จ่าย ี
  • 5. วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา (ไม่รวมกับ ดอกเบี้ย) จากนำาต้นทุน • การคิดค่าเสื่อมราคาคำานวณได้ ทรัพย์สินเมื่อเริ่มดำาเนินการ(Initial Cost) ลบ ด้วย มูลค่าซาก(Salvage Value) • ต้นทุน จะต้องรวมถึง ค่าขนส่ง ค่าติดตั้ง และค่า ใช้จ่ายก่อนดำาเนินงาน • มูลค่าซาก หมายถึง ราคาขายโดยประมาณของ ทรัพย์สินเมื่อหมดอายุการใช้งาน ซึ่งจะต้องหัก ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขายออกด้วย • มูลค่าซากที่เป็นลบแสดงว่าเมื่อทรัพย์สนนั้นหมด ิ อายุลงแล้วต้องมีคาใช้จ่ายในการกำาจัดทิ้งด้วย ่ • ดังนั้น การคิดค่าเสือมราคาจะต้องเกี่ยวข้องกับ 5 ่ เงินทุนครั้งแรก อายุการใช้งาน และมูลค่า
  • 6. วิธีคิดค่าเสือมราคา ่ • การจัดสรรค่าเสื่อมราคาไว้เท่าๆ กันตลอดอายุ การใช้งาน มักใช้กับทรัพย์สินที่มีการเสือม ่ สภาพอย่างสมำ่าเสมอ เช่น เครื่องจักรที่มีอายุ นานๆ ซึ่งนิยมใช้กันมากเพราะคำานวณได้ง่าย • การจัดสรรค่าเสื่อมราคา ไว้มากในระยะ แรกๆ ของการใช้งาน นิยมใช้กับทรัพย์สินที่มีการ เสื่อมสภาพเร็ว ล้าสมัยเร็ว เช่น อุปกรณ์ทาง อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์ เป็นต้น • การจัดสรรค่าเสื่อมราคาไว้น้อยในช่วง แรกๆ ของการใช้งาน นิยมกับทรัพย์สินที่มีการเสื่อม 6
  • 7. กฎหมาย • จะหักค่าเสือมราคาในบัญชีด้วยวิธีไหนก็ได้ แต่ ่ จะต้องใช้วิธีนั้นๆ ไปตลอดอายุของทรัพย์สน ิ • หักค่าเสือมราคาโดยรวมแล้ว จะเกินราคา ่ ทรัพย์สินไม่ได้ 7
  • 8. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเส้นตรง (SL: Straight Line Depreciation) • ใช้มูลค่าของทรัพย์สิน ลบด้วย มูลค่าซาก แล้ว หารด้วยจำานวนอายุการใช้งาน จะได้คาเสือม่ ่ ราคาในแต่ละปี ดังนี้ • ค่า เสือ มราคาต่อ ปี ่ = (P – L) / n • P : ราคาต้นทุนของทรัพย์สิน • L : ราคาหรือมูลค่าซากเมื่อหมดอายุการใช้งาน ของทรัพย์สิน • n : อายุการใช้งานของทรัพย์สน ิ • มูลค่าราคาตามบัญชีเมื่อสิ้นปีExcel function P – 8 ที่ t BVt = SLN(B,S,n)
  • 9. อัตราค่าเสื่อมราคาต่อปี • อัตราค่าเสือมราคาต่อปี = [1-(L/P)] *100 ่ N มูลค่าเป็นราคาเมื่อสิ้นปีที่ x Value = P – [(P-L)/N]*x 10.1 ซื้อเครื่อง 200,000บาท ใช้งาน 10 ปี ซาก 20,000บาท ใช้วิธีเส้นตรง จะหาค่าเสือมราคา ่ ได้เท่าใด 9
  • 10. P = 200,000 L = 20,000 N = 10 ปี • ค่าเสือมราคาต่อปี = (P-L)/N = (200,000- ่ 20,000)/10 = 18,000บาทต่อปี อัตราคาเสือมราคาต่อปี = [1-(L/P)]/N *100% ่ = [1-(20,000/200,000)]/10 *100% = 9%ต่อปี มูลค่าของราคาตามบัญชี เมื่อสิ้นปีที่ 5 Value 5= P – [(P-L)/N * x] = 200,000-[ [(200,000-20,000)/10] 10
