SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
18-1

                       บทที่ ١8
          อาซิมุธดวงอาทิตย์ (Azimuth of Sun)

        คำาจำากัดความ
        การคำานวณแนว Azimuth เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาทาง
ด้านดาราศาสตร์ (Astronomy) ซึ่งจำาเป็นต้องทราบคำาจำากัดความ
ของคำาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและน่าสนใจดังนี้
        1.ทรงกลมฟ้า (Celestial Sphere) คือ ทรงกลมที่สมมติให้
ศูนย์กลางร่วมกับศูนย์กลางของโลก ซึ่งตำา แหน่งต่างๆ ของวัตถุ
ฟ้ า เป็ น จุ ดตั ดของแนวจากจุ ดศู น ย์ ก ลางของโลกถึ ง วั ต ถุ ฟ้ า ที่ ผิ ว
ทรงกลมฟ้า
        2.ขั้ว ฟ้า (Celestial Pole) คือ จุ ดซึ่ ง เป็ น แกนหมุ น ของโลก
ตัดกับผิวของทรงกลมฟ้า มี 2 จุด ด้วยกัน คือ ขั้วฟ้าเหนือ (North
Celestial) และ ขั้วฟ้าใต้ (South Celestial)
        3.เส้นศูนย์สูตรฟ้า (Celestial equator) คือ วงกลมใหญ่บน
ทรงกลมฟ้าซึ่งตั้งฉากกับแกนหมุนของโลก
        4.Zenith คือ จุดบนทรงกลมฟ้าที่เกิดจากเส้นดิ่งของผู้รังวัด
ตัดกับผิวทรงกลมฟ้าด้านเหนือศรีษะขึ้นไป
        5.Nadir คือ จุดบนทรงกลมฟ้าจากเส้นดิ่งของผู้รังวัดตัดกับ
ผิวทรงกลมฟ้าด้านใต้ลงไป
        6.เส้นขอบฟ้า (Celestial Horizon) คือ วงกลมใหญ่บนทรง
กลมฟ้า ทีเกิดจากการตัดกันของระนาบขอบฟ้า กับผิวทรงกลมฟ้า
               ่
        7.วงกลมชั่วโมง (Hour Circle) คือ วงกลมใหญ่บนทรงกลม
ฟ้าตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าผ่านจุดฟ้าเหนือและใต้
        8.วงกลมดิ่ง (Vertical Circle) คือ วงกลมใหญ่บนทรงกลม
ฟ้าผ่านจุด Zenith และ Nadir
        9.เมอริเดียนฟ้า (Celestial Meridian) คือ วงกลมดิ่งผ่านจุด
ขัวฟ้า วงเดียวกับวงกลมชั่วโมง
  ้
        10.มุ ม ชั่ ว โมง (Hour Angle) คื อ มุ ม ระหว่ า งระนาบของ
วงกลมชั่วโมงที่ผานวัตถุกับเมอริเดียนฟ้า
                       ่
        11.มุมสูง (Altitude) คือ มุม h มุมสูงของวัตถุฟ้า มีค่าตั้งแต่
0° - 90° นับจากเส้นขอบฟ้าถึงวัตถุฟ้า
        12.ระยะดิ่ ง (Zenith distance) คือ ระยะ 90° - h เป็นระยะ
ตามแนวเส้นโค้งวงกลมดิ่ง จากวัตถุฟ้าถึงจุด Zenith
18-2

      13.Azimuth คือ มุมวัดจากแนวเมอริเดียน ถึงวงกลมที่ผ่าน
วัตถุฟ้าโดยวัดตามเข็มนาฬิกาที่เส้นขอบฟ้า
      14.Declination (δ) คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของทรงกลมฟ้า
วัดจากเส้นศูนย์สูตรไปหาวัตถุฟ้าถ้านับไปทางทิศเหนือมีค่าบวก
แต่หากนับไปทางทิศใต้จะเป็นค่าลบ
      15.Polar distance คื อ มุ ม ตามแนวเส้ น วงกลมชั่ ว โมงของ
วัตถุถึงขัวฟ้า มีค่าเป็น 90°- δ
          ้
      16.Astronomic latitude (∅) คือ มุมระหว่าง ระนาบกับแกน
หมุนของโลกมีค่า 0° ทีจุดศูนย์สูตรและ 90° ทีขั้วฟ้า
                           ่                    ่
      17.Co – latitude (90° - ∅) คือ มุมตามแนว Great Circle
ระหว่าง Zenith หรือ Nadir ถึงจุดขั้วฟ้า
      18.สามเหลี่ ย มดาราศาสตร์ (Astronomical Triangle) คื อ
สามเหลี่ ย มที่ เ กดขึ้ น บนผิ ว ทรงกลมฟ้ า โดยจุ ดขั้ ว ฟ้ า (P) จุ ดดิ่ ง
(Z) และจุดขั้วฟ้า (R) มุม t คือมุมชั่วโมง (Hour Angle) มุม Z คือ
มุม Azimuth
                                                                           Co titu e
                                                                             -La d
              Ze ithD n
                n ista ce
              =Co  -Altitu e
                          d                           Azimth(A)
                                                          u

                                         Pa lla An le(q
                                           ra ctic g )                        Ho r An le(t)
                                                                                u g

                                 S                                    Po rD n (p
                                                                        la ista ce )
                                                                      =Co e a n
                                                                          -D clin tio         P


                                                              Ze ith
                                                                n
                                           t d e
                                         Laitu                    P Tria g Nort
                                                                   ZS n le
                                                                               hP
                                                   Star                          ole
                                               ai
                                                t on
                                           clin
                            in




                                         De
                     l Merida




                                                                  W
               l stia
             Cee




                                                                            O se r
                                                                             b rve
               S                                          h                                   N
                                     Ho n
                                       rizo
                                                                         Azimth
                                                                             u
                                                              E

                             Sou
                                thP
                                   ole

                                                              Na ir
                                                                d
18-3



                   รูปที่ ١٢.١ ภาพแสดงลักษณะสามเหลี่ยมดาราศาสตร์

           ระบบพิกัดดาราศาสตร์ (Celestial Coordinate System)
           ระบบ                 ระนาบอ้างอิง                           ตัวแปรที่กำาหนดจากระนาบ
           Syste               Reference Plan                                    อ้างอิง
            m                                                           Parameters Measured
                                                                         from Reference Plan
                              หลัก           รอง                           หลัก            รอง
                           Primary        Secondary                     Primary         Secondary
          Horizo          Celestial     Celestial                       Altitude         Azimuth
          n               Horizon       Meridian (half                   -90°≤ a      0°≤ A ≤360°
                                        containing                        ≤+90°          (+ east)
                                        north pole)                    (+toward
                                                                         zenith)
          Hour            Celestial     Hour circle of                declination      Hour Angle
          Angle           Equator       observer’s                   -90°≤ δ ≤+90° 0 ≤ h≤ 24
                                                                                         h        h

