SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
คํานํา
คูมือการเรียนรูการเงินดวยตนเองสําหรับกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
ฉบับกะทัดรัดนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการฝกอบรมในหัวขอ “การฝกอบรม
เพื่อสรางวิทยากรตัวคูณดานการใหความรูทางการเงินสําหรับกลุมอาชีวศึกษา
และอุดมศึกษา” จัดโดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) รวมกับ มูลนิธิ
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (มูลนิธิ สวค.) ในวันที่ 13 และ 15
พฤษภาคม 2558 ภายใตโครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคน
ไทย เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงิน
ของประเทศไทย ที่ประกอบไปดวยสถาบัน/องคกรที่เกี่ยวของกับการใหความรู
ทางการเงินประเทศไทย ที่พยายามผลักดันและยกระดับประเด็นเรื่องความรูทาง
การเงินเปนเรื่องที่มีความสําคัญอยางยิ่งแกสังคมไทย
กลุมเปาหมายของการฝกอบรมในครั้งนี้ คือ กลุมผูนํา ผูรณรงคและผูให
ความรูทางการเงิน ที่จะนําไปอบรมตอ (Training the trainer) เพื่อใหเกิด
ประสิทธิภาพในการเรียนรู การเขาใจในการสื่อสารกับกลุมอาชีพอิสระรายไดนอย
รวมถึงรวมแบงปนประสบการณในดานเทคนิคและวิธีการตาง ๆ ที่เหมาะสมใหผู
เขารับการอบรมสามารถนําความรูทางการเงินพื้นฐานไปถายทอดไดอยางมี
ประสิทธิภาพตอไป อนึ่ง คณะผูจัดทําขอขอบพระคุณอาจารย ดร. อัจฉรา
โยมสินธุ หัวหนาภาควิชาการเงิน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่ได
กรุณาใหเกียรติมาเปนวิทยากรใหความรูแกผูเขารวมอบรมในครั้งนี้ พรอมทั้ง
เรียบเรียงและรวมรวมความรูและประสบการณที่เกี่ยวของเพื่อนํามาจัดทําคูมือ
ฉบับนี้ไว ณ ที่นี้ดวย
คณะผูจัดทํา
สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.)
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 2
คัดสรรเรื่องราวทางจากเงินเพื่อรวมสรางภูมิคุมกันทางการเงินใหคนไทย
จากหนังสือ ไดอารี่การเงิน 365 วันแสนสุข
แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ
อํานวยการผลิตโดยฝายศูนยการเรียนรู ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 3
สารบัญ
หนา
รูอะไรก็ไมสู.. รูจักตัวเอง 4
วาดวยเรื่องการออมเงิน 21
ใชปญญาในการใชจาย 25
เปนหนี้อยางมีสติ 32
ลงทุนอยางมีความสุข 37
ชีวิตแสนสบายในวัยเกษียณ 49
http://www.financialeducation.or.th/fpo/
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 4
เคล็ดลับของมหาเศรษฐี
บนชั้นหนังสือ Best seller ใน
รานหนังสือทั่วไปมักจะมีหนังสือขายดี
ประเภทเคล็ดลับความรวย เปดใจมหา
เศรษฐีระดับโลกวางขายอยูมากมาย
หนังสือเหลานี้จะเปดเผยเบื้องลึก
เบื้องหลัง ที่มาที่ไปของความสําเร็จ
ของมหาเศรษฐีและอภิมหาเศรษฐีจาก
ทั่วโลก ซึ่ง
มหาเศรษฐี
เหลานี้มีความ
เหมือนกันใน
หลายแงมุม
ความเหมือนขอแรก ก็คือ “มหา
เศรษฐีสวนใหญไมไดเกิดมาบนกอง
เงินกองทอง” ความมั่งคั่งมหาศาลนั้น
เกิดจากน้ําพัก น้ําแรงที่ทํามาหาได
ในชวงชีวิตของเขาแทบทั้งสิ้น ขอสอง
คนกลุมนี้จะ
“มีเปาหมายที่ชัดเจน” ในการทํางาน
และการใชชีวิต เขารูวาเขาตองการ
อะไร ไมไดใชชีวิตเลื่อนลอยไปวันๆ
สวนเคล็ดลับสําคัญที่ทําใหคน
ธรรมดาหลายคนกลายเปนมหาเศรษฐี
ประเภท Self-made millionaire
ขึ้นมาได ก็ดวยหลักการงายๆ ที่องค
สมเด็จพระสัมมาสัม
พุทธเจาทรงสอนไว
กวาสองพันปมาแลว
คือ ใชหลัก “อิทธิ
บาทสี่” ที่
ประกอบดวย
ฉันทะ วิริยะ จิตตะ
วิมังสา หรือขอปฏิบัติที่จะทําใหการ
งานสําเร็จ ไดแก มีใจรัก พากเพียร
ทํา เอาจิตฝกใฝ ใชปญญาสอบสวน
เพียงเทานี้เราก็เปนมหาเศรษฐีไดขอ
เพียงลงมือทําจริงๆ ตามหลักอิทธิบาท
สี่อยางมีวินัย
ที่มา: http://infographicthailand.com/
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 5
ทําไมตองวางแผนการเงิน?
ถาเราเริ่มทํางานเมื่อเรียนจบ
ปริญญาตรีอายุ 22 – 23 ป แลว
ทํางานจนเกษียณ ในวัย 60 ป ก็
เทากับวาเราตองทํางาน 37 – 38 ป
หรือประมาณ 450 เดือน
ถาเราตั้งสมมติฐานวาเรา
จะมีชีวิตยืนยาวไปจนอายุ
80 ป แสดงวาเราจะมี
ชีวิตหลังเกษียณอีก 20
ป หรือ 240 เดือน หาก
เรามัวแตทํางานแบบ
เดือนชนเดือน ปชนป ไมคิดวางแผน
สําหรับอนาคต แลว 240 เดือน หลัง
เกษียณเราจะทําอยางไร? แลวถาเรา
ตองเกษียณเร็วขึ้น หรือมีอายุยืนยาว
ขึ้นถึง 85 - 90 ปละ?
เพื่อใหการใชชีวิต 200 –
300 เดือน หลังเกษียณเปนไปอยาง
แสนสุข...เราจึงควรวางแผนการเงิน
ตั้งแตเนิ่นๆ แผนการเงินที่ดีจะชวยให
เราเตรียม “เงินไวเพื่อ
อนาคตที่มั่นคง” ได เพราะ
เราจะบริหารจัดการ “เงิน
ในวันนี้” ไดอยางมี
ประสิทธิภาพ... เพราะความ
ไมแนนอนเกิดขึ้นได
เพราะคาครองชีพสูงขึ้นทุก
วัน เพราะ Lifestyle เปลี่ยนไปตาม
กระแสบริโภคนิยม เราจึงตองวางแผน
การเงินอยางรอบคอบ จะไดไมพลาด
โอกาสดีๆ ในชีวิต ใครอยากมี “วันนี้
แสนสบาย พรุงนี้แสนสุข” จึงตองรีบ
วางแผนการเงิน
ที่มา: http://www.elite-powerteam.com/sorakraiohm/article.php?artid=3960
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 6
