SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
1
เปิดใจ เรียนรู้
“ความรู้ทางการเงิน”
ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์
atchara.y@bu.ac.th
มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
พฤษภาคม ๒๕๕๘
2
เปิดใจ เรียนรู้ ทักษะชีวิต
ทําไมต้องมีความรู้ทางการเงิน
สุดยอดอาวุธลับเศรษฐี
จัดการเงิน... จัดการชีวิต
เป็นหนี้อย่างมีสติ
ลงทุนอย่างชาญฉลาด
เศรษฐีแสนสุข... เป้าหมายที่เป็นจริงได้
ประเด็นชวนคิดชวนคุย
3
เปิดใจ เรียนรู้ ทักษะชีวิต
4
เปิดใจ เรียนรู้
เข้าใจ
เข้าถึง
พัฒนา
กลุ่มเป้าหมาย คือใคร?
วิถีชีวิต (Lifestyle) เป็นอย่างไร?
พฤติกรรมทางการเงินเป็นอย่างไร?
ปัญหาทางการเงินมีอะไรบ้าง?
5
ทักษะชีวิต
การเงิน
ไม่เคย
เรียน
ปวดหัว
สําคัญ
เงินเป็นสิ่งสําคัญ
การจัดการเงินเป็นทักษะสําคัญในชีวิต
การจัดการเงินเป็นเรื่องปวดหัว
โรงเรียน ไม่เคยสอนเรื่องจัดการเงิน
6
เปิดใจ เรียนรู้ ทักษะชีวิต
เห็น
ความสําคัญ
สนุกสนาน
ท้าทาย
พร้อม
เรียนรู้
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)
พุทธวิธีในการสอน
ข้อสรุปสําคัญเกี่ยวกับการสอน
– ปัญญาเป็นสิ่งสร้างสรรค์ขึ้นภายในตัวผู้เรียนเอง
– ผู้สอนทําหน้าที่เป็นกัลยาณมิตร ช่วยชี้นําทางการเรียน
– วิธีสอน อุบายและกลวิธีต่างๆ เป็นสื่อหรือเป็นเครื่องผ่อนแรง
– อิสรภาพทางความคิดเป็นอุปกรณ์สําคัญในการสร้างปัญญา
พุทธวิธีในการสอน
หลักทั่วไปในการสอน
– การเริ่มต้นที่ดีมีส่วนช่วยให้การสอนสําเร็จผลดีได้อย่างมาก
– สร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลิน ไม่ตึงเครียด
ไม่ให้เกิดความอึดอัดใจ และให้เกียรติผู้เรียน
– มุ่งสอนเนื้อหา มุ่งให้เกิดความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่สอน
– ตั้งใจสอน จริงจัง เห็นคุณค่า เห็นความสําคัญของผู้เรียน
– ใช้ภาษาสุภาพ นุ่มนวล ไม่หยาบคาย ชวนให้สบายใจ เข้าใจง่าย
พุทธวิธีในการสอน
ลีลาการสอน
– สันทัสสนา - อธิบายให้เห็นชัดเจนแจ่มแจ้ง
– สมาทปนา - จูงใจให้เห็นจริงด้วย ชวนให้คล้อยตาม จนยอมรับ
และนําไปปฏิบัติ
– สมุตเตขนา - เร้าใจให้แกล้วกล้า เกิดกําลังใจ ปลุกให้อุตสาหะ
แข็งขัน มั่นใจว่าทําได้
– สัมปหังสนา - ชโลมใจให้แช่มชื่น ร่าเริง เบิกบาน ฟังไม่เบื่อ
มีความหวังเพราะเห็นประโยชน์ที่จะได้รับ
11
ทําไมต้องมีความรู้ทางการเงิน
12
ทําไมคนไทยไม่วางแผนการเงิน
13
ที่มา: ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
14
ค่าอาหารหลังเกษียณ
อาหารเช้า (ข้าวต้มปลา ผลไม้) 45 บาท