                                        zenith (half                   (+ north)      0° ≤ h≤ 360°
                                        containing                                       (+ west)
                                        zenith)
          Right  Celestial              Equinoctial                      declination               Right
          Ascens Equator                colure (half                 -90°≤ δ ≤+90°              Ascension
          ion                           containing                     (+ north)                0h ≤ h≤ 24h
                                        vernal                                                 0° ≤ h≤ 360°
                                        equinox)                                                 (+ east)
                  รูปที ١٢.٢ ภาพแสดงระบบพิกัดดาราศาสตร์ (Celestial
               Th H riz nS se
                 e o o yt m     CoordinateleSystem)
                                    Th H u A g S s m
                                      e o r n yte          Th R h A c nio S se
                                                             e ig t s e s n yt m
                     z
                                         x
  Ce stia
    le l              Z                  Ce stia
                                           le l          Z                       Ce stia
                                                                                   le l                  Z
  Me ia
     rid n                               Me ia
                                            rid n                                Me ia
                                                                                    rid n
                                  NCP                                                                              z
                                                                            z
                Ve l Circle
                  rtica
                                                     S       Ho r
                                                               u           NCP          Eq in ctia
                                                                                          uo l               NCP
           S    การรังวัด Azimuth จากมุมสูงของดาว
                z
                                              Circle                                    Co re
                                                                                          lu


                การดำาเนินการดำาเนินการทำาเช่นเดียO นกับการส่องดวง
                  O                x
                                                             วกั x     T
                                                                           O                 S
              a                                      Pa o Sta
                                                       rt f r            a
          อาทิตย์ Aจับเวลาเฉพาะครั้งแรกและครั้งสุดท้ายนำาค่ามุมสูงที่ได้มCircle
                            No rth
                            Po t
                              in         h                                               าu
                                                                                         Ho r


SCP       แก้การหักเหของแสง และ Parallaxrl ก็จะได้ค่ามุม AzimuthCeตามtic
                    Ce stia
                      le l
                    Ho n
                      rizo           SCP
                                         Ce stia
                                           le
                                         Eq a
                                           u to                    SCP       le l
                                                                               stia
                                                                                    Eclip
                                                                           Eq a r
                                                                             u to
          ต้องการ
      y              N                                   N
                                                                    -y
                                                                                                     y
18-4

ขั้นตอนได้แก่ส่องธงหลังอ่านมุมราบมุมสูงของดวงดาว จับเวลา
และส่องธงหลังอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบมุมราบ



                 1                          3
                         (a)


                 4                           2
                                      (b)



           รูปที่ ١٢.٣ ภาพแสดงการส่องดวงอาทิตย์

      การส่องดวงเพื่อหาค่า Azimuth ต้องส่องใน quadrant ตรง
กันข้าม เพื่อหาค่าเฉลี่ยมุมที่ศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ เช่น
quadrant ที1-2 หรือ quadrant ที3-4
             ่                      ่
      ถ้าทำาการส่อง quadrant เดียวต้องทำาการปรับแก้ค่า Semi-
diameter ของดวงอาทิตย์

      การรังวัด Azimuth จากมุมสูงของดวงอาทิตย์
      ใช้ในการหา Azimuth ของเส้นรังวัดบรรจบหมุดของวงรอบ
โดยการวัดมุมสูงของดวงอาทิตย์มุมราบระหว่างเส้นบรรจบหมุด
และเวลาที่รังวัด จากผลเฉลี่ยของดวงอาทิตย์ ค่า Latitude ที่
ทราบ Declination ของดวงอาทิตย์ ขณะที่รงวัดจากผลเฉลียของ
                                           ั              ่
เวลา จะได้รูปสามเหลียมทรงกลมฟ้า ซึ่งหาค่ามุม Azimuth ได้
                       ่
เมื่อทราบค่า Azimuth แล้วนำาไปบวก หรือลบกับค่ามุมราบก็จะได้
ค่ามุม Azimuth ของเส้นรังวัดตามต้องการ
      การส่องดวงอาทิตย์ที่ดีควรเป็นเวลาสามชั่วโมงก่อนเที่ยง
หรือหลังเที่ยง นั่นคือเวลา 9.00 น. หรือ 15.00 น. ซึ่งนิยมรังวัด
ในเวลา 15.00 น.มากกว่า และมุมสูงควรเป็น 10° จากพื้นราบค่า
ความคลาดเคลื่อนจะน้อยลง
      ลำาดับขันตอนการรังวัด Azimuth จากดวงอาทิตย์
              ้
18-5

     เมื่อตั้งระดับกล้องและเข็มทิศแล้ว ให้อ่านภาคของทิศธง
หลัง จดไว้แล้วปฏิบัติตามลำาดับดังนี้
     1. ตั้งเวอร์เนียร์ องศาเปิดจานล่างส่องธงหลัง
     2. ปิดจานล่าง เปิดจานบนส่องดวงอาทิตย์
     3. อ่านเวอร์เนียร์ราบ เวอร์เนียร์ดิ่ง และนาฬิกา ให้ละเอียด
          ถึงวินาที
     4. เปิดจานบนเลื่อนกล้องส่องดวงอาทิตย์ที่ขอบเดิมตามข้อ
          2 แล้ว อ่านเวอร์เนียร์ และ
นาฬิกาดังข้อ 3
     5. เลื่อนกล้องส่องดวงอาทิตย์ตามข้อ 4 อีกครั้ง
     6. เปิดจานบนกลับกล้องเป็นหน้าขวา ส่องดวงอาทิตย์ตาม
          ข้อ 2 และข้อ 3 แต่ให้ส่องดวง
อาทิตย์ขอบตรงกันข้าม
     7. ส่องดวงอาทิตย์ตามข้อ 2 ขอบเดิมอีก 2 ครั้ง
     8. ส่องธงหลังอีกครั้งหนึ่งเพื่อตรวจสอบว่ากล้องเคลื่อนที่
          หรือไม่
     ข้อมูลที่ได้ทั้งหมดนี้รวมเป็น 1 ชุด ในการส่องดวงอาทิตย์
     ควรส่องในช่วงที่ท้องฟ้าปลอดโปร่ง
ทำาได้ทงช่วงเช้าและบ่าย ควรส่องข้อมูลอย่างน้อย 3 ชุด
       ั้