เปาหมายทางการเงินที่ดี
ในการเดินทางทองเที่ยว
เปาหมาย
เปนตัวชวย
กํ า ห น ด
ทิศทาง บน
เสนทางชีวิต
ก็ไมตางกัน
เ พ ร า ะ
“เปาหมายชีวิต” ที่ชัดเจน ก็จะชวย
กําหนดวิถี ทางเดินใหชีวิตเราได
ดังนั้น การจะประสบความสําเร็จทาง
การเงินเราจึงตองมี “เปาหมายทาง
การเงิน” เพื่อกําหนดทิศทางหรือ
เสนทางทางการเงินเชนกัน เพื่อความ
สมดุลทางการเงิน ซึ่ง “เปาหมายทาง
การเงินที่ดี” ตองมีลักษณะสําคัญ 3
ประการ คือ
1. เปนเปาหมายที่มีความ
เปนไปไดที่จะทําใหสําเร็จ
(Achievable) คือ ไมใชเปนเพียง
ความฝนหรือความปรารถนา (Wish)
ลมๆ แลงๆ แตตองเปนเปาหมาย
(Goal) ที่เปนจริงได
2. เปนเปาหมายที่วัดคาหรือ
ระบุเปนจํานวนเงินไวชัดเจน
(Measurable) เพื่อใหเราสราง
แผนปฏิบัติการ (Financial Action
Plan) ไดอยางเปนรูปธรรม
3. เปนเปาหมายที่มีกรอบเวลา
หรือมี Timeframe ซึ่งควรกําหนดเปน
3 ระยะ คือ เปาหมายในระยะสั้นไม
เกิน 1 ป เปาหมายระยะกลางในชวง
1 – 5 ป และเปาหมายระยะยาวที่
เกินกวา 5 ปขึ้นไป
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 7
จากเปาหมาย กลายเปนแผน...
My Financial Road Map
เมื่อกําหนดเปาหมายชีวิต และ
เปาหมายทางการเงินชัดเจนแลว ก็
ตองทําใหเปน แผนการเงิน (Financial
Road Map หรือ Financial Action
Plan) ใหได อยางเชน
สมศรีมีเปาหมายจะออมเงินให
ได 40,000 บาท ภายในปนี้ เพื่อ
ปรับปรุงหองครัว สมศรีจึงวางแผนการ
ลดคาใชจายในการซื้อเสื้อผา ของ
ฟุมเฟอยและลดการทองเที่ยวลงเดือน
ละ 4,000 บาท 10 เดือน
สมศักดิ์มีเปาหมายจะเรียนตอ
ปริญญาโทในอีก 3 ปขางหนา ซึ่งมี
คาใชจายประมาณ 300,000 บาท
เขาจึงวางแผนจะทํางานพิเศษเพิ่มเพื่อ
เก็บเงินใหไดเดือนละ 8,500 บาท
การสรางแผนการเงินที่ชัดเจน
อยางสมศรีและสมศักดิ์ ทําใหรูวาใน
แตละเดือน แตละวัน เราตองทํา
อะไรบาง ตองปรับแผนการใชจาย
อยางไร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดาน
ใดบาง เพราะมีแผนที่ชัดเจนทําให
ไมตองเสียเวลาเดินหลงทาง จนอาจ
พลาดเปาหมายไปได นอกจากนี้ การ
วางแผนลวงหนายัง
ทําใหเราเตรียม
เงินนอยลงดวย
เพราะเราสามารถ
สรางผลตอบแทน
ไดในระหวางทางที่
เดินไปยังเปาหมาย
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 8
10 นิสัยยอดแยทางการเงิน... ที่ตองรีบแกไข
1. ใชจายแบบไมวางแผน ทั้ง
การจายซื้อของชิ้นใหญและซื้อของกิน
ของใชในชีวิตประจําวัน
2. ไมรูวามีเงินสดเทาไร เพราะ
ไดเงินมาก็ใชไป เงินหมดก็กด ATM
ไปเรื่อยๆ
3. ไมรูวาใชเงินเดือนละเทาไร
ไมรูวาใชจายเปนคาบางอะไร
4. เหนียวหนี้ โดยเฉพาะหนี้
บัตรเครดิต เพราะการจายหนี้ขั้นต่ํา
จะทําใหตองจายดอกเบี้ยมหาศาล
5. ใชกอนเก็บ เพราะมักลงเอย
ดวยการใชเงินจนหมดไมเหลือเก็บ
6. จนแตไมเจียม ชอบใช
จายเงินเกินตัว มีรสนิยมสูงเกินรายได
7. ไมสนใจดอกเบี้ย คาปรับ
หรือคาธรรมเนียมที่ตองจาย
8. ลงทุนแบบไมมีความรู ลงทุน
ตามขาว ตามกระแส ไมมีความรู
ความเขาใจเรื่องการลงทุนดีพอ
9. ไมมีการจัดสรรสินทรัพยหรือ
Asset Allocation ซึ่งเปนหัวใจสําคัญ
ในการสรางความมั่งคั่ง
10.ไมวางแผนการเงิน ไมมี
เปาหมายทางการเงินทั้งในระยะสั้น
และระยะยาว
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 9
เริ่มตนงายๆ ในการจัดการทางการเงิน
การทําความรูจักตัวเองทาง
การเงิน ทําไดไมยากเลย เริ่มตนจาก
การจดบันทึกขอมูลทางการเงินอยาง
สม่ําเสมอ ลองหาแฟมหรือกลองเกๆ
สักใบไวเก็บเอกสารหลักฐานทาง
การเงินของตัวเอง เพื่อใหเอกสาร
เหลานี้ไดอยูเปนที่เปนทาง คนหางาย
สะดวกแกการจดบันทึก สวนหลัก
งายๆ ในการจดก็คือ ใหแบงขอมูล
เปน 4 ประเภท คือ รายได คาใชจาย
สินทรัพย และหนี้สิน จากนั้นก็จัดเปน
2 กลุม คือ
1. รายได – คาใชจาย = เงินเกิน
(เงินขาด) และ
2. สินทรัพย – หนี้สิน = ความมั่งคั่ง
สุทธิ
เพียงเทานี้ เราก็ไดรูแลววา 1.
เรามีเงินเกินหรือขาดจํานวนเทาใดใน
แตละชวงเวลา และ 2.เรามีความมั่งคั่ง
มั่นคงทางการเงินเพียงใด หากใครมี
เงินเกินหรือใชจายนอยกวารายได
บอยๆ ก็จะมีความมั่งคั่งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
เพราะมีเงินเหลือไปจัดการหนี้สินให
ลดลงหรือไมก็สรางสินทรัพยให
เพิ่มพูนขึ้น
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 10
รูลึก รูจริง รายการทางการเงิน
เพื่อความมั่นใจในการจด
บันทึกและทํางบการเงิน เรามาทํา
ความรูจักรายการทางการเงินทั้ง 4
ประเภทกันกอน เริ่มจาก รายไดและ
คาใชจาย ซึ่งคงเปนที่รูจักกันอยูแลว
เพราะรายไดก็คือ เงินสดที่ไดรับ สวน
คาใชจายก็ชัดเจนอยูในตัวเอง เพราะ
เงินสดไหลผานมือออกไปทุกวัน ขอ
สําคัญในการจดรายไดและคาใชจายก็
คือ เราจะจดเฉพาะรายไดและ
คาใชจายที่เปน “เงินสด” เทานั้น
คาใชจายที่ยังคางชําระอยู ยังไมไดจาย
หรือรายไดที่ควรจะได แตยังไมไดรับ
ก็ยังไมตองจด
สําหรับ สินทรัพย หลายคน
อาจจะงงเพราะมีทรัพยสินเงินทอง
ขาวของเต็มไปหมด จะจดอยางไรดี?
ลองพิจารณาวา ขาวของที่มีอยูนั้น
สามารถนําไปขายไดหรือไม ถาขายได
ก็จดได โดยจดตาม “ราคาที่จะขาย
ได” อยางรถยนตซื้อมา 1 ลานบาท
เมื่อ 4 ปกอน ถาขายจะได 250,000
บาท ก็จดแค 250,000 บาท
สุดทาย หนี้สิน ก็คือภาระผูกพัน