อาหารกลางวัน (ก๋วยเตี๋ยวหมูตุ๋น น้ําผลไม้) 50 บาท
อาหารเย็น (ข้าวผัดผักรวมมิตร ไข่เจียว) 55 บาท
รวมค่าอาหารต่อวัน 150 บาท
ระยะเวลาหลังเกษียณ = 25 ปี * 365 วัน = 9,125 วัน
ค่าอาหารหลังเกษียณ = 9,125 * 150 = 1,368,750 บาท
ค่าอาหารอย่างเดียวยังไม่รวมค่าใช้จ่ายอื่นๆ !!!!
15
ปัจจุบันค่าใช้จ่าย 10,000 บาท/เดือน อีก 20 ปี เงินเฟ้อ 5% = 26,500
ก๋วยเตี๋ยวชามละ 25 บาท เพิ่มขึ้นเป็น 35 บาท...?!?
ทําไมต้องสนใจเงินเฟ้อ
100 บาทวันนี้ อีก 10 ปี = 163 บาท
อีก 20 ปี = 265 บาท
เงินเฟ้อเฉลี่ยต่อปี
5%
16
17
ธรรมะกับการหาเงิน
โภคา สนฺนิจยํ ยนฺติ วมฺมิโกวูปจียติ
ทรัพย์สินย่อมพอกพูนขึ้นได้ เหมือนดั่งก่อจอมปลวก
โภเค สํพรมานสฺส ภมรสฺส อิรียโต
เก็บรวบรวมทรัพย์สิน เหมือนผึ้งเที่ยวรวมน้ําหวานสร้างรัง
18
สุดยอดอาวุธลับเศรษฐี
19
สํารวจตัวเองก่อน
20
งบดุลของวนิดา
เงินสดเงินฝากธ.
รถจักรยานยนต์
เครื่องประดับ
บ้าน
สินทรัพย์รวม
3,500
15,000
13,000
360,000
391,500
หนี้บ้าน
หนี้บัตรเครดิต
ยืมเงินเถ้าแก่
หนี้สินรวม
300,000
18,000
8,000
326,000
ความมั่งคั่ง = สินทรัพย์ – หนี้สิน = 391,500 – 326,000 = + 65,500 บาท
ณ วันที่ 30 มกราคม
สินทรัพย์ หนี้สิน
21
งบรายได้ค่าใช้จ่ายของวนิดา
เงินเดือน
เบี้ยเลี้ยง
โอที
รายได้รวม
8,000
600
950
9,550
ค่าเช่าบ้าน
ค่าอาหาร
ค่าเดินทาง
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ค่าใช้จ่ายรวม
2,000
3,300
1,500
2,150
8,950
เงินเกิน = 9,550 – 8,950 = + 600 บาท
สําหรับเดือนมกราคม
รายได้ ค่าใช้จ่าย
22
เงินเกิน
+ 600
+ เพิ่มสินทรัพย์
เงินสด
เงินฝากธนาคาร
ซื้อสลากออมสิน
+ เพิ่มสินทรัพย์
เงินสด
เงินฝากธนาคาร
ซื้อสลากออมสิน
- จ่ายหนี้สิน- จ่ายหนี้สิน
+ ความมั่งคั่งเพิ่ม+ ความมั่งคั่งเพิ่ม
+ 600
เงินเหลือใช้กลายเป็นความมั่งคั่ง
23
เงินขาด
- สินทรัพย์ลด- สินทรัพย์ลด
+ หนี้สินเพิ่ม+ หนี้สินเพิ่ม
- ความมั่งคั่งลดลง
ใช้เงินเกินตัวสร้างความยากจน
24
งบรายได้ค่าใช้จ่าย
รายได้
ค่าใช้จ่าย
เงินเกิน / เงินขาด
(กําไร / ขาดทุน)
งบรายได้ค่าใช้จ่าย
รายได้
ค่าใช้จ่าย
เงินเกิน / เงินขาด
(กําไร / ขาดทุน)
งบดุล
สินทรัพย์
หนี้สิน
ความมั่งคั่งสุทธิ
(ส่วนของฉัน)
งบดุล
สินทรัพย์
หนี้สิน
ความมั่งคั่งสุทธิ
(ส่วนของฉัน)
งบการเงินส่วนบุคคล
งบการเงินที่ดีต้องมีสมดุล
ค่าใช้จ่ายต้องน้อยกว่ารายได้ / สินทรัพย์ต้องมากกว่าหนี้สิน
25
26
Learning by Doing
27
ต้องการรู้จักตัวเองมากขึ้น ทําอย่างไรดี?