      ข้อแนะนำาในการรังวัด Azimuth จากดวงอาทิตย์
      1. การเตรียมการ
      1.1 หมุดหลักฐานอ้างอิงควรอยู่ในที่โล่ง แล้วสามารถมอง
เห็นดวงอาทิตย์ ได้ทั้งในทางทิศตะวันออก และทิศตะวันตก
      1.2 หมุดธงหลังควรอยู่ห่างจากจุดตั้งกล้องอย่างน้อย 200
เมตร เพื่อจะได้ไม่ต้องปรับแว่นเล็งมากนักขณะที่กำาลังส่องดวง
อาทิตย์
      1.3 ตั้งกล้องให้มั่นคง เพราะถ้ากล้องทรุดเพียงเล็กน้อย ค่า
Azimuth จะผิดไปมาก
      1.4 ควรตั้งกล้องให้มีความสูงพอเหมาะ กรณีที่กล้องมีระดับ
มุมสูงควรปรับระดับให้ฟอง
อากาศอยู่ที่จุดศูนย์กลางของหลอดระดับ และปรับระดับมุมสูง (
ระดับเขาควาย)
      2. การรังวัด
         2.1กล้องหน้าซ้ายเล็งไปที่ธงหลัง อ่านและจดมุมราบ
18-6

         2.2เปิด Clamp สวมแว่นกรองแสงทีแว่นเล็ง เล็งไปที่ดวง
                                             ่
            อาทิตย์ให้สายใยดิ่ง และ
สายใยราบสัมผัสของดวงอาทิตย์ โดยจะอยูใน Quadrant ใดก็ได้
                                           ่
อ่านเวลาและจดมุมราบ มุมสูงไว้
         2.3กล้องหน้าขวาเล็งไปที่ดวงอาทิตย์ ให้สายใยดิ่ง และ
            สายใยราบสัมผัสขอบของ
ดวงอาทิตย์ โดยให้ดวงอาทิตย์อยูใน Quadrant ตรงกันข้าม กับ
                                  ่
ข้อ 2
         2.4เปิด Clamp ถอดแว่นกรองแสงออก กล้องหน้าขวา
            เล็งไปที่ธงหลัง อ่านและจดมุม
ราบ
         2.5ปฏิบัติตามข้อ 1-4 ให้ได้ข้อมูลอย่างน้อย 3 ชุด
         2.6ช่วงเวลาทีทำาการรังวัดดวงอาทิตย์ของกล้องหน้า
                         ่
            ซ้าย และกล้องหน้าขวาต้องไม่
เกิน 3 นาที เพราะค่ามุมสูงที่นำาไปใช้ในการคำานวณ คือ ค่าเฉลี่ย
เนื่องจากดวงอาทิตย์เป็นเส้นโค้งถ้าเวลาห่างกันมาก จะทำาให้ค่า
เฉลียของมุมสูงผิดความจริงมากขึ้น
     ่
         2.7วัดค่าภาคของทิศโดยใช้เข็มทิศ จากหมุดตั้งกล้องถึง
            หมุดธงหลัง และวัดค่า
Latitude,Longitude เพื่อนำาไปประกอบการคำานวณ
         2.8กรณีทใช้ Solar Prism ประกอบการรังวัดเมื่อสวม
                    ี่
            Solar Prism ที่ปากกล้องแล้ว
         - ก่อนทำาการรังวัด เปิด Clamp ของ Solar Prism แล้ว
            หมุนให้ขีดแบ่งของ Solar
Prism ทาบสนิทกับสายใยดิ่ง และสายใยราบของกล้องเสียก่อน
         - เมื่อทำาการรังวัดดวงอาทิตย์จะเห็นดวงอาทิตย์ 4 ดวง
            ซ้อนเหลี่ยมกันการรังวัดให้ใช้สายใยของกล้องทาบจุด
            ตัดทั้งสี่ของดวงอาทิตย์ ดังนี้
                               สายใ




                                                สายใย
18-7




                 รูปที่ ١٢.٤ภาพแสดงการตัดกันของขอบดวง
อาทิตย์

     แต่ทั้งนี้ต้องทำาการรังวัดทั้งกล้องหน้าซ้ายและกล้องหน้า
ขวา เพื่อแก้ความคลาดเคลื่อนอันเกิดจากความคลาดเคลื่อนของ
กล้องเช่นเดียวกัน


      การวัดเวลาในการคำานวณ ทางดาราศาสตร์ เวลาที่
ใช้ มี 2 แบบ คือ
          1. เวลา sidereal time (เวลาทางดาราคติ) เป็น
เวลาในระบบสุ ริ ย ะ จะวั ดเวลาโดยใช้ ดวงอาทิ ตย์ เ ป็ น เวลาจริง ที่
โลกเดินทางรอบดวงอาทิตย์ และหมุนรอบตัวเองใน 1 ปี
          2. เวลาในระบบ สุ ริ ย ะ (solar time) หรื อ การนั บ
เวลาทางสุริยะคติ นับเป็นชั่วโมง นาที และวินาที ซึ่งเป็นเวลาที่
โลกใช้ในการหมุนรอบดวงอาทิตย์และหมุนรอบตัวเอง แบ่งเป็น 2
ชนิ ด คื อ เวลาจริง หรือเวลาปรากฏ (Apparent Time) และ
เวลาเฉลีย หรือเวลาสมมุติ (Mean Time)
          ่
18-8

         • เวลาจริ ง หรื อ เวลาปรากฏ (Apparent Time) เป็ น
เวลาที่ ด วงอาทิ ต ย์ เ ดิ น ทางจากซี ก ตะวั น ออกไปยั ง ซี ก ตะวั น ตก
โดยนับจาก Meridian ล่าง เวลาที่ปรากฎขณะนั้น เรียกว่า Local
Apparent Time (L.A.T)

                                   E         Up rMe ia
                                               e rid n
                                                                   จากภาพด้านซ้าย
                                                                          มือ
           A                              L.H.A.
                                                     A'           Meridian ล่าง :
   mrn g
    o in  S
                               t
                                                   S' afternoon   L.A.T. = 0h
                  .T
               L.A


                          .T




       (E)
                       L.A




                                                   (W )           Meridian บน :
                                                                  L.A.T. = 12h
                                           .A.
                                        L.H




                                   E'      Lo e Me ia
                                             wr rid n

      รูปที่ ١٢.٥ ภาพแสดงการนับเวลา Apparent Time

ช่วงเช้า ที่ A; Local Hour Angle (L.H.A) =                   L.A.T
+ 12    h

            มุม Meridian Angle วัดจาก E ถึง A           =    t
ช่วงบ่ายที่ A’; Local Hour Angle (L.H.A.) =                  L.A.T –
12   h