  • 11. ตัว อย่า ง ลงทุนซื้อเครื่องจักรราคา 50,000 บาท มูลค่าซาก 10,000 บาท หลังจากใช้งานได้ 5 ปี จงคำานวณ • ค่าเสือมราคาต่อปีแบบเส้นตรง ่ = (P-L)/N = (50,000-10,000)/5=8,000 • ราคาตามบัญชี BVt = P – (t * ค่าเสือม ่ ต่อปี) BV1 = 50,000 – (1*8,000) = BV2 = 50,000 – (2*8,000) = BV3 = 50,000 – (3*8,000) = BV4 = 50,000 – (4*8,000) 11 =
  • 13. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบลดส่วน (DB: Declining Balance Depreciation) • Fixed percentage or Uniform percentage Method • การคิดค่าเสื่อมราคาแบบนี้ เป็นระบบที่จัดสรร ให้ค่าเสือมในปีแรกๆ สูงกว่า และจะลดลง ่ เรื่อยๆ ในปีต่อไป • เหมาะสมกับทรัพย์สนที่เป็นเครื่องจักรสำารอง ิ ธุรกิจที่ได้กำาไรมากในช่วงแรก เป็นต้น • การคำานวณหาค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะใช้อัตรา คงที่คูณกับมูลค่าตามบัญชี ณ ปลายปีที่ผ่าน มา(คือต้นปีปจจุบน) ั ั 13 • การคิดแบบนี้ จะไม่เป็นศูนย์ในปีที่หมดอายุการ
  • 14. DB: Declining Balance Depreciation • ให้ fixed percentage เท่ากับ f • f = 1 – (L/P)^(1/N) • ค่าคาดคะเนทรัพย์สิน เมื่อหมดอายุการใช้งาน L • L = P(1-f)N เช่น ซื้อของใช้ราคา 1,000บาท ประมาณราคาจะลด ลง 20% ต่อปี ใช้งาน 1 ปี ราคา x = P(1-f)N L = P –(0.2P) = 1,000-200 = 800บาท f = 1 – (L/P)^(1/N) = 1-(800/1000)^0.5 14
  • 15. DDB : Double Declining Balance • สำำหรับ DB แล้ว อัตรำค่ำเสือมรำคำที่สูงที่สด ่ ุ เท่ำกับสองเท่ำของอัตรำค่ำเสือมรำคำโดยวิธี ่ เส้นตรง dmax = 2/n เรำเรียกว่ำ DDB : Double Declining Balance • DB 150 % คือ d = 1.5/n 15
  • 16. Excel Function • DB(B,S,n,t) • DB(cost,salvage,life,period,month) – Cost   is the initial cost of the asset. – Salvage   is the value at the end of the depreciation (sometimes  called the salvage value of the asset). – Life   is the number of periods over which the asset is being  depreciated (sometimes called the useful life of the asset). – Period   is the period for which you want to calculate the  depreciation. Period must use the same units as life. – Month   is the number of months in the first year. If month is  omitted, it is assumed to be 12. • rate = 1 - ((salvage / cost) ^ (1 / life)), rounded to three decimal places คือค่ำ fixed percentage : d 16
  • 17. 17
  • 18. กรำฟแสดงค่ำเสือมรำคำและมูลค่ำตำม ่ บัญชี Declining Balance Depreciation DB ฿60,000 ฿50,000 ฿40,000 ฿30,000 ฿20,000 ฿10,000 ฿0 0 1 2 3 4 5 6 18