เจาะลึกตรวจสุขภาพทางการเงิน
1. Survival ratio = รายได้ / ค่าใช้จ่าย
2. Saving ratio = เงินออม / รายได้
3. Liquidity ratio = สินทรัพย์สภาพคล่อง / เงินสดจ่ายต่อเดือน
4. Debt to Asset ratio = หนี้สินรวม / สินทรัพย์รวม
5. Debt service ratio = ยอดชําระหนี้ / รายได้รวม
สุขภาพทางการเงิน
ของคุณสมฤทัย
31
ไม่รู้ว่าใช้จ่ายอะไรบ้างในแต่ละเดือน
สาเหตุของปัญหาทางการเงิน
ทํางบการเงินส่วนบุคคล
เคล็ด (ไม่) ลับ...จัดการเงิน
32
มีเป้าหมายทางการเงินหรือยัง?
33
การกําหนดเป้าหมาย
ทําไมต้องมีเป้าหมายในชีวิต
ทําไมต้องมีเป้าหมายธุรกิจ
ทําไมต้องมีเป้าหมายทางการเงิน
ฉันอยากเป็นเศรษฐี
ฉันจะใช้หนี้ให้หมด
ฉันจะปลดหนี้จํานวน 200,000 บาทให้ได้ใน 3 ปี
ฉันจะเก็บเงิน 1,000,000 บาทเพื่อดาวน์บ้านให้ได้ใน 5 ปี
35
เป้าหมายชีวิตของฉัน
เป้าหมายทางการเงินของฉัน
36
จัดการเงิน.... จัดการชีวิต
37
รายได้ – รายจ่าย = เงินออม
รายได้ – เงินออม = รายจ่าย
ทําไมไม่มีเงินออม?
ทําอย่างไรให้มีเงินออม?
38
39
40
มหัศจรรย์ดอกเบี้ยทบต้น
WANTS vs. NEEDS
42
เปลี่ยนรายจ่ายให้เป็นเงินออม
43
44
45
กาแฟ วันละ 50 ปีละ 18,250
ของว่าง เครื่องดื่ม 30 10,950
ประหยัดค่าโทรศัพท์ 50 18,250
ประหยัดค่าเดินทาง 20 7,300
ออมเงิน 5 1,825
รวม 155 56,575
อย่าหมิ่นเงินน้อย
ถ้าประหยัดตอนอายุ 40 – 60 ปี นําเงินไปลงทุนได้ 7%
มีเงินใช้ในวัยเกษียณ 2,715,925 บาท
46
ซื้อหวย เดือนละ 400 ปีละ 4,800
ค่าบุหรี่ 500 6,000
ค่าเหล้า 1,000 12,000
ค่าโทรศัพท์ 500 6,000
รวม 2,400 28,800
อย่าหมิ่นเงินน้อย
ถ้าประหยัดตอนอายุ 40 – 60 ปี นําเงินไปลงทุนได้ 7%
มีเงินใช้ในวัยเกษียณ 1,382,565 บาท
47
หลวงปู่ชา สุภัทโท
มิใช่ให้เราหนีกิเลส
มิใช่ให้กิเลสหนีเรา
แต่จงอยู่กับมันอย่างมีสติ
เหมือนน้ํากับใบบัว
แม้อยู่ด้วยกันแต่น้ําก็ไม่อาจซึมเข้าใบบัวได้
ธรรมะกับการใช้เงิน
48
ธรรมะกับการรักษาเงิน
อุฏฺฐาตา กมฺมเธยฺเยสุ อปฺปมติโต วิธานวา
สมํ กปฺเปติ ชีวิตํ สมฺภตํ อนุรกฺขติ
ขยันทํางาน ไม่ประมาท ฉลาดในวิธีจัดการ
เลี้ยงชีพแต่พอดี ย่อมรักษาทรัพย์สมบัติให้คงอยู่และเพิ่มทวี
49
คาถาลดการซื้อ
ถูกแค่ไหน ถ้าไม่ใช้ ก็ไม่ซื้อ
50
สติมา... สตางค์อยู่
1. วางแผนการใช้จ่ายล่วงหน้า > ทํางบประมาณ
2. ตั้งเป้าลดรายจ่าย 5 – 10%
3. เน้นการใช้ประโยชน์สูงสุดจากสิ่งที่มี
4. หาวิธีเตือนสติตัวเอง
5. มีวินัยในการใช้จ่าย
51
เหตุย่อยยับแห่งโภคทรัพย์ ๖ ประการ
• สุราธุตตะ การดื่มสุราของมึนเมา