ดังนั้น        Local Hour Angle (L.H.A)                 =    L.A.T
+ 12      h

       - เวลาที่ วั ด จากเมอริ เ ดี ย นล่ า งไปยั ง ดวงอาทิ ต ย์ เรี ย ก
L.A.T.
       - เวลาที่ วั ด จากเมอริ เ ดี ย นล่ า งไปยั ง Mean Sun เรี ย ก
L.C.T. (Local Civil Time)
       - ทุ ก ช่ ว ง 15° ของ longitude เวลาจะต่ า งกั น 1
ชั่วโมง
       - ทุกช่ ว ง 15° จากเมื อง Greenwich ไปทางทิ ศ East หรื อ
West เรียกว่าเป็น Standard longitude 0° จาก Greenwich คือ
Zone Time
       - เวลาทางแถบตะวั น ออกของ Greenwich จะมากกว่ า
แถบของ Standard Longitude = longitude ทีต่างกัน          ่
       - ประเทศไทยอยู่ระหว่าง longitude ตะวันออก ( λE)
18-9

         เส้นที่ 99 – 102 ดังนั้นเวลาจึงต่างจาก Greenwich 7 h
จึ ง ต้ อ งนำา ไปลบจากเวลาที่ ไ ด้ จ ากนาฬิ ก าจะได้ Greenwich
Mean Time (G.M.T) หรือ Universal Time (UT)
         ดังนั้น เวลามาตรฐานประเทศไทย          = G.M.T + 7 h
            • เวลาเฉลี่ ย หรื อ เวลาสมมุ ติ (Mean Solar Time หรื อ
Mean Time) คือเวลาที่สมมติให้มีดวงอาทิตย์อีก 1 ดวงเดินทาง
รอบโลก โดยสมมติให้เดินตามขอบ Celestial Equator ด้วยอัตรา
สมำ่าเสมอตลอดปี ดังนั้น
            L.H.T =       L.M.T - Eq. of time
            L.H.T =       L.M.T + 12 h - Eq. of time
หรือ        L.H.T =       L.M.T + E
เมื่อ       E             =      12 h - Eq. of time
ซึ่ ง ค่ า E หาได้ จ ากปฏิ ทิ น ดวงอาทิ ต ย์ ใน Star Almanac for
Land Surveyor และค่ า Equation of time คื อ ความแตกต่ า ง
ของเวลาระหว่างเวลาของดวงอาทิตย์จริง กับดวงอาทิตย์สมมุติ
ดังนั้น         G.H.A     =      G.M.T + E
                     =    UT + E
เราสามารถหาค่ า L.H. A ของดวงอาทิ ต ย์ ได้ ใ นทุ ก ตำา บล
เมื่อเราทราบค่า Longitude ( λ )
         ดังนั้น    L.H. A      = G.H.A + λE

      การแก้ค่ามุมสูงของของดาว หรือ ดวงอาทิตย์
      1.ค่าแก้ Parallax เกิดจากมุมระหว่างผู้ส่องกล้องถึงวัตถุฟ้า
และจากวัตถุฟ้าถึงศูนย์กลางของโลก ซึ่งค่าที่ได้ มี่ค่าเป็นค่าบวก
      2.ค่าแก้ Reflection คือ ค่าแก้การหักเหของแสง เมื่อแสง
ผ่านชั้นบรรยากาศ ค่าที่ได้เป็นค่าลบ
      3.ค่าแก้ Semi-diameter ของดวงอาทิตย์ เพื่อความถูกต้อง
ต้องทำาการวัดขอบบนขอบล่าง นำาผลมาเฉลี่ยค่าแก้จึงจะหายไป
      4.ค่ า ปรั บ แก้ ค วามถู ก ต้ อ งของเครื่ อ งมื อ วั ด (Instrument
Correction)
ซึ่งจะหายไปเมื่อทำาการปรับแก้
      5.ค่าแก้ Curvature of path
      เมื่อทำาการปรับแก้ค่าต่างๆ เรียบร้อยแล้ว จะได้ค่ามุมสูง
ทีแท้จริง (True Altitude)
   ่
18-10

การคำานวณสามเหลี่ยมดาราศาสตร์



                      Z                                  A
     90° -
                     z                           c       A
                              90°-
                                                                 b
         t                                   B
   P                                     B              a
                 90° -
                                                                  C
                                     R                                C
   รูปที่ 12.6 ภาพประกอบการคำานวณสามเหลี่ยมดาราศาสตร์

    เมื่อวัตถุอยูในตำาแหน่งใดๆ จาก สามเหลี่ยม PZR และ
                 ่
จากกฎของ sin และกฎของ cosine จะได้วา    ่
    cos z      =       sin δ - sin h sin ∅
    …………..(1)
                      cos h cos ∅

การหามุม t เมื่อรู้ด้าน 3 ด้าน จะได้ว่า
    cos t            =     sin h - sin sin ∅
    …………..(2)
                          cosδ cos ∅
การหามุม z เมื่อรู้ด้าน 2 ด้าน มุม 1 มุม จะได้ว่า
    tan z            =             sin t
    …………..(3)
               cos ∅ tan δ - sin ∅ cos t
    มุ ม นี้ ใ ช้ ห า Azimuth ของดวงดาว และดวงอาทิ ต ย์ เมื่ อ
ทราบมุมชั่วโมง

ก า ร สำา ร ว จ ห า เ ส้ น รุ้ ง (Latitude)แ ล ะ เ ส้ น แ ว ง
(longitude)
    การหาค่า Latitude หาได้โดยการวัดมุมสูงขณะดวงอาทิตย์
ผ่ า น Meridian ของจุ ด ตั้ ง กล้ อ ง ซึ่ ง ทำา ให้ ท ราบมุ ม สู ง สุ ด ขณะ
18-11

ดาวเหนื อ เวลาที่ คำา นวณค่ า Declination แล้ ว สามารถหาค่ า
Latitude ได้

ตัวอย่างที่1 ٨.1 วัดมุมสูงของดวงอาทิตย์ได้ 72°43′48′′ จากทิศ
ใต้ ค่ า declination ขณะสั ง เกตมี ค่ า เป็ น - 0°0 ′17′′ จงหาค่ า
Latitude
วิธีทำา Celestial Equator =     72°43′48′′ + 0°0′17′′
                      =    72°44′05′′
∴ Latitude ของกล้อง             =        90° - 72°44′05 ′′
                      =    17°15′45′′Ans.