ที่เราตองชําระคืนในอนาคต เปนหนี้
คาอะไร เทาไรก็จดไวใหหมด โดย
แบงเปนหนี้สินระยะสั้นที่ตองชําระ
ภายใน 1 ป กับหนี้สินระยะยาวที่มี
อายุหนี้มากกวา 1 ป
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 11
ขาดๆ เกินๆ ทุกเดือน
การบันทึกรายได คาใชจายหรือการ
ทํา “งบรายไดคาใชจายสวนบุคคล”
จะชวยใหเรามองเห็น
พฤติกรรมการใชชีวิต
ผานการใชจายไดอยาง
ชัดเจน เพราะกิจกรรม
สวนใหญในชีวิตมัก
เกี่ยวของกับการหาเงิน
และการใชเงิน และ
เพื่อใหงบสะทอน
พฤติกรรมของเราไดชัดขึ้น เราควรทํา
งบรายได คาใชจายเปนประจําทุก
เดือน แลวสรุปรวมเปนรายป โดยให
แบงประเภทรายไดและคาใชจาย ดังนี้
รายไดรวม = รายไดจากการ
ทํางาน + รายไดจากสินทรัพย (เชน
ดอกเบี้ยรับ เงินปนผล คาเชารับ)
และ คาใชจายรวม = คาใชจายคงที่
+ คาใชจายยืดหยุน โดยคาใชจายคงที่
ไดแก คางวดผอนบาน ผอนรถ คา
เบี้ยประกัน ฯลฯ สวนคาใชจาย
ยืดหยุนจะเกิดขึ้นไมเทากัน ผันแปร
ไปตามกิจกรรมที่เราทําใน
เดือนนั้นๆ เชน คาอาหาร
คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท คา
เสื้อผา คา Entertainment
หรือ เงินทําบุญ เปนตน
เพียงเทานี้เราก็จะ
เห็นชัดขึ้นวารายไดสวนใหญ
ของเรามาจากไหนและใช
จายไปอยางไรบาง สรุปแลวเรามีเงิน
ขาด เงินเกินเทาไร; รายไดรวม –
คาใชจายรวม = เงินเกิน (เงินขาด)
ในแตละเดือน
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 12
ตัวอยาง งบรายไดคาใชจายของสมฤทัย
สําหรับงวด 1 ป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x1
รายได (Income)
รายไดจากการทํางาน: เงินเดือน 900,000
รายไดจากสินทรัพย: ดอกเบี้ยและเงินปนผล 98,000
รายไดรวม 998,000
คาใชจาย (Expenses)
คาใชจายคงที่ (Fixed Expenses): เงินออม 85,000
คาผอนบาน ผอนรถ 540,000
คาใชจายยืดหยุน (Flexible Expenses): คาอาหาร 89,200
คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท 69,000
คาเดินทาง 78,800
เบ็ดเตล็ด 50,000
คาใชจายรวม 912,000
เงินเกิน (Cash Surplus) [998,000 – 912,000] 86,000
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 13
มีกินมีใช?
งบรายไดคาใชจาย นอกจากจะ
ชี้ใหเห็นเงินเกินหรือเงินขาดในแตละ
เดือนแลว เรายังสามารถเปรียบเทียบ
เปนอัตราสวนเพื่อวิเคราะหเจาะลึก
สถานการณทางการเงินสวนตัวไดอีก
ดวย
อัตราสวนความอยูรอด
(Survival Ratio) = รายไดรวมตอป
/ คาใชจายรวมตอป
จากตัวอยางงบ สมฤทัยมี
เงินเดือน ปละ 900,000 บาท
ดอกเบี้ยและเงินปนผลรวม 98,000
บาท มีคาใชจายเฉลี่ย เดือนละ
76,000 บาท ดังนั้น สมฤทัยมี
Survival Ratio = 998,000/
912,000 = 1.09 เทา ซึ่งมากกวา 1
แสดงวาสมฤทัยมีรายไดเพียงพอกับ
ภาระคาใชจายที่เกิดขึ้น
ใครที่คํานวณอัตราสวนนี้ไดต่ํา
กวา 1 แสดงวาสถานการณทางการ
เงินไมคอยดี เรียกวา “ชักหนาไมถึง
หลัง” เพราะมีรายไดนอยกวา
คาใชจาย ตองเรงหาทางเพิ่มรายได
หรือตัดลดรายจาย ไมงั้นคงจะอยูรอด
ยาก หากเราพิจารณากรณีของสม
ฤทัยอยางรอบคอบ จะเห็นวา เธอมี
คาใชจายปละ 912,000 บาท ถาเธอ
ไมมีรายไดจากดอกเบี้ยและเงินปนผล
มีเงินเดือน
เปนรายได
อยางเดียว
เธอก็จะมี
เ งิ น ไ ม
พอใชจาย
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 14
อิสรภาพทางการเงิน... วัดอยางไร?
“อิสรภาพทางการเงิน” ใคร
บางไมอยากมี? เอ.. แลวเมื่อไรจึงจะ
เรียกวา เรามีอิสรภาพทางการเงินละ?
คําตอบก็คือ เมื่อใดที่เรามีรายไดจาก
สินทรัพยเพียงพอกับคาใชจาย โดยไม
ตองพึ่งพารายไดจากการทํางานหลัก
เมื่อนั้นเราก็มีอิสรภาพทางการเงิน คือ
มีเงินใชจายโดยไมตองทํางานอีก
ตอไป
ตัวอยางเชน คุณสมสมร มี
เงินเดือนปละ 960,000 บาท ได
ดอกเบี้ยจากเงินฝากออมทรัพย เงิน
ฝากประจําและพันธบัตร 225,000
บาท เงินปนผลจากกองทุนรวม
185,000 บาท คาเชาคอนโด 3 หอง
480,000 บาท คาเชาที่ดิน 132,000
บาท รวมแลวสินทรัพยของคุณสมร
สมรสรางรายไดใหเธอ ปละ
1,022,000 บ า ท (225,000 +
185,000 + 480,000 + 132,000) ซึ่ง
มากกวาเงินเดือนที่เปนรายไดจาก
การทํางาน ถาเธอมีคาใชจายรวมไม
เกิน 1,022,000 บาทตอป รายได
จากสินทรัพยของเธอก็เพียงพอกับ
ภาระคาใชจายโดยไมตองพึ่งพารายได
จากการทํางาน... หรือเราสามารถ
คํานวณความเปนอิสรภาพทางการเงิน
ไดจาก
อัตราสวนอิสรภาพทางการเงิน
= รายไดจากสินทรัพยตอป /
คาใชจายตอป ใครที่มีอัตราสวนนี้
มากกวา 1 แสดงวามีอิสรภาพทาง
การเงินแลวละ
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 15
งบดุลชีวิต
งบการเงินสวนตัวที่จะบอกได
วา “ตอนนี้ ฐานะของเราเปนอยางไร
เรามีความมั่งคั่ง มั่นคงทางการเงิน
เพียงใด” ก็คือ งบดุลสวนบุคคล งบนี้
เปนจุดเริ่มตนในการวางแผนการเงิน
ของเรา เพราะจะบอกวา “เราอยู ณ
ที่ใด” หรือ “ขณะนี้เรามีความมั่งคั่ง
ในระดับใด” หากเราจะเดินทางไปยัง
ความมั่งคั่งเปาหมายตามที่ตองการ
เรายังขาดอะไรอีกเทาใด เพราะความ
มั่งคั่งสุทธิ = สินทรัพย – หนี้สิน
ความหมายก็คือ เรามีสินทรัพย
เพียงพอในการชําระหนี้สินหรือไม ถา
“สินทรัพยมากกวาหนี้สิน ถือวามี
ความมั่งคั่ง” ในทางตรงขาม ถาใครมี
สินทรัพยมากมาย ทั้งบานหลังใหญ