• อิตถุตตะ การเที่ยวกลางคืน / เป็นนักเลงผู้หญิง
• สมชฺชาภิ การดูการละเล่นเป็นประจํา / สิ่งบันเทิง
• อักขธุตตะ การเล่นการพนัน
• ปาปมิตตะ การคบคนชั่วเป็นมิตร
• อาลสฺสานุโยโค การเกียจคร้านการทํางาน
โภควิภาค ๔
แบ่งทรัพย์ที่หามาได้
เป็น ๔ ส่วน
เพื่อบริโภค &
บํารุงบิดามารดา
เผื่อฉุกเฉิน
ใช้ในการประกอบอาชีพ
ลงทุน / ขยายกิจการ
ใช้สติ...แบ่งสตางค์
53
เป็นหนี้อย่างมีสติ
54
ไม่เคยวางแผนการเงิน ไม่มีวินัยทางการเงิน
ใช้จ่ายเงินเกินตัว ฟุ่มเฟือย
เหตุฉุกเฉิน อุบัติเหตุ เจ็บป่วย
ทําธุรกิจขาดทุน
ไม่มีงานทํา ไม่มีรายได้
ความสุขชั่วคราว ที่สร้างความทุกข์ระยะยาว
ทําไมถึงเป็นหนี้
55
รู้จักดอกเบี้ยเงินกู้
รู้หรือไม่ ผ่อนรถกับผ่อนบ้าน จ่ายดอกเบี้ยไม่เท่ากัน?
ดอกเบี้ยคงที่
ผ่อนรถ ของใช้ โทรศัพท์
ดอกเบี้ยลดต้นลดดอก
ผ่อนบ้าน
เงินกู้ 80,000 80,000
อัตราดอกเบี้ยต่อปี 12% 12%
ระยะเวลาการกู้ 24 เดือน 24 เดือน
เงินผ่อนต่อเดือน 4,133 3,766
ดอกเบี้ยรวม 19,200 10,381
56
รู้จักดอกเบี้ยเงินกู้
อัตราดอกเบี้ยที่ต้องจ่าย = 2 * จํานวนงวดต่อปี * ดอกเบี้ยที่จ่าย
เงินต้น * (จํานวนงวดที่ผ่อน + 1)
= 2 * 12 * 19,200
80,000 * (24 + 1)
= 460,800
2,000,000
= 23.04%= 23.04%
อัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ vs ดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก
57
Checklist ก่อนเป็นหนี้
A B Debt Check
Need Want เรากําลังจะเป็นหนี้เพราะความจําเป็น (Need) หรือความต้องการ (Want)
Yes Not sure เราจะมีเงินผ่อนชําระหนี้ได้ตลอดรอดฝั่งหรือไม่
No Not sure ยอดเงินผ่อนหนี้จะมีผลกระทบต่อการใช้จ่ายในชีวิตประจําวันของเราหรือไม่
Yes Not sure ดอกเบี้ยต่องวดและดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่ายคุ้มค่ากับการเป็นหนี้หรือไม่
Yes No ถ้าไม่เป็นหนี้วันนี้... เดือนหน้าเราจะเดือดร้อนหรือไม่
No Not sure มีทางเลือกที่ดีกว่านี้จากเจ้าหนี้รายอื่นหรือหนี้ประเภทอื่นหรือไม่
No Not sure มีทางเลือกอื่นๆ นอกจากการเป็นหนี้หรือไม่
ที่มา: ไดอารี่การเงิน 365 วันแสนสุข (อัจฉรา โยมสินธุ์)
OK
58
1. เป็นหนี้เมื่อจําเป็น
2. เป็นหนี้ในจํานวนที่เหมาะสม
> 20/10 (ไม่รวมหนี้บ้าน)
= ยอดหนี้รวมไม่เกิน 20% ของรายได้ต่อปี
= ยอดผ่อนชําระไม่เกิน 10% ของเงินเดือน
> ยอดผ่อนชําระหนี้รวมไม่ควรเกิน 35 – 40% ของรายได้
3. เป็นหนี้ต้องใช้หนี้ / มีวินัยในการใช้หนี้
4. เป็นหนี้ต้องขยันทํางาน
เป็นหนี้อย่างมีสติ
59
รู้จักตัวเอง / กินอยู่ต่ํากว่าฐานะ