   Longitude ของจุ ด ตั้ ง กล้ อ ง คื อ meridian ที่ ผ่ า นจุ ด สั ง เกต
ดวงอาทิ ต ย์ วั ด มุ ม สู ง คำา นวณมุ ม สู ง จริ ง โดยแก้ ค่ า refraction
แ ล ะ ค่ า parallex จ า ก Local standard time คำา น ว ณ ห า
declination ของดวงอาทิตย์ คำา นวณมุมชั่วโมงจริงที่ meridian
ของ Greenwich แล้วจึงคำานวณชั่วโมงท้องถิ่นของดวงอาทิตย์
           cos t           = (sin h - sin δ sin ∅ )
                                 cos δ cos ∅
   เมื่ อ ได้ มุ ม t และรู้ ค่ า มุ ม ชั่ ว โมงของดวงอาทิ ต ย์ จะหาค่ า
Longitude ได้
           Le        = L.HA - G.H.A.

ตัวอย่างที่1 ٨.2 มุมสูงที่ศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ 39°39′ 0.4′′
ค่ า declination ขณะสั ง เกตมี ค่ า เป็ น -19°26′30′′ ค่ า Latitude
ของจุดตั้งกล้อง 15°30′29′′ ค่า GHA ของดวงอาทิตย์ 221°5′7′′
จงคำานวณหาเส้น Longitude
วิธีทำา h = 39°31′0.4′′             δ      = -19°26′30′′
       ∅ = 15°30′29′′               G.H.A =         221°05′27′′
        จาก    cos t       = (sin h - sin δ sin ∅ )
                                   cos δ cos ∅
                   =      (sin 39° 31′ 0.4′′) – [(sin 19° 26′
30′′)(sin 15° 30′ 29′′)]
       (cos 19° 26′
30′′)(cos 15° 30′ 29′′)
                t = 36° 05′49′′
18-12

  เนื่องจากขณะสังเกตดวงอาทิตย์อยูทางตะวันออก (E)
                                     ่
            ∴ t       =      - 36°50′49′′
  L.H.A ของดวงอาทิตย์ =          360° - 36° 50′ 49′′
                      =     323°09′11′′
            ∴ Le            = 323°09′11′′- 221°05′27 ′′           =
102° 03′ 44′′
  นั่นคือ ค่า Longitude อยู่ทางตะวันออก        Ans.

ขันตอนในการคำานวณ Azimuth ดวงอาทิตย์ ก า ร คำา น ว ณ
  ้
สามารถทำาได้หลายวิธี
    ١. โดยใช้วิธี hour angle method แบบที่ ١
       1. คำานวณ Latitude และ Longitude จากพิกัด UTM
       2. หาความคลาดเคลื่ อ นของนาฬิ ก า ผู้ รั ง วั ด ทั้ ง ก่ อ นและ
หลังวัด
       3. หาเวลาเฉลี่ยทังก่อนและหลังรังวัด
                         ้
       4. หามุมราบเฉลี่ย และมุมดิ่งเฉลีย จากน้ากล้องปกติ
                                               ่
       5. หามุมราบเฉลี่ย และมุมดิ่งเฉลีย จากการกลับหน้ากล้อง
                                             ่
       6. หาเวลารังวัดที่ถูกต้อง โดยเอาค่าแก้นาฬิกาของผู้รังวัด
และค่าแก้นาฬิกามาตรฐานไปแก้ จากข้อ 3 จะได้เวลาราชการ
ท้องถิ่น (Local Civil time, L.C.T)
       7. หา เว ลา ร า ชก า ร ที่ กรี นิ ช (Greenwich Civil Time,
G.C.T หรือ U.T)
                   UT = L.C. T - 7h
       8. หาเวลาปรากฎที่ ก รี นิ ช (Greenwich           Apparement
time, GAT)
          G.A.I. = U.T. + E                        (E หาจากปฏิทิน)
       9. หาเวลาปรากฎท้องถิ่น
             L.A.T      = G.A. T + λE h
       10. หามุมชั่วโมงของดวงอาทิตย์ (t)
             L.H.A. (t)      = L.A.T. - 12 h ซึ่ ง จ ะ ไ ด้ t
เป็น
       11. คำานวณหามุม z ได้จาก
          tan z        =                 sin     t
                        Cos ∅ tan δ - Sin ∅ Cos t
       12. หา            (declination) จากปฏิทิน ตามเวลา ข้อ
7
18-13

       13. หาค่าแก้ Semi Diameter
           S    =     S / Cosh   = S sech
       14. หาค่ามุม Am = A - (K – M)

ตัวอย่างที่ ١٨.٣ จงคำานวณหาค่า Azimuth ของดวงอาทิตย์ จาก
ข้อมูลต่อไปนี้

Station         Date       Reading of       Before    After
                                           h m s     h m s
Lat :    Limb              Clock
19-58-3. observed          (B.S.T.)
2                          Watch
Long:
99-40-1
2.1
  Sight  Watch Time        Horizontal Horizontal       Vertical
                              Circle        Angle       Circle
                             Reading                   Reading
                                      Telescope Direct
           h      m    s    ° ′       ″ ° ′        ″ ° ′       ″
Mark                       0 0 0
Sun        14     5    2   11 9 35 11 9 35 51 1 28
                  8    5   6         .9 6         .9      8 .9
Sun        14     5    5   11 2 7 11 2 7 51 2 49
                  8    9   6 6            6 6             5
Mark                       0 0 0
                                    Telescope Reversed
116°30′37′′
Mark                     18    0      00
                         0     0         11 3   48 30 2      20
Sun        15     0    5 29    3      48 6 7    .6 8 0       .3
                       7 6     7      .6
18-14

Sun       15   2   0 29 4 56 11 4 56 30 8            0.
                       6 8 .5 6 8            8       9
Mark                  18 0 0
                       0
Watch correction    =
Known clock correction =
Horizontal Angle    = (116-26-35.9 + 116-26-7) +
(116-37-48.6 + 116-48-56)
                         2                2
                = 116-17-51.45 + 116-43-21.58
                           2
                = 116-30-37



                   PARTICAL ASTRONOMY
                         Reduction
                          h   m     s     Reference
Draw figure                           Figure
Average watch time        15 0 5.2
                                   5
Correction, clock time
Τ
Clock correction ∆Τ
Correct B.S.T.
Z.D.                     −7 0      0 S.T. = Τ + ∆Τ
G.C.T.                     8   0 5.2 G. C.T. = B.S.T. −
                                   5 7h
Equation of time Ε for     0 14 32. Table
G. C.T.                            18
G.A.T.                     8 14 37. G.A.T. = G. C.T.
                                   43 + Ε
Given longitude λ          6 38 40.
                                   8
L.A.T.                    14 53 18. L.A.T. = G.A.T +
18-15