รถยนตคันโก เครื่องเพชรราคาแพง
แตก็มีหนี้สินมหาศาล ทั้งหนี้จํานอง
หนี้ผอนรถ ผอนบัตร ผอนแบงค ถา
ขายสินทรัพยไปหมดแลว ยังไมพอ
ชําระหนี้สิน ซึ่งถือวา “หนี้สินลนพน
ตัว” เพราะความมั่งคั่งติดลบ ความ
มั่นคงในชีวิตก็จะพลอยย่ําแยไปดวย
เพราะตัวเลขในงบดุลสะทอน
ความเปนตัวตนของเราไดมากมาย งบ
ดุลสวนบุคคลนี้ ที่แทก็คือ งบดุลชีวิต
ใครอยากมีชีวิตที่สมดุล ไมตองปวด
หัวกับภาระหนี้ ตองไมกอหนี้จน
มากกวาสินทรัพย
ที่มา: http://prrealestates.exteen.com/20130910/entry
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 16
ตัวอยาง งบดุลของสมฤทัย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1
สินทรัพย หนี้สิน
สินทรัพยเพื่อสภาพคลอง หนี้สินระยะสั้น
เงินสด 19,000 หนี้บัตรเครดิตธนาคาร ABC 18,500
เงินฝากธนาคาร 280,000 หนี้บัตรเครดิตธนาคาร XYZ 22,400
สินทรัพยเพื่อการบริโภค หนี้ผอนคอมพิวเตอร 10 เดือน 28,000
คอมพิวเตอร 34,000 หนี้สินระยะยาว
เครื่องประดับ 159,000 หนี้คาบานและที่ดิน 860,000
สินทรัพยถาวร หนี้คารถยนต 130,000
บานและที่ดิน 950,000 หนี้สินรวม 1,058,900
รถยนต 280,000
สินทรัพยเพื่อการลงทุน
กองทุนรวม 335,000
สินทรัพยรวม 2,057,000 ความมั่งคั่งสุทธิ 998,100
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 17
สภาพคลอง ตองพอดีๆ... ไมมากไป ไมนอยไป
การรักษาสภาพคลองให
พอเหมาะพอดี คือ การมีสินทรัพย
เพื่อสภาพคลองในระดับที่เหมาะสม
สําหรับ “ใชจายในชีวิตประจําวัน”
และ “สํารองไวใชยามฉุกเฉิน”
เนื่องจากสินทรัพยเพื่อสภาพคลอง
เปนสินทรัพยที่มีความเสี่ยงต่ํา จึงให
ผลตอบแทนต่ํา การมีสินทรัพยเพื่อ
สภาพคลองมากเกินไป จะทําใหเสีย
โอกาสในการเพิ่มความมั่งคั่งไปอยาง
นาเสียดาย เราสามารถวัดสภาพคลอง
ที่เหมาะสมไดจาก
อัตราสวนสภาพคลองพื้นฐาน
(Basic Liquidity Ratio) = สินทรัพย
เพื่อสภาพคลอง / คาใชจายตอเดือน
จากงบการเงินทั้งสองงบ คุณสม
ฤทัยมีอัตราสวนสภาพคลองพื้นฐาน =
299,000 / 76,000 = 3.93 ซึ่ ง
หมายถึงสินทรัพยเพื่อสภาพคลองที่เธอ
มีจะเพียงพอสําหรับการใชจายได
เกือบ 4 เดือน โดยทั่วไป สภาพคลอง
ที่เหมาะสมควรอยูระหวาง 3 – 6
เดือน เพื่อการันตีวาหากมีเหตุการณ
ฉุกเฉินเกิดขึ้น ทําใหเราตองสูญเสีย
รายได อยางเชน การตกงานหรือ
เจ็บปวยจนไมสามารถคาขายได เราก็
ยังมีสภาพคลองหรือมีเงินพอใชจายได
3 - 6 เดือน ในชวงปรับตัวเพื่อการ
สรางรายไดใหมทดแทน
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 18
หนี้สิน... จัดการได
นอกจากปริมาณหนี้สินที่
พอเหมาะพอดีแลว การชําระหนี้ก็เปน
สิ่งสําคัญที่เราตองสรางความสมดุลให
ได เพราะเงินที่หามาไดจะถูกจัดสรร
ไปเปนทั้งเงินออม คาใชจายและเงิน
ชําระหนี้ หากเรามีภาระหนี้ที่ตองผอน
ชําระมากเกินไปในแตละป เงินออม
ของเราก็จะถูกลดทอนลงไป เราจึง
ควรประเมินจํานวนหนี้ที่ตองชําระ
อยางตอเนื่อง จากอัตราสวนวัด
ความสามารถในการชําระหนี้ (Debt
Service Ratio) = จํานวนหนี้ที่ตอง
ชําระตอป / รายไดรวมตอป
อัตราสวนนี้ ยิ่งต่ํายิ่งดี เพราะ
แสดงวารายไดถูกแบงไปชําระหนี้ใน
อัตราที่ต่ํา ถาอัตราสวนนี้ของใคร
มากกวา 1 แสดงวามีรายไดไมพอใช
หนี้ มีแนวโนมตองกอหนี้เพิ่มขึ้น
เรื่อยๆ และเสี่ยงตอการมีหนี้สินลนพน
ตัว ในกรณีคุณสมฤทัย อัตราสวนนี้
เทากับ 540,000 / 998,000 = 0.54
เทา แสดงวาเงินที่เธอหามาไดจาก
ตองนําไปชําระหนี้ถึง 54% ซึ่งสวน
ใหญเปนการผอนชําระหนี้คาบานและ
รถยนต ซึ่งหนี้รถยนตเหลืออีกไมมาก
นัก เมื่อเธอชําระหมด ก็จะมีเงินออม
และเงินสําหรับใชจายเพิ่มขึ้น
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 19
ปนี้... คุณออมเงินไดเทาไร?
ใครไมแนใจวาตัวเองออมเงินไดเทาไร เหมาะสมแลวหรือยัง ใหลองคํานวณ
อัตราสวนการออม (Saving Ratio) = เงินออมตอป / รายไดรวมตอป
แมวาจํานวนเงินออมที่ “พอดี”
สําหรับทุกคนเปนเรื่องยากที่จะฟนธง
ใหชัดเจนได แตก็มีกูรูทางการเงิน
สวนบุคคลหลายทาน เห็นตรงกันวา
เราควรออมเงินอยางนอย 10% ของ
รายไดรวม แตความ “พอใจ” ของ
แตละคนยอมแตกตางกัน บางคน
อาจจะออม 5% บางคนออม 20%
30% หรือ 60% ตามเหตุปจจัยทาง
การเงินของแตละคน จะอยางไรก็ตาม
คงตองหาใหเจอวา ความ “พอดี”
ในการออมของเราอยูตรงไหน เพราะ
การออมเงิน “นอยเกินไป” ก็มีความ
เสี่ยงดานความมั่นคงทางการเงินใน
อนาคต สวนการออมเงิน “มาก
เกินไป” โดยไมนําไปลงทุนอยาง
เหมาะสม อาจทําใหเงินออมที่มีอยูมี
ขนาดเล็กลงเพราะถูกกัดกรอนโดย
เงินเฟอ ใครออมนอยไป ลองหาทาง
เพิ่มเงินออมอีกสักนิด ปรับลด
คาใชจายลงบาง เพื่อใหออมไดอยาง
นอย 10% ของรายได สวนใครออม
เงินมากไป ก็ตองเรงหาความรูดาน
การลงทุนใหรอบดานเพื่อหาทางขยับ
ขยายตอยอดเงินออมหรือจะหาที่
ปรึกษาทางการเงินมาชวยวางแผนการ
ลงทุนก็ยิ่งดี
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 20
เงินเหลือใช กลายเปนความมั่งคั่ง
งบรายไดคาใชจายชวยใหเรา
เห็น “พฤติกรรมการใชจายในแตละ
ชวงเวลา” อยางชัดเจน สวนงบดุลจะ
แสดง “ความมั่งคั่งทางการเงิน ณ
เวลาใดเวลาหนึ่ง” ใครอยากมีความ
มั่งคั่ง มีฐานะทางการเงินที่แข็งแกรง ก็