ทําบัญชีรายรับ รายจ่าย
อย่าหมิ่นเงินน้อย
เก็บเงินก่อนใช้เงิน
ไม่เป็นหนี้ โดยไม่จําเป็นเด็ดขาด
ใช้จ่ายเงินอย่างไร ไม่เป็นหนี้
60
อิณาทานํ ทุกขํ โลเก
การกู้หนี้เป็นทุกข์ในโลก
61
ลงทุนอย่างชาญฉลาด
62
เรื่องต้องรู้ก่อนลงทุน
รู้จักตัวเอง
รู้จักทางเลือก
รู้จักจังหวะ
There is no such thing as a free lunch
63
รู้จักตัวเอง
 เรามีเงินทั้งสิ้นจํานวนเท่าไร?
 เราต้องใช้เงินสําหรับค่าใช้จ่ายต่อไปนี้จํานวนเท่าไร?
ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจําวัน
 ค่ารักษาพยาบาล
 ค่าใช้จ่ายจําเป็นอื่นๆ
 เรามีเงินสํารองเผื่อฉุกเฉินเพียงพอหรือยัง?
หากมีเงินสดคงเหลือจํานวนมาก = รับความเสี่ยงได้
64
คําถามสําคัญก่อนการลงทุน
1. เราจะลงทุนเพื่ออะไร? เช่น
> ต้องการผลตอบแทนปีละ __ %
> ต้องการรายได้ประจํา
> ต้องการรักษาเงินต้น .... ฯลฯ
2. เรามีเงินลงทุนเท่าไร?
3. เราจะยอมรับขาดทุนได้เท่าไร?
65
66
ทางเลือกในการลงทุน
เงินฝากธนาคาร
กองทุนรวม
ตราสารหนี้
หุ้น
67
รู้จักทางเลือก > เงินฝากธนาคาร
อุตสาหกรรมกองทุนรวมในประเทศไทยเติบโตอย่างต่อเนื่อง
โดยระหว่างปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554 มีอัตราการเติบโตเฉลี่ย 24% ต่อปี
ในปี พ.ศ. 2554 กองทุนรวมมีมูลค่าสินทรัพย์ภายใต้การบริหาร (Asset under management)
มากกว่า 2 ล้านล้านบาทและมีผู้ลงทุนมากกว่า 2.4 ล้านบัญชี
กองทุนรวมเป็นทางเลือกในการลงทุนประเภทหนึ่ง
ที่ระดมเงินทุนจากผู้ลงทุนหลายรายรวมเป็นเงินทุนก้อนใหญ่เพื่อนําไปลงทุน
ในสินทรัพย์ลงทุน เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ หุ้นสามัญ ทองคํา หรืออสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น
รู้จักทางเลือก > กองทุนรวม
ที่มา: www.mfcfund.com
ตราสารหนี้ > ออกโดยภาครัฐ = พันธบัตร
> ออกโดยเอกชน = หุ้นกู้
หุ้นกู้ของบริษัท ABC ซึ่งมีราคาหน้าตั๋ว (Face value) หุ้นละ 1,000 บาท
จ่ายดอกเบี้ย (Coupon) 50 บาท/ปี อายุไถ่ถอน 10 ปี
รู้จักทางเลือก > ตราสารหนี้
71
พันธบัตรและหุ้นกู้
72
73
74
รู้จักทางเลือก > หุ้น / หลักทรัพย์
75
สัดส่วนการลงทุนตามประเภทของนักลงทุน
76
77
ความไม่รู้ คือ ความเสี่ยง
78
ลงทุนอย่างเซียน
มีความรู้
มีเป้าหมาย
มีความรอบคอบ
มีวินัย
79
เศรษฐีแสนสุข...
เป้าหมายที่เป็นจริงได้
80
หาเงินได้มากกว่า 12,000 ล้านบาท
มีหนี้สิน 800 ล้านบาท
เป็นบุคคลล้มละลาย
Mike Tyson
81
รายได้เดือนละ 22 ล้านบาท
?!?
“A penny saved is two pence dear”
Benjamin Franklin