                          −1        24 λ
                           2

L.H.A. of sun             2    53   18.   L.A.T. = L.H.A. +
                                    24    12h
Meridian angle t of sun   43   19   33.   Table and Art
in arc units                         6
Decl. δ of sun for G.     9    8    19.   Table
C.T.                                16
Given latitude φ          19   58   3.1
                                     9
                tan Ζ =                sin t
                               cos φ tan δ + sin φ cos t
sin t                     0.686148535
cos t                     0.727461468
sin φ                     0.341487953
cos φ                     0.939886151
tan δ                     0.160866099
tan Ζ                     1.717023346
                           °   ′    ″
Azimuth angle Ζ of        59 47 0.0
sun’s center                        2
Corresponding azimuth     30 12 59.
A (360-Ζ )                 0        9
Average of horizontal
angle readings on sun’s
eastern limb
Sun’s semidiameter S =                    Table
s = S / cos h =
Corrected of horizontal 11     30   37      Corrected for
angle K                  6                  semidiameter
18-16

Average of horizontal          0     0     0
angle readings on the
mark M
K–M                           11    30    37
                               6
Azimuth of line Am            56    43    36. Am = A – (K – M)
                                          98 See Fig

   ٢. โดยใช้วิธี hour angle method แบบที่ ٢
   1. หาเวลาเฉลี่ยขณะทำา การรัง วัด บั นทึก เป็ นค่ า time ซึ่งเป็น
      ค่าเดียวกับ mean time of observation
   2. ทำา การปรับแก้เวลา โดยเทียบกับเวลามาตรฐานของแต่ ละ
      ประเทศ ซึ่งกำาหนดให้
      เวลาที่ใช้ทำาการทดลอง เร็วกว่า เวลามาตรฐานดังกล่าว ให้
      คิดเครื่องหมายเป็น ลบ(–)
      เวลาที่ใช้ทำาการทดลอง ช้ากว่า เวลามาตรฐานดังกล่าว ให้
      คิดเครื่องหมายเป็น บวก(+)
   3. ทำาการเทียบเวลา time zone correction (TZC) เป็นเวลาที่
      เทียบกับประเทศกรีนิช ซึ่งประเทศไทยมีเวลามาตรฐานเร็ว
      กว่าประเทศกรีนิช (Greenwich) อยู่ ٧ ชั่วโมง จึงใช้ค่า – ٧
   4. หาค่ า Universal Time (UT) of Observation ผลรวมของ
      ค่าในช่องที่ ٣ + ٢ + ١
   5. หาค่า Equation of Time (EQT) ที่ ٠ hour of Greenwich
      จากตารางปฏิทินเวลา จาก
EQT = [(เวลาวันถัดไปจากทีทำาการรังวัด – เวลาวันทีทำาการรัง
                                 ่                            ่
วดั) x UT ] + เวลาวันที่ทำาการรังวัด
                          24
   6. นำาค่า UT และค่า EQT มาเฉลียต่อชั่วโมง นั่นคือ นำาช่องที่ ٤
                                      ่
      x ช่ องที่ ٥ แล้ ว หารด้ ว ย ٢٤ บั น ทึ ก เป็ น ค่ า UT x Var EQT
      per hour
   7. หาค่าปรับแก้ของ EQT = ช่องที่ ٥ + ช่องที่ ٦
   8. หาค่าเวลาที่แท้จริง GAT (Greenwich Apparent Time) =
      UT + Correction of EQT = ช่องที่ ٤ + ช่องที่ ٧
   9. GHA in Time = ค่ า GAT + 12h ซึ่ ง สำา หรั บ ประเทศไทย
      กำาหนดไว้ ดังนี้
18-17

หากทำา การทดลองก่ อ นเที่ ย ง จะใช้ ค่ า +١٢h แต่ ถ้ า ทำา การ
ทดลองหลังเที่ยง จะใช้ค่า –١٢h
    ١٠.        GHA in arc เป็นนำา มุ ม ชั่ วโมง จากข้ อ ที่ ٩ แปลงเป็ น
ค่า องศา โดยการคูณ ١٥° โดยเทียบเป็น ١٥° =                          1
ชั่วโมง
      ١٥’ =          1 นาที
      “١٥ =          ١ วินาที
    11.นำา ค่ า Longitude มาบั น ทึ ก เป็ น มุ ม       โดยกำา หนดว่ า ถ้ า
      พื้นที่อยู่ในซีกโลกตะวันตก คิดเครื่องหมายเป็น ลบ(–) แต่
      ถ้าพื้นที่อยูในซีกโลกตะวันออก คิดเครื่องหมายเป็น บวก(+)
                   ่
    12.ทำาการหาค่า LHA (Local Hour Angle) = ค่า ในช่องที่ ١٠
      + ช่ อ งที่ ١١ โดยมุ ม นี้ คิ ด เป็ น มุ ม t แต่ ถ้ า หากมุ ม LHA ที่
      คำา นวณได้ มั ค่ า มากกว่ า ١٨٠ ° ให้ คิ ด ค่ า มุ ม t = ٣٦٠° -
      LHA
    13.จากนั้นนำามุม t ไปหาค่า Tan A โดยคำานวณจาก
               – Tan A               =               sin t
                                cos φ tan δ – sin φ cos t
      โดย มุม         คือ ค่า Lattitude
               มุม    คำานวณจากปฏิทินเวลา ใช้ค่า declination ซึ่ง
คำานวณเช่นเดียวกับค่า EQT ที่ ٠ hour of Greenwich
    14.หาค่ า มุ ม A จากค่ า tan A หากค่ า มุ ม A เป็ น ลบ (−)
      แสดงว่าดวงอาทิตย์อยู่ในทิศ
ตะวันออก แต่หากค่า มุม A เป็น บวก (+) แสดงว่าดวงอาทิตย์อยู่
ในทิศตะวันตก
นำาค่าต่างๆ ทีได้ไปเขียนรูปสามเหลี่ยมดาราศาสตร์
                 ่
    15.จากรู ป สามเหลี่ ย มดาราศาสตร์ จ ะได้ ค่ า Azimuth ดวง
      อาทิตย์ หรืออาจใช้การคำานวณโดย
คำานวณจาก มุม A + ١٨٠°
    16.ค่ า มุ ม Mark to Sun คื อ ค่ า มุ ม hour angle ที่ ไ ด้ จ ากการ
      รังวัด
    17.คำานวณหาค่ามุม True Azimuth to Mark จาก ค่า ในข้อ ١
      ٦ – ค่าในข้อ ١٧ หรือ อาจใช้รูป
สามเหลี่ยมดาราศาสตร์ก็ได้
18-18