ตองสราง “สินทรัพยใหมากกวา
หนี้สิน” ซึ่งใครมีเงินเหลือ หรือมี
“รายไดมากกวาคาใชจาย” ก็จะชวย
สรางความมั่งคั่ง (Net Wealth) ได
ดวย เพราะเมื่อมีเงินเกิน (Cash
Surplus) เราก็มีเงินสด มีเงินฝาก
ธนาคารหรือนําไปซื้อสินทรัพยเพิ่มได
ในอีกทางหนึ่งเราอาจจะนําเงินเหลือ
ไปชําระหนี้สินก็ได เมื่อสินทรัพย
เพิ่มขึ้นหรือหนี้สินลดลง ความมั่งคั่ง
ของเราก็จะเพิ่มขึ้นดวย...
เพราะความมั่งคั่ง = สินทรัพย – หนี้สิน การใชจายนอยกวาที่หาได จึงเพิ่ม
ความรวยใหเราไดอยางไมตองสงสัย
สินทรัพยเพิ่มขึ้น
เงินเกิน ความมั่งคั่งสุทธิ
หนี้สินลดลง
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 21
Extra Money เงินที่ตองหาใหเจอ
“อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตน
แลเปนที่พึ่งของตน” หนทางหนึ่งใน
การเพิ่มรายไดแบบพึ่งพาตนเองไม
ตองรอเจานายขึ้นเงินเดือนใหก็คือ
การเก็บเงินที่ตกหลนอยูรอบๆ ตัวเรา
... เชน การงดทานของหวานหรือ
อาหารมื้อเย็นสัปดาหละวันสองวัน ที่
จะชวยใหประหยัดคาอาหาร ชวยลด
ไขมันสวนเกินในรางกาย และอาจจะ
ทําใหใสเสื้อผาที่มีอยูไดอีกหลายชุด
ซึ่งก็จะประหยัดคาเสื้อผาไดอีก
สวนใครที่ซื้อกาแฟดื่มวันละ
50-60 บาท ถาชงดื่มเอง ราคาจะ
ลดลงเหลือแกวละไมถึง 5 บาท ก็จะ
ประหยัดเงินไดเกือบ 20,000 บาท
ตอปทีเดียว สวนใครที่ชงดื่มเองอยู
แลว ใหลองประหยัดน้ําตาล ครีม
เทียมหรือนมลงสักครึ่งนึง เพียงเทานี้
... คาน้ําตาลก็จะลดลงอัตโนมัติ
เพราะน้ําตาลที่มีอยูก็จะใชไดนานขึ้น
เทาตัว ไมตองรอลดราคากิโลละบาท
สองบาทแลวเสียเวลาขับรถไปซื้อมา
กักตุนไว...
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 22
ลองคิดดูวาเราจะประหยัดคากาแฟ ของหวาน ขนมขบเคี้ยวที่ไมมีประโยชน
ไดทันทีปละเทาไร แลวยังสามารถประหยัดเงินทางออมไดอีก ไมวาจะเปนสุขภาพที่
ดีขึ้น คาเสื้อผา คารักษาพยาบาล คาหมอ คายา คาอาหารเสริมที่ลดลง
อยาหมิ่นเงินนอย
มีคาใชจายเล็กๆ นอยๆ ที่เรามักละเลยเพราะเปนเงินจํานวนเล็กนอย แต
คาใชจายเหลานี้จะสะสมกลายเปนเงินกอนใหญๆ ได และถาเรานําไปลงทุนขยาย
ดอกผล เงินกอนนี้ก็จะไมใชเงินเล็กๆ อีกตอไป
คาใชจายที่ประหยัดได บาทตอวัน บาทตอป
คากาแฟ 50 18,000
น้ําอัดลม น้ําหวาน 30 10,800
ลูกอม ขนมขบเคี้ยว 40 14,400
คาธรรมเนียมจายชําระคาบัตรเครดิต คา
โทรศัพท คาน้ํา คาไฟ คาเคเบิ้ล (รายเดือน) 3 1,080
คาน้ํา คาไฟที่เปดทิ้ง 10 3,600
คาโทรศัพท 20 7,200
รวม 153 55,080
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 23
กระบวนการสรางเงินออม
“เงินที่หามาไดหรือจะมีคาเทา
เงินที่รักษาไวได” หลายคนหาเงิน
ไดมาก แตก็ใชเงินมากพอๆ กับที่หา
ไดเลยไมมีเงินจะออม... ใครอยากมี
เงินออมกอนโตๆ แตยังทําไมไดซักที
ใหตั้งใจจริงจังแลว... ลอง
1. ตั้งเปาหมายการออม คือกําหนดลง
ไปเลยวา เราจะออมเงินเพื่ออะไร
จํานวนเทาไร และใชเวลาเทาใด
2. ออมทันทีที่มีรายได หรือ Pay
yourself first ที่เราไดยินอยูบอยๆ
แตหลายคนก็ยังไมไดทําสักที ใครยัง
ทําไมคอยจะได คงตองหาตัวชวย เชน
การหักเงินเดือนอัตโนมัติเขาสหกรณ
หรือลงทุนในกองทุนรวมที่มีบริการตัด
บัญชีเงินฝากทุกสิ้นเดือน เปนตน
ลองเริ่มตนออมที่ 5% กอนแลวคอยๆ
เพิ่มเปน 10% ใหได
3. ออมสม่ําเสมอ การสรางนิสัยการ
ออมที่ดี คือการมีกําหนดตารางการ
ออมที่ชัดเจน ไมวาจะเปนทุกวัน ทุก
สัปดาห ทุกเดือน หรือจะเปนทุกครั้ง
ที่มีรายไดก็ตาม ความสม่ําเสมอนี้จะ
คอยๆ พัฒนาเปนนิสัยที่ดี เพราะความ
สม่ําเสมอจะสรางวินัยทางการเงินให
เราแบบอัตโนมัติ
“เพียงเทานี้ตัวเลขเงินออมในบัญชีก็จะคอยๆ เพิ่มพูนขึ้น
จนคุณอาจจะไมเชื่อสายตาตัวเองเลย”
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 24
ออมหนึ่งสวน ใชสามสวน
ออมหนึ่งสวน ใชสามสวน หรือ
จะออมสองสวน ใชสี่สวน เอ... หรือ
จะออมสามสวน ใชสักสองสวนดี...
ใครจะออมกี่สวนและจะใชกี่สวน ก็
ควรพิจารณาใหสอดคลองกับ
พฤติกรรมและสถานการณทางการเงิน
ของตัวเอง แตถาใครใชเงินแบบไม
เคยวางแผนลวงหนา เหลือกี่สวนก็
ออมเทานั้น ไมเหลือก็ไมออม ขืน
เปนแบบนี้ไปเรื่อยๆ อีกหนอยก็คงจะ
แย เราลองมาดูแนวทางการจัดสรร
ทรัพยที่พระพุทธองคทรงเมตตาสอน
ไวตั้งแตสมัยพุทธกาล หรือ “หลักโภค
วิภาค ๔” เผื่อจะชวยเราจัดการ
ทรัพยสินไดดีขึ้น
เริ่มจากใหแบงเงินรายไดเปนสี่
สวนเทาๆ กัน แลวสวนแรก 25% เอ
เกน โภเคภุฺเชยฺย สําหรับใชจายเลี้ยง
ตนและเลี้ยงดูคนที่ควรบํารุง ทั้งพอแม
ผูใหญที่อุปการะเลี้ยงดูเรามา
สองสวนตอมา รวมกันเปน 50%
ทฺวีหิ กมฺมํ ปโยชเช สําหรับการลงทุน
ประกอบกิจการงานอาชีพเพื่อให
ทรัพยที่มีไดเพิ่มพูนขึ้น ใครทํางานกิน
เงินเดือนก็ใชเปนคาใชจายตาในการ
ทํางาน การพัฒนางาน
และสวนสุดทาย 25% จตุตฺถฺจ
นิธาเปยฺย ทานทรงสอนใหเก็บไวใช
ยามจําเปน
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 25
คุณสมชายผูไมยอมตกเทรนด
ส ม ช า ย ช อ บ เ ป ลี่ ย น
โทรศัพทมือถือตามเทรนด ตามแฟชั่น
โดยเฉลี่ยสมชายจะเปลี่ยนโทรศัพท
ทุกๆ 6 เดือน หากสมชายมีเงินเดือน
40,000 บาท แลวใชโทรศัพทเครื่อง
ละหมื่นกวาบาท แสดงวาสมชาย
จะตองใชเงินประมาณ 5% ของ