Britney Spears
82
83
เพิ่มรายได้ ใช้ความเพียร
ลดรายจ่าย อาศัยความพอ
84
“ผู้ที่ได้มาก ต้องเป็นผู้ที่ให้มาก”
85
“ช่วยผู้อื่น ทําให้เรามีความสุข”
เฉินกวงเปียว.. สุดยอดอภิมหาเศรษฐีชาวจีน
86
87
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ทางสายกลาง
พอประมาณ
มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เงื่อนไขความรู้
(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
เงื่อนไขคุณธรรม
(ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน)
นําสู่
ชีวิต / เศรษฐกิจ / สังคม
สมดุล / มั่นคง / ยั่งยืน
88
การรู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ใช้อย่างมัธยัสถ์ รู้คุณค่า ดูแลรักษา พัฒนาต่อยอด
รักษาความพอดี พอประมาณตามความจําเป็น
ไม่มากเกินไปจนเกินศักยภาพ ไม่น้อยเกินไปจนขาดแคลน
ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ไม่ทําลายสิ่งแวดล้อม
รู้จักผลิตตามกําลัง > ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นก่อน
รู้จักบริโภคอย่างเหมาะสม
ความพอประมาณ
89
มีเหตุมีผล
ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลบนพื้นฐานความถูกต้อง
รู้จัก เข้าใจเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
และคํานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ
ไม่หวังประโยชน์เฉพาะในระยะสั้น
วางแผนอย่างรอบคอบ + คํานึงถึงส่วนรวม
รอบคอบ ขยัน อดทน แสวงหาความรู้สม่ําเสมอ
90
มีภูมิคุ้มกันที่ดี
เตรียมพร้อมรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
รู้จักเตรียมตัวรับมือกับการเปลี่ยนแปลง
ไม่เสี่ยง ไม่ประมาท
รู้จักประหยัด อดออม ไม่กู้หนี้ยืมสิน
รักษาสุขภาพให้แข็งแรง สมบูรณ์
ขยันหาความรู้ใหม่ๆ พัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง
91
ยังไม่จน อยู่อย่างจน จะไม่จน
ยังไม่รวย อยู่อย่างรวย จะไม่รวย
ประหยัดและใช้ประโยชน์สูงสุด
92
ฉันมั่งมี
ไม่ใช่เพราะฉันมีมากมาย
แต่เพราะฉันมีมากพอ
วางแผนการเงิน เพื่อสร้างความสมดุล
93
 รู้จักตนเอง ทํางบดุล จดรายรับ+รายจ่าย
 ตั้งเป้าหมายทางการเงินที่ดี มองอนาคตไกลๆ
 ตั้งใจจัดการเงินและจัดการตัวเองอย่างจริงจัง
 ใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ไม่สร้างภาพ
 มีวินัยทางการเงิน วินัยในการใช้ชีวิต
เรื่องต้องรู้ทางการเงิน
94
Thank you very much
Atchara Yomsin
atchara.y@bu.ac.th
Facebook
Atchara Yomsin
Youtube
อัจฉรา โยมสินธุ์
The Money ภารกิจพิชิตฝัน