ตัวอย่างที่ ١٨.٤ จงคำานวณหาค่า Azimuth ของดวงอาทิตย์ จาก
ข้อมูลต่อไปนี้

Data    Time      Horizontal Angle              Vertical
Set 1                                           Angle
Sight   h m s °  ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″                ° ′ ″
Mark    1 5 2 00 0 0 23 0 0
(L)     5 2 5    0 0 4 6 6 23 1 3 3 1 00
Sun           23 0 0           4 3 3 1 6
(R)           4  6 6
Sun           54 2 0 23 2 0
(R)              3 0 4 1 0
Mark    1 5 1 18 0 0
(L)     5 4 1 0 2 0
Data    Time  Horizontal Angle       Vertical
Set 2                                Angle
Sight   h m s ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″
Mark    1 5 2 24 0 0 23 5 4
(L)     5 8 0 0 0 0 4 0 8 23 5 2 3 0 43
Sun           11 5 4           4 9 4 0 2 .5
(R)           4 0 8
Sun           29 1 0 23 0 0
(R)           5 0 0 5 8 0
Mark    1 0 0 60 0 0
(L)     6 0 0    2 0
Data    Time  Horizontal Angle       Vertical
Set 3                                Angle
Sight   h m s ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″
18-19

Mark    1 0 4 30 0       0   23 5 0
(L)     6 5 2 0 0        0   5 1 6 23 5 3 2 3 00
Sun           17 5       0          5 6 3 8 5
(R)           5 1        6
Sun           35 0       0   23 0 0
(R)           6 0        0   6 2 0
Mark    1 0 5 11 5       0
(L)     6 6 8 9 8        0




วิธีทำา โดยใช้ตารางการคำานวณหาค่า Azimuth ดวงอาทิตย์
18-20




٣.โดยใช้วิธี paralax method
18-21

ตัวอย่า งที่ ١٨.٥ จากข้อมูลในตัว อย่า งที่ ١٨.٤ จงคำา นวณหาค่า
Azimuth ของดวงอาทิตย์
วิธีทำา      โดยใช้ตารางการคำานวณหาค่า Azimuth ดวงอาทิตย์




                         แบบฝึกหัด
18-22

1. ค่า LHA ของดาวเหนือ ที่ longitude ١٠٣١ 12′00″ W เมื่อ
   GHA = ١٠٢١ 34′20″ มีค่าเป็นเท่าใด
2. เหตุใดการรังวัด Azimuth โดยการส่องดวงอาทิตย์ จึงให้ค่า
   ความละเอียดในการรังวัดน้อยกว่า การรังวัด โดยการ
   ส่องดาวเหนือ
3. กำาหนด polar distance = 58°24′36″ มุมชั่วโมงท้องถิ่น
   ของดาวเหนือ ١٤١١ 12′15″ และมุมสูงจริง ٧٢٧ 20′00″
   จงหา Azimuth
4. สามเหลี่ยมดาราศาสตร์ หมายถึงอะไรบ้าง จงอธิบาย และ
   เขียนรูปแสดง
5. การรังวัด Azimuth ดวงอาทิตย์ สามารถหาได้กี่วิธี อะไรบ้าง
6. จงอธิบายวิธีรังวัด Azimuth จากมุมสูงของดวงอาทิตย์ โดย
   ละเอียด
7. จงอธิบายขั้นตอนการคำานวณหาค่าของมุม Azimuth ดวง
   อาทิตย์ โดยการคำานวณ
8. จงอธิบายความหมายของเครื่องมือ solar prism และ gyro
   attachment
9. จงอธิบายค่าแก้มุมสูงที่ถูกต้องของดวงอาทิตย์ โดยละเอียด
   พร้อมทั้งแสดงค่าแก้ด้วย
Greenwich Mean Time มีความหมายต่อประเทศไทยอย่างไร

More Related Content

What's hot

ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ยApirak Potpipit
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
การหาร ใบงาน
การหาร ใบงานการหาร ใบงาน
การหาร ใบงานNattapong Peenasa
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 

What's hot (20)

ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
การหาร ใบงาน
การหาร ใบงานการหาร ใบงาน
การหาร ใบงาน
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

Viewers also liked

บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธChattichai
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณChattichai
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
幾米世界的角落特展(完整版)行銷宣傳簡報
幾米世界的角落特展(完整版)行銷宣傳簡報幾米世界的角落特展(完整版)行銷宣傳簡報
幾米世界的角落特展(完整版)行銷宣傳簡報alinawang
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์Krueye Lunlawan
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์Mook Sunita
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์น้อง อด.
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55yadanoknun
 
2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์ployprapim
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
幾米世界的角落特展(完整版)行銷宣傳簡報
幾米世界的角落特展(完整版)行銷宣傳簡報幾米世界的角落特展(完整版)行銷宣傳簡報
幾米世界的角落特展(完整版)行銷宣傳簡報
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์
 
เอกภพ
เอกภพเอกภพ
เอกภพ
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
 
Sun
SunSun
Sun
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
 
2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 

More from Kasetsart University

ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ PresentKasetsart University
 
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUสรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUKasetsart University
 
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวKasetsart University
 
Hw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateHw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateKasetsart University
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...Kasetsart University
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบKasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisKasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisKasetsart University
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimKasetsart University
 

More from Kasetsart University (20)

ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
 
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUสรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
 
Report stell2
Report stell2Report stell2
Report stell2
 
Soil triaxial data Group 1-3
Soil triaxial data Group 1-3 Soil triaxial data Group 1-3
Soil triaxial data Group 1-3
 
Triaxcial test
Triaxcial testTriaxcial test
Triaxcial test
 
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
 
Calender2555
Calender2555Calender2555
Calender2555
 
Hw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateHw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing update
 
Applied hydrology
Applied hydrologyApplied hydrology
Applied hydrology
 
Applied hydrology nsn
Applied hydrology nsnApplied hydrology nsn
Applied hydrology nsn
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 
Wave 1
Wave 1Wave 1
Wave 1
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Compaction test
Compaction testCompaction test
Compaction test
 
Compaction test data sheet
Compaction test data sheetCompaction test data sheet
Compaction test data sheet
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
 
Grain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.NimtimGrain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.Nimtim
 
Compaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.NimtimCompaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.Nimtim
 