รายไดทั้งปไปกับการเปลี่ยนโทรศัพท
ซึ่งเงินจํานวนนี้จะสะสมเปนเงินไม
นอยเลย ถาสมชายมีพฤติกรรมเชนนี้
ในชวงที่เขาทํางานสัก 20 ป
ในทางตรงกันขาม ถาเขาใช
โทรศัพทมือถือแตละเครื่องตามอายุ
การใชงาน 2 – 3 ป โดยไมสนใจ
รูปลักษณ หรือลูกเลนใหมๆ เนน
เฉพาะฟงกชั่นการใชงาน สมมติ
สมชายเลือกใชโทรศัพทเครื่องละ
5,000 – 6,000 บาทแลวใชสัก 3 ป
เขาจะใชเงินเพียง 0.3% ของรายได
ตอปเทานั้น และเขาก็จะมีเงินเก็บ
เพิ่มขึ้น ซึ่งหากรวมกับดอกเบี้ยทบตน
ตลอดชวง 20 ปแลว เงินกอนนี้จะทวี
คากลายเปนเงินลานได หากไดรับ
ผลตอบแทนประมาณ 8% ตอป
ดังนั้น การ Update มือถือ
โนตบุค ลอแม็ก รองเทา นาฬิกา
แวนตาเพื่อให in trend ตลอดเวลา
อาจทําใหสมชายเกษียณอายุจากการ
ทํางานชากวากําหนด หรือไมสามารถ
เกษียณจากการทํางานไดเลย
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 26
บัญญัติ 5 ประการเพื่อการใชจายอยางชาญฉลาด
1. ตั้งงบประมาณการใชจาย
เสมอ เพราะการทํางบประมาณจะชวย
ใหเราจัดลําดับความสําคัญของ
“ความจําเปน” และ “ความ
ตองการ” ในการใชจายตั้งแตเริ่ม
ซึ่งเปนการบังคับให “คิดกอนซื้อ”
นั่นเอง
2. เปรียบเทียบเพื่อใหไดของดี
ในราคาที่เหมาะสม โดยเฉพาะขาว
ของที่มีราคาสูง อยารีบตัดสินใจซื้อ
ควรขยันเปรียบเทียบหลายๆ ยี่หอ
หลายๆ ราน แมจะไมมีของฟรีในโลก
แตของดีก็มีอยูจริง
3. ทําสรุปรายการใชจาย
สม่ําเสมอ อาจเสียเวลาบาง แตผลที่
ไดรับรองคุมคา เพราะเราจะไดเขาใจ
พฤติกรรมการใชจายสวนตัว และ
เห็นชัดวาเงินสดถูกใชไปอยางไร
คาใชจายใดมีสัดสวนมากที่สุด
4. ใชจายใหนอยกวารายได
เสมอ ฟงดูงายๆ ไมซับซอน แตก็เปน
ปญหาใหญของหลายคนที่ตองรีบ
แกไข วิธีหนึ่งที่จะชวยไดแนๆ ก็คือ
เมื่อมีรายได ใหออมเงินกอนใชจาย
5. ไมซื้อแบบไมตั้งใจ อยาซื้อ
ของเพราะโปรโมชั่นดี เพราะมีของ
แถม เพราะลดราคา เพราะเกรงใจ
พนักงานขาย หรือแวะหางสรรพสินคา
เพราะเปนทางผานเลยซื้อ... ตอไปนี้
ไมซื้อถาไมจําเปน
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 27
สติมา... สตางคอยู
กระแสบริโภคนิยมภายใตการ
แขงขันทางการตลาดที่รุนแรงสราง
สีสันในชีวิตใหผูบริโภคตาดําๆ อยาง
เราอยูไมนอย ทั้งการลด แลก แจก
แถม Mighty Mega Super Summer
Sale...ฯลฯ โปรโมชั่นสีสัน สวยงาม
แสนจะเยายวนใจทางการตลาด
เหลานี้ ดึงเงินออกไปจากกระเปาเรา
ไมนอยในแตละเดือน
หลายคนซื้อของที่ทั้งไมตองใช
ซื้อทั้งที่ไมมีเงิน ซื้อทั้งที่มีอยูแลวที่
บาน แตเพราะไดราคาพิเศษ ได
สวนลด ไดผอนแบบไมมีดอกเบี้ย จึง
ซื้อ!!! ใครหลงไปตามกลเกมการตลาด
บอยๆ จนที่บานเริ่มเต็มไปดวยขาว
ของที่เกินความจําเปน คงตองสํารวจ
ตนเองสักหนอยวา ตอนที่ตัดสินใจ
ซื้อขาวของเหลานั้น ซื้อเพราะอะไร?
การซื้อเพียงเพื่อใหเกิดความพึงพอใจ
หรือเพื่อบําบัดความตองการ อาจ
สงผลกระทบทางการเงินในระยะยาว
ได เชน มีหนี้สินลนพนตัว ไมมีเงิน
สํารองเผื่อฉุกเฉิน ไมมีเงินออม เปน
ตน
ดังนั้น ทุกครั้งที่จะซื้อ จะใช
จาย หรือจะบริโภคควรคิดใหรอบคอบ
กอนตัดสินใจ ตั้งสติแลวถามตัวเอง
สักหนอยวา ความพึงพอใจที่จะไดรับ
นั้นจะสรางประโยชนหรือเพิ่มคุณภาพ
ชีวิตใหเราไดหรือไม
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 28
4 แผนการปรับปรุงการใชจาย
เพราะรายไดสวนใหญถูกใชจาย
ไปในชีวิตประจําวัน ขาวของก็ปรับ
ราคาขึ้น หากไมวางแผนการใชจายให
ดีพอ ปญหาหนี้สินหรือการไมมีเงิน
ออมในวัยเกษียณอาจเกิดขึ้นได เพื่อ
สรางภูมิคุมกันทางการเงินในระยะยาว
เราคงตองเริ่มทบทวนการใชจาย
ประจําวันอยางจริงจัง
1. วางแผนการใชจายลวงหนา
อาจทําเปนงบรายจาย หรืองายๆ ให
แบงเงินใสซองไวตามรายจายแตละ
ประเภท รวมทั้งควรทํา Shopping list
ทุกครั้ง เพื่อลดเวลาการอยูในรานคา
และการซื้อของไมจําเปน
2. ตั้งเปาลดรายจาย 5 – 10%
ลองทบทวนการใชจายเพื่อหา Extra
Money ใหเจอ เชน ชงกาแฟดื่มเอง
แทนการซื้อ ลดการทานขนมขบเคี้ยว
รีดผาสัปดาหละครั้ง รดน้ําตนไมดวย
ฝกบัวแทนสายยาง ฯลฯ
3. เนนการใชประโยชนสูงสุด
จากของที่มี กอนที่จะซื้อของใหม ควร
เช็คกอนวาของเกา ของเดิมมีไหม ยัง
ใชไดไหม สามารถซอมแซมหรือ
ดัดแปลงอยางไรไดบาง เราใชของที่มี
อยูคุมคาแลวหรือยัง
4. หาวิธีเตือนสติตัวเอง เชน มี
คาถาติดไวในกระเปาสตางควา“ถูก
แคไหน ถาไมใชก็ไมซื้อ” หรือทํา
list รายการเสื้อผา กระเปา
เครื่องประดับที่มี ติดไวหนาตูเสื้อผา
เพื่อเตือนวาเรามีเยอะแคไหนแลว
ที่มา: www.dek-d.com/corner
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 29
๖ ชองทางเสื่อมทรัพย
ใครสงสัยวาทําไมตัวเองไมคอยมี
เงินเก็บเงินออม ตองลองเช็คดูวาปด
ชองทางเสื่อมทรัพยไวไดกี่ขอ ตั้งแต
ชองทางที่ ๑. สุราธุตตะ การดื่มสุรา
ของมึนเมา ๒. อิตถีธุตตะ การเที่ยว
กลางคืน หรือเปนนักเลงผูหญิง ๓.
สมชฺชาภิ การดูการละเลนเปนประจํา
๔. อักขธุตตะ การเลนการพนัน ๕.
ปาปมิตตะ การคบคนชั่วเปนมิตร
และ ๖. อาลสฺสานฺโยโค การเกียจ
ครานการทํางาน
เพราะอบายมุขเหลานี้ คือ ปาก
ทางแหงความเสื่อมและชองทางเสื่อม
ทรัพย หรือที่พระพรหมคุณาภรณ
(ป.อ.ปยุตฺโต) ไดแปลไววา อบายมุข
คือเหตุยอยยับแหงโภคทรัพย ใครไม
อยากเสียทรัพยสินเงินทอง เสีย
สุขภาพ เสียงานเสียการ จนอาจจะ