  • 19. Excel Function • DDB(B,S,n,t,d) – d มีค่ำระหว่ำง 1 กับ 2 ถ้ำปล่อยว่ำงไว้ Excel จะกำำหนดให้มีคำ 2 ่ • DDB(cost,salvage,life,period,factor) – Cost   is the initial cost of the asset. – Salvage   is the value at the end of the depreciation (sometimes  called the salvage value of the asset). This value can be 0. – Life   is the number of periods over which the asset is being  depreciated (sometimes called the useful life of the asset). – Period   is the period for which you want to calculate the  depreciation. Period must use the same units as life. – Factor   is the rate at which the balance declines. If factor is  omitted, it is assumed to be 2 (the double-declining balance  method). Important  All five arguments must be positive numbers. 19
  • 20. ตัวอย่ำงที่ 12.2 จงคำำนวณหำค่ำเสื่อมรำคำ วิธี DB 150% และ DDB • ซื้อเครื่องจักรรำคำ 80,000 บำท อำยุกำรใช้งำน 5 ปี มูลค่ำซำก 10,000 บำท • DB 150% d = 1.5/n=1.5/5 = 0.3 • DDB d = 2/n = 2/5 = 0.4 20
  • 21. DB d=0.3 DDB d=0.4 Year ,t Dt = BVt Dt BVt (d)BVt-1 0 80000 80000 1 24000 56000 32000 48000 2 16800 39200 19200 28800 3 11760 27440 11520 17280 4 8232 19208 6912 10368 5 5762 13446 368 10000 ทำำไม ? 21
  • 22. ฿35,000.00 ฿30,000.00 ฿25,000.00 ฿20,000.00 DB 150% DDB ฿15,000.00 ฿10,000.00 ฿5,000.00 ฿0.00 0 1 2 3 4 5 6 22
  • 23. Sum of year digits depreciation • เป็นระบบที่คดค่าเสื่อมราคาไว้มากในช่วง ิ แรก • มูลค่าซากเป็น 0 ได้ • ค่าเสื่อมราคาปีที่ t = (ต้นทุน – มูลค่า ซาก)(n-t+1) n(n+1)/2 23
  • 24. SYD • Returns the sum-of-years' digits depreciation of an asset for a specified period. • SYD(cost,salvage,life,per) • Cost is the initial cost of the asset. • Salvage is the value at the end of the depreciation (sometimes called the salvage value of the asset). • Life is the number of periods over which the asset is depreciated (sometimes called the useful life of the asset). • Per is the period and must use the same units as life. 24
  • 25. 25
  • 26. ฿60,000 ฿50,000 ฿40,000 Depreciation ฿30,000 Book Value ฿20,000 ฿10,000 ฿0 0 1 2 3 4 5 6 26
  • 27. แบบฝึกหัด • 10.16.11 ระบบระบายอากาศของโรงงานแห่ง หนึ่งมูลค่า 12 ล้านบาท อายุการใช้งาน 8 ปี มูลค่าซาก 2 ล้านบาท จงหา – ค่าเสือมราคาแบบ Straight Line Depreciation ่ – Book Value – Rate of Depreciation 27
  • 28. 10.16.23 • ระบบรักษาความปลอดภัยและเก็บสำารองข้อมูล มูลค่า 175 ล้านบาท อายุการใช้งาน 12 ปี ประมาณการมูลค่าซากไว้ 32 ล้านบาท คิดค่า เสื่อมราคาโดยวิธี Declining Balance Depreciation ที่อัตรา 1.5 เท่าของ Straight Line Rate จงหา – ค่าเสือมราคาและมูลค่าตามบัญชีของปีที่ 1 และ 12 ่ – เปรียบเทียบมูลค่าซากและมูลค่าตามบัญชี – ใช้ Excel หาค่าเสื่อมราคาและมูลค่าตามบัญชีของ ทุกปี 28