SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
แนวทางการจัดทําหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการให้ความรู้ทางการเงิน
1. ที่มาของการจัดทําหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐาน
การพัฒนาหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐานนั้น มีที่มาจาก 4 ส่วนหลักที่สําคัญ เพื่อกําหนด
วัตถุประสงค์และโครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร ได้แก่
1) ผลการสํารวจพฤติกรรมทางการเงินของกลุ่มเป้าหมาย ในปี 2556 ในส่วนนี้แสดงให้เห็นถึงจุดด้อย
ของแต่ละกลุ่มเป้าหมายที่ควรมีความรู้เพิ่มเติม และประเด็นที่ควรมุ่งเน้นในหลักสูตร
2) มาตรฐานทางการเงินขั้นพื้นฐาน การพัฒนาหลักสูตรจะพิจารณาอิงมาตรฐาน เพื่อให้ครอบคลุม
ประเด็นขั้นพื้นฐานที่คนไทยควรรู้
3) หลักสูตรในปัจจุบัน ทบทวนเนื้อหาความรู้ทางการเงินจากสถาบันที่มีการให้ความรู้ต่าง ๆ ทั้ง
ภาครัฐและเอกชน รวมถึงมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย เช่น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ธนาคารแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยว
นครราชสีมา เป็นต้น
4) ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ จากการประชุมระดมความคิดเห็นทั้ง 4 ครั้ง และ
สัมมนาประชาพิจารณ์ แล้วนําข้อเสนอแนะเหล่านั้นมาปรับปรุงเป็นหลักสูตรที่สมบูรณ์
แผนภาพที่มาการจัดทําหลักสูตร
ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจและการคลัง
แนวทางการจัดทําหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการให้ความรู้ทางการเงิน
2. องค์ประกอบของหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐาน
การจัดทําหลักสูตรโดยทั่วไปมีองค์ประกอบที่แตกต่างกัน ซึ่งบางองค์ประกอบนั้นเหมาะสมกับการ
เรียนการสอนในสถาบันการศึกษา ไม่เหมาะกับการเรียนการสอนในกลุ่มเป้าหมายของการศึกษาครั้งนี้ที่เป็น
กลุ่มอาชีพต่าง ๆ เนื่องจากการเข้าถึงและรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพกับแต่ละ
กลุ่มอาชีพมีความแตกต่างกัน และไม่สามารถบังคับให้ผู้เรียนทําและมีการติดตามผลอย่างเป็นระบบ
เช่นเดียวกับการสอนในสถานศึกษา ด้วยประการดังกล่าว จึงคัดเลือกองค์ประกอบสําหรับหลักสูตรที่เหมาะสม
กับกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้ ได้ดังนี้
(1) เป้าหมาย เป็นผลในภาพรวมที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน หลังจากเรียนจบหลักสูตร
(2) วัตถุประสงค์ที่มุ่งเน้น เป็นผลที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนหลังจากที่ได้เรียนจบหลักสูตร เนื่องจาก
วัตถุประสงค์การเรียนรู้มีได้หลากหลาย แต่วัตถุประสงค์ที่สําคัญ ควรเป็นประเด็นมุ่งเน้นของ
แต่ละกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งมาจากปัญหาของแต่ละกลุ่มเป้าหมายที่พบจากผลการสํารวจปี 2556
(3) โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตรจะมีความครอบคลุมมาตรฐานและประเด็น
ที่มุ่งเน้นของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
(4) เทคนิคและกลยุทธ์ในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งจะประกอบด้วย กิจกรรม เทคนิค/วิธีการ
รณรงค์การให้ความสําคัญการบริหารการเงินส่วนบุคคลและการสร้างวินัยทางการเงิน
การสร้างเครือข่ายผู้สนับสนุนความรู้ทางการเงิน รวมถึงกลยุทธ์/แนวทาง การจูงใจให้เกิด
การเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมทางการเงิน สําหรับกลุ่มเป้าหมาย
(5) การประเมินผล เพื่อให้ทราบว่าผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ และนํามาปรับปรุง
การเรียนการสอนรวมถึงหลักสูตรต่อไป

More Related Content

Viewers also liked

2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็นbuddykung
 
Portret in opdracht, olieverf op linnen. drieluik 70/70 Saskia Vugts Portrets...
Portret in opdracht, olieverf op linnen. drieluik 70/70 Saskia Vugts Portrets...Portret in opdracht, olieverf op linnen. drieluik 70/70 Saskia Vugts Portrets...
Portret in opdracht, olieverf op linnen. drieluik 70/70 Saskia Vugts Portrets...Saskia Vugts Portretschilder
 