เสียผูเสียคน ก็ตองหลีกใหไกล
ชองทางเสื่อมทรัพยทั้ง ๖ นี้
โดยเฉพาะ อบายมุขเงียบที่
หลายคนมองขามอยางการดูหนัง ดู
ละคร ดูทีวี เลนอินเตอรเนต วันละ
หลายๆ ชั่วโมงและการเกียจครานการ
ทํางาน ที่จะทําใหการงานคั่งคางหรือ
ไมไดพัฒนาเทาที่ควร ซึ่งจะบั่นทอน
ความกาวหนาในอาชีพการงานอยาง
เงียบๆ
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 30
รถยนต... ยิ่งใชยิ่งลด
หลายทานคงจะทราบอยูแลววาการมีรถยนตสักคัน จะมีคาใชจายตามมาไม
นอยเลยทีเดียว แตอาจจะไมเคยคํานวณออกมาจริงจัง เลยทําใหยังไมทราบแนชัด
วาแตละเดือนมีคาใชจายเกี่ยวกับการใชรถยนตเทาไร สมมติเราใชรถยนตราคา
ประมาณ 800,000 บาท ขับไปทํางานเฉลี่ยวันละ 50 กิโลเมตร
คาผอนรถ 120,000 บาทตอป
คาน้ํามัน + คาทางดวน + คาที่จอด
รถ
65,000 บาทตอป
คาประกันภัย + พรบ. ภาคบังคับ +
คาตอทะเบียน
22,500 บาทตอป
คาซอมบํารุงตามระยะทาง 5,000 บาทตอป
รวม 212,500 บาทตอป
หรือคิดเปนคาใชจายเดือนละประมาณ 17,700 บาท เฉลี่ยวันละ 590 บาท
นี่ยังไมรวมคาเสื่อมราคาจากการใชรถอีก ถาใชรถคันนี้ 8 ป ก็มีคาเสื่อมราคาปละ
100,000 บาทหรืออีกวันละ 274 บาท
ถาเงินเดือน 30,000 บาท มีคาใชจายในการใชรถเดือนละ 17,700 บาท ก็
นากลุมใจอยูไมนอยเลย
ที่มา: http://www.manager.co.th/
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 31
กินเปนหรือกินเปลือง
“นตฺถิ ตณฺหาสมา นที” แมน้ํา
เสมอดวยตัณหาไมมี... ขนาดทานขาว
อิ่มแลว เรายังทานขนม ผลไม
น้ําหวาน หรือชา กาแฟไดอีก ยิ่งถา
ตองไปทานบุฟเฟตแบบเหมาจาย
ตัณหาจะแสดงตัวชัดเจนมาก เพราะ
พฤติกรรมการกินของใครหลายคนจะ
เปลี่ยนไป จะทานมากเปนพิเศษ มาก
จนไมนาเชื่อ มากจนพอทานในมื้อ
ปกติไดหลายคนทีเดียว การกินที่เกิน
ความพอดีแบบนี้ ตองถือวา กินเพราะ
“ตัณหา” พาไป หรือกินเพราะ
“ขาดปญญา” คือไมไดมอง
จุดมุงหมายในการกินวาควรจะกินพอ
อิ่มเพื่อใหมีเรี่ยวแรง มีกําลังในการ
ทํางาน แตกินจนเกินพอดีตามความ
พึงพอใจในขณะที่กิน
นอกจากการ “กินเปลือง” แลว
ตัณหามักบงการใหเรา “ซื้อเปลือง”
“ชอปเปลือง”และ “ใชเปลือง” อีก
ดวย เพราะตัณหาตองการเพียง
ตอบสนองความพึงพอใจสูงสุดโดยไม
สนใจวา “ผล” จากการสรางความพึง
พอใจจะเปนอยางไร แตถาเราใช
ปญญา เราก็จะ “กินเปน” “ซื้อ
เปน” “ใชเปน” และ “คิดเปน”
เพราะการบริโภคดวยปญญาจะสราง
ความพึงพอใจในแบบที่จะเพิ่ม
คุณภาพชีวิตใหเราดวย
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 32
4 แนวทาง... เปนหนี้อยางมีสติ
การขยายตัวทางเศรษฐกิจจาก
กระแสโลกาภิวัฒน ความไมรูเทาทัน
ลัทธิบริโภคนิยม และความไมประมาณ
ตนเอง ทําใหคนจํานวนมากนํา “เงิน
ในอนาคต” ของตนเองมาใช ผาน
การเปนหนี้หลายรูปแบบ และมีคน
จํานวนไมนอยที่มีหนี้สินลนพนตัว...
การเปนหนี้ไมใชการทําผิด เรา
สามารถใชประโยชนจากการเปนหนี้
ไดเพียงเรารูจัก “เปนหนี้อยางมีสติ”
โดย
1. เปนหนี้เมื่อจําเปน เชน เพื่อ
ซื้อบาน ทําการคา เจ็บปวย หรือมี
เหตุฉุกเฉิน เปนตน
2. เปนหนี้ในจํานวนที่เหมาะสม
คือ “ยอดหนี้รวม” และ “ยอดเงิน
ชําระหนี้แตละงวด” ตองไมมาก
เกินไป ตําราการเงินของตางประเทศ
ใหตัวเลขที่เหมาะสมไวที่ 20 / 10
คือ ยอดหนี้รวมไมควรเกิน 20% ของ
รายไดทั้งป และยอดผอนชําระไมควร
เกิน 10% ของรายไดตอเดือน โดย
ไมรวมหนี้ซื้อบาน
3. เปนหนี้แลวตองมีวินัย ทั้ง
“วินัยในการหาเงิน” และ “วินัยใน
การชําระหนี้”
4. เปนหนี้แลวตองขยันทํางาน
ประหยัด รูจักอดเปรี้ยวไวกินหวาน
เพื่อปองกันการกอหนี้เพิ่ม
โครงการการใหความรูและสรางวินัยทางการเงินของคนไทย
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการการใหความรูทางการเงินของประเทศไทย
คูมือความรูทางการเงินสําหรับอบรมกลุมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แตงโดย ดร.อัจฉรา โยมสินธุ 33
Credit Card = บัตรสินเชื่อ
Credit มีรากศัพทมาจากคําวา
Credere หรือ Credo ในภาษาละติน
ซึ่งหมายถึง ความไวเนื้อเชื่อใจกัน
ความเชื่อถือซึ่งกันและกัน และ
Credit แปลวา สินเชื่อ ในภาษาไทย
แตทําไม Credit Card จึงถูกเรียกวา
บัตรเครดิต แทนที่จะใชคําวา บัตร
สินเชื่อ มีขอมูลจากธนาคารแหง
ประเทศไทยระบุวา จํานวนบัตร
เครดิตทั้งระบบ ณ สิ้นป 2551 มี
จํานวน 12,987,073 บัตร แตมีบัตร
ที่ชําระเต็มวงเงินไมมีหนี้คางประมาณ
2 ลานบัตรเทานั้น สวนบัตรอีก 10
ลานกวาใบ ชําระหนี้บางสวนหรือชําระ
ขั้นต่ํา แมวาตัวเลข NPL ของบัตร
เครดิตยังไมใหกอปญหาแกภาพรวม
ทางเศรษฐกิจเทาไรนัก แตตัวเลข
เหลานี้ก็บอกไดวาคนสวนใหญใชบัตร
เครดิตในลักษณะของบัตรสินเชื่อ คือ
ใชกอน ซื้อกอน ผอนจายทีหลังพรอม
ดอกเบี้ย
ถาเราลองเปลี่ยนมาเรียก
Credit Card วาบัตรสินเชื่อ ความดูดี
มีเครดิตของผูถือบัตรอาจจะลด
นอยลงไปบาง แตก็นาจะมีผลทําให
หลายคนคิดรอบคอบมากขึ้นกอนใช
บัตรก็เปนได เมื่อพนักงานขายถามวา
“วันนี้ คุณพี่จะจายเปนเงินสดหรือใช
บัตรสินเชื่อดีคะ?” คุณจะตอบวา
อยางไร?
ที่มา: http://kengkadeng.exteen.com/20080122/entry/
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student
Manual for university_student