More Related Content

Similar to Financial literacy university_slide

Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
Become a Millionaire วิธีสร้างตนให้เป็นเศรษฐี.pptx
Become a Millionaire วิธีสร้างตนให้เป็นเศรษฐี.pptxBecome a Millionaire วิธีสร้างตนให้เป็นเศรษฐี.pptx
Become a Millionaire วิธีสร้างตนให้เป็นเศรษฐี.pptxmaruay songtanin
 
Swu151 การออมเงิน
Swu151 การออมเงินSwu151 การออมเงิน
Swu151 การออมเงินARMYBTS11
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021Kasem Boonlaor
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงTaraya Srivilas
 
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงTaraya Srivilas
 
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's ProblemsEconomics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's ProblemsSarinee Achavanuntakul
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินmhiwmill
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินmhiwmill
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้mhiwmill
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.patmsy
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนtumetr1
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้mhiwmill
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินmhiwmill
 

Similar to Financial literacy university_slide (20)

Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจPเกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
 
Become a Millionaire วิธีสร้างตนให้เป็นเศรษฐี.pptx
Become a Millionaire วิธีสร้างตนให้เป็นเศรษฐี.pptxBecome a Millionaire วิธีสร้างตนให้เป็นเศรษฐี.pptx
Become a Millionaire วิธีสร้างตนให้เป็นเศรษฐี.pptx
 
Swu151 การออมเงิน
Swu151 การออมเงินSwu151 การออมเงิน
Swu151 การออมเงิน
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
 
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
 
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's ProblemsEconomics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 

More from buddykung

Manual for university_student
Manual for university_studentManual for university_student
Manual for university_studentbuddykung
 
Manual for trainer
Manual for trainerManual for trainer
Manual for trainerbuddykung
 
Question for workshop
Question for workshopQuestion for workshop
Question for workshopbuddykung
 
Manual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerManual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerbuddykung
 
Financial forms
Financial formsFinancial forms
Financial formsbuddykung
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshopbuddykung
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตรbuddykung
 
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มbuddykung
 
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็นbuddykung
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตรbuddykung
 
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงินbuddykung
 
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกรbuddykung
 
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)buddykung
 
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาbuddykung
 

More from buddykung (14)

Manual for university_student
Manual for university_studentManual for university_student
Manual for university_student
 
Manual for trainer
Manual for trainerManual for trainer
Manual for trainer
 
Question for workshop
Question for workshopQuestion for workshop
Question for workshop
 
Manual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerManual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainer
 
Financial forms
Financial formsFinancial forms
Financial forms
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshop
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
 
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
 
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
 
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
 
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
 
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
 
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
 

Financial literacy university_slide