MachNation - Davra Whitepaper
MachNation - Davra WhitepaperMachNation - Davra Whitepaper
MachNation - Davra WhitepaperJoe Quinn
 
положение о собрании трудового коллектива мбдоу
положение о собрании трудового коллектива мбдоуположение о собрании трудового коллектива мбдоу
положение о собрании трудового коллектива мбдоуvirtualtaganrog
 
Pembangunan dalam bahasa agama
Pembangunan dalam bahasa agamaPembangunan dalam bahasa agama
Pembangunan dalam bahasa agamaAlfiatus Sholihah
 
Legaspi 04 mass_deacidification
Legaspi 04 mass_deacidificationLegaspi 04 mass_deacidification
Legaspi 04 mass_deacidificationBobby-Dhea Santos
 
Lwowska - 10,28 ha
Lwowska - 10,28 haLwowska - 10,28 ha
Lwowska - 10,28 hacoirzeszow
 
Resolución encuesta
Resolución encuestaResolución encuesta
Resolución encuestaantiaacuna
 
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014Jean-Pierre Bensimon
 
Risalah 16022006171006
Risalah 16022006171006Risalah 16022006171006
Risalah 16022006171006Ivan Fauzillah
 

Viewers also liked (15)

2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
 
Legal and ethical
Legal and ethical Legal and ethical
Legal and ethical
 
Portret in opdracht, olieverf op linnen. drieluik 70/70 Saskia Vugts Portrets...
Portret in opdracht, olieverf op linnen. drieluik 70/70 Saskia Vugts Portrets...Portret in opdracht, olieverf op linnen. drieluik 70/70 Saskia Vugts Portrets...
Portret in opdracht, olieverf op linnen. drieluik 70/70 Saskia Vugts Portrets...
 
Open access. Students opinions
Open access. Students opinionsOpen access. Students opinions
Open access. Students opinions
 
Кондур Ольга Андріївна
Кондур Ольга АндріївнаКондур Ольга Андріївна
Кондур Ольга Андріївна
 
DJ's
DJ'sDJ's
DJ's
 
Тюменская филармония
Тюменская филармонияТюменская филармония
Тюменская филармония
 
MachNation - Davra Whitepaper
MachNation - Davra WhitepaperMachNation - Davra Whitepaper
MachNation - Davra Whitepaper
 
положение о собрании трудового коллектива мбдоу
положение о собрании трудового коллектива мбдоуположение о собрании трудового коллектива мбдоу
положение о собрании трудового коллектива мбдоу
 
Pembangunan dalam bahasa agama
Pembangunan dalam bahasa agamaPembangunan dalam bahasa agama
Pembangunan dalam bahasa agama
 
Legaspi 04 mass_deacidification
Legaspi 04 mass_deacidificationLegaspi 04 mass_deacidification
Legaspi 04 mass_deacidification
 
Lwowska - 10,28 ha
Lwowska - 10,28 haLwowska - 10,28 ha
Lwowska - 10,28 ha
 
Resolución encuesta
Resolución encuestaResolución encuesta
Resolución encuesta
 
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
 
Risalah 16022006171006
Risalah 16022006171006Risalah 16022006171006
Risalah 16022006171006
 

Similar to 1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร

1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาbuddykung
 
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกรbuddykung
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยwanichaya kingchaikerd
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4wanneemayss
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4fernfielook
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4nattawad147
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4parkpoom11z
 
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)buddykung
 
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวาการพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวาnattawad147
 
A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...Siriratbruce
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7fernfielook
 

Similar to 1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร (20)

1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
 
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
 
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวาการพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
 
A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from buddykung

Manual for university_student
Manual for university_studentManual for university_student
Manual for university_studentbuddykung
 
Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slidebuddykung
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshopbuddykung
 
Manual for trainer
Manual for trainerManual for trainer
Manual for trainerbuddykung
 
Question for workshop
Question for workshopQuestion for workshop
Question for workshopbuddykung
 
Manual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerManual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerbuddykung
 
Financial forms
Financial formsFinancial forms
Financial formsbuddykung
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshopbuddykung
 
11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manualbuddykung
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตรbuddykung
 
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มbuddykung
 

More from buddykung (11)