More Related Content

Similar to Manual for university_student

2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็นbuddykung
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551weerabong
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางPratuan Kumjudpai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEditกลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEditChuchai Sornchumni
 
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556ToTo Yorct
 
โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด Taraya Srivilas
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)pomswu
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)pomswu
 
ขั้นตอนการประเมิน 56 58
ขั้นตอนการประเมิน 56 58ขั้นตอนการประเมิน 56 58
ขั้นตอนการประเมิน 56 58Pochchara Tiamwong
 
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงwarijung2012
 

Similar to Manual for university_student (20)

2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น
 
Money
MoneyMoney
Money
 
Plan101
Plan101Plan101
Plan101
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
สพฐ
สพฐสพฐ
สพฐ
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทาง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
7532
75327532
7532
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
 
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEditกลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
 
Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
 
โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
 
ขั้นตอนการประเมิน 56 58
ขั้นตอนการประเมิน 56 58ขั้นตอนการประเมิน 56 58
ขั้นตอนการประเมิน 56 58
 
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
 
VDO Training
VDO TrainingVDO Training
VDO Training
 

More from buddykung

Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slidebuddykung
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshopbuddykung
 
Manual for trainer
Manual for trainerManual for trainer
Manual for trainerbuddykung
 
Question for workshop
Question for workshopQuestion for workshop
Question for workshopbuddykung
 
Manual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerManual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerbuddykung
 
Financial forms
Financial formsFinancial forms
Financial formsbuddykung
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshopbuddykung
 
11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manualbuddykung
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตรbuddykung
 
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มbuddykung
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตรbuddykung
 
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงินbuddykung
 
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกรbuddykung
 
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาbuddykung
 

More from buddykung (14)

Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slide
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshop
 
Manual for trainer
Manual for trainerManual for trainer
Manual for trainer
 
Question for workshop
Question for workshopQuestion for workshop
Question for workshop
 
Manual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerManual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainer
 
Financial forms
Financial formsFinancial forms
Financial forms
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshop
 
11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
 
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
 
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
 
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
 
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
 
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
 

Manual for university_student