Manual for university_student
Manual for university_studentManual for university_student
Manual for university_student
 
Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slide
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshop
 
Manual for trainer
Manual for trainerManual for trainer
Manual for trainer
 
Question for workshop
Question for workshopQuestion for workshop
Question for workshop
 
Manual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerManual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainer
 
Financial forms
Financial formsFinancial forms
Financial forms
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshop
 
11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
 
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
 

1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร

  • 1. แนวทางการจัดทําหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการให้ความรู้ทางการเงิน 1. ที่มาของการจัดทําหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐาน การพัฒนาหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐานนั้น มีที่มาจาก 4 ส่วนหลักที่สําคัญ เพื่อกําหนด วัตถุประสงค์และโครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร ได้แก่ 1) ผลการสํารวจพฤติกรรมทางการเงินของกลุ่มเป้าหมาย ในปี 2556 ในส่วนนี้แสดงให้เห็นถึงจุดด้อย ของแต่ละกลุ่มเป้าหมายที่ควรมีความรู้เพิ่มเติม และประเด็นที่ควรมุ่งเน้นในหลักสูตร 2) มาตรฐานทางการเงินขั้นพื้นฐาน การพัฒนาหลักสูตรจะพิจารณาอิงมาตรฐาน เพื่อให้ครอบคลุม ประเด็นขั้นพื้นฐานที่คนไทยควรรู้ 3) หลักสูตรในปัจจุบัน ทบทวนเนื้อหาความรู้ทางการเงินจากสถาบันที่มีการให้ความรู้ต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชน รวมถึงมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย เช่น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยว นครราชสีมา เป็นต้น 4) ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ จากการประชุมระดมความคิดเห็นทั้ง 4 ครั้ง และ สัมมนาประชาพิจารณ์ แล้วนําข้อเสนอแนะเหล่านั้นมาปรับปรุงเป็นหลักสูตรที่สมบูรณ์ แผนภาพที่มาการจัดทําหลักสูตร ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจและการคลัง
  • 2. แนวทางการจัดทําหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการให้ความรู้ทางการเงิน 2. องค์ประกอบของหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐาน การจัดทําหลักสูตรโดยทั่วไปมีองค์ประกอบที่แตกต่างกัน ซึ่งบางองค์ประกอบนั้นเหมาะสมกับการ เรียนการสอนในสถาบันการศึกษา ไม่เหมาะกับการเรียนการสอนในกลุ่มเป้าหมายของการศึกษาครั้งนี้ที่เป็น กลุ่มอาชีพต่าง ๆ เนื่องจากการเข้าถึงและรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพกับแต่ละ กลุ่มอาชีพมีความแตกต่างกัน และไม่สามารถบังคับให้ผู้เรียนทําและมีการติดตามผลอย่างเป็นระบบ เช่นเดียวกับการสอนในสถานศึกษา ด้วยประการดังกล่าว จึงคัดเลือกองค์ประกอบสําหรับหลักสูตรที่เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้ ได้ดังนี้ (1) เป้าหมาย เป็นผลในภาพรวมที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน หลังจากเรียนจบหลักสูตร (2) วัตถุประสงค์ที่มุ่งเน้น เป็นผลที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนหลังจากที่ได้เรียนจบหลักสูตร เนื่องจาก วัตถุประสงค์การเรียนรู้มีได้หลากหลาย แต่วัตถุประสงค์ที่สําคัญ ควรเป็นประเด็นมุ่งเน้นของ แต่ละกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งมาจากปัญหาของแต่ละกลุ่มเป้าหมายที่พบจากผลการสํารวจปี 2556 (3) โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตรจะมีความครอบคลุมมาตรฐานและประเด็น ที่มุ่งเน้นของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย (4) เทคนิคและกลยุทธ์ในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งจะประกอบด้วย กิจกรรม เทคนิค/วิธีการ รณรงค์การให้ความสําคัญการบริหารการเงินส่วนบุคคลและการสร้างวินัยทางการเงิน การสร้างเครือข่ายผู้สนับสนุนความรู้ทางการเงิน รวมถึงกลยุทธ์/แนวทาง การจูงใจให้เกิด การเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมทางการเงิน สําหรับกลุ่มเป้าหมาย (5) การประเมินผล เพื่อให้ทราบว่าผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ และนํามาปรับปรุง การเรียนการสอนรวมถึงหลักสูตรต่อไป