18.azimuth ดวงอาทิตย์

  • 1. 18-1 บทที่ ١8 อาซิมุธดวงอาทิตย์ (Azimuth of Sun) คำาจำากัดความ การคำานวณแนว Azimuth เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาทาง ด้านดาราศาสตร์ (Astronomy) ซึ่งจำาเป็นต้องทราบคำาจำากัดความ ของคำาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและน่าสนใจดังนี้ 1.ทรงกลมฟ้า (Celestial Sphere) คือ ทรงกลมที่สมมติให้ ศูนย์กลางร่วมกับศูนย์กลางของโลก ซึ่งตำา แหน่งต่างๆ ของวัตถุ ฟ้ า เป็ น จุ ดตั ดของแนวจากจุ ดศู น ย์ ก ลางของโลกถึ ง วั ต ถุ ฟ้ า ที่ ผิ ว ทรงกลมฟ้า 2.ขั้ว ฟ้า (Celestial Pole) คือ จุ ดซึ่ ง เป็ น แกนหมุ น ของโลก ตัดกับผิวของทรงกลมฟ้า มี 2 จุด ด้วยกัน คือ ขั้วฟ้าเหนือ (North Celestial) และ ขั้วฟ้าใต้ (South Celestial) 3.เส้นศูนย์สูตรฟ้า (Celestial equator) คือ วงกลมใหญ่บน ทรงกลมฟ้าซึ่งตั้งฉากกับแกนหมุนของโลก 4.Zenith คือ จุดบนทรงกลมฟ้าที่เกิดจากเส้นดิ่งของผู้รังวัด ตัดกับผิวทรงกลมฟ้าด้านเหนือศรีษะขึ้นไป 5.Nadir คือ จุดบนทรงกลมฟ้าจากเส้นดิ่งของผู้รังวัดตัดกับ ผิวทรงกลมฟ้าด้านใต้ลงไป 6.เส้นขอบฟ้า (Celestial Horizon) คือ วงกลมใหญ่บนทรง กลมฟ้า ทีเกิดจากการตัดกันของระนาบขอบฟ้า กับผิวทรงกลมฟ้า ่ 7.วงกลมชั่วโมง (Hour Circle) คือ วงกลมใหญ่บนทรงกลม ฟ้าตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าผ่านจุดฟ้าเหนือและใต้ 8.วงกลมดิ่ง (Vertical Circle) คือ วงกลมใหญ่บนทรงกลม ฟ้าผ่านจุด Zenith และ Nadir 9.เมอริเดียนฟ้า (Celestial Meridian) คือ วงกลมดิ่งผ่านจุด ขัวฟ้า วงเดียวกับวงกลมชั่วโมง ้ 10.มุ ม ชั่ ว โมง (Hour Angle) คื อ มุ ม ระหว่ า งระนาบของ วงกลมชั่วโมงที่ผานวัตถุกับเมอริเดียนฟ้า ่ 11.มุมสูง (Altitude) คือ มุม h มุมสูงของวัตถุฟ้า มีค่าตั้งแต่ 0° - 90° นับจากเส้นขอบฟ้าถึงวัตถุฟ้า 12.ระยะดิ่ ง (Zenith distance) คือ ระยะ 90° - h เป็นระยะ ตามแนวเส้นโค้งวงกลมดิ่ง จากวัตถุฟ้าถึงจุด Zenith
  • 2. 18-2 13.Azimuth คือ มุมวัดจากแนวเมอริเดียน ถึงวงกลมที่ผ่าน วัตถุฟ้าโดยวัดตามเข็มนาฬิกาที่เส้นขอบฟ้า 14.Declination (δ) คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของทรงกลมฟ้า วัดจากเส้นศูนย์สูตรไปหาวัตถุฟ้าถ้านับไปทางทิศเหนือมีค่าบวก แต่หากนับไปทางทิศใต้จะเป็นค่าลบ 15.Polar distance คื อ มุ ม ตามแนวเส้ น วงกลมชั่ ว โมงของ วัตถุถึงขัวฟ้า มีค่าเป็น 90°- δ ้ 16.Astronomic latitude (∅) คือ มุมระหว่าง ระนาบกับแกน หมุนของโลกมีค่า 0° ทีจุดศูนย์สูตรและ 90° ทีขั้วฟ้า ่ ่ 17.Co – latitude (90° - ∅) คือ มุมตามแนว Great Circle ระหว่าง Zenith หรือ Nadir ถึงจุดขั้วฟ้า 18.สามเหลี่ ย มดาราศาสตร์ (Astronomical Triangle) คื อ สามเหลี่ ย มที่ เ กดขึ้ น บนผิ ว ทรงกลมฟ้ า โดยจุ ดขั้ ว ฟ้ า (P) จุ ดดิ่ ง (Z) และจุดขั้วฟ้า (R) มุม t คือมุมชั่วโมง (Hour Angle) มุม Z คือ มุม Azimuth Co titu e -La d Ze ithD n n ista ce =Co -Altitu e d Azimth(A) u Pa lla An le(q ra ctic g ) Ho r An le(t) u g S Po rD n (p la ista ce ) =Co e a n -D clin tio P Ze ith n t d e Laitu P Tria g Nort ZS n le hP Star ole ai t on clin in De l Merida W l stia Cee O se r b rve S h N Ho n rizo Azimth u E Sou thP ole Na ir d
  • 3. 18-3 รูปที่ ١٢.١ ภาพแสดงลักษณะสามเหลี่ยมดาราศาสตร์ ระบบพิกัดดาราศาสตร์ (Celestial Coordinate System) ระบบ ระนาบอ้างอิง ตัวแปรที่กำาหนดจากระนาบ Syste Reference Plan อ้างอิง m Parameters Measured from Reference Plan หลัก รอง หลัก รอง Primary Secondary Primary Secondary Horizo Celestial Celestial Altitude Azimuth n Horizon Meridian (half -90°≤ a 0°≤ A ≤360° containing ≤+90° (+ east) north pole) (+toward zenith) Hour Celestial Hour circle of declination Hour Angle Angle Equator observer’s -90°≤ δ ≤+90° 0 ≤ h≤ 24 h h zenith (half (+ north) 0° ≤ h≤ 360° containing (+ west) zenith) Right Celestial Equinoctial declination Right Ascens Equator colure (half -90°≤ δ ≤+90° Ascension ion containing (+ north) 0h ≤ h≤ 24h vernal 0° ≤ h≤ 360° equinox) (+ east) รูปที ١٢.٢ ภาพแสดงระบบพิกัดดาราศาสตร์ (Celestial Th H riz nS se e o o yt m CoordinateleSystem) Th H u A g S s m e o r n yte Th R h A c nio S se e ig t s e s n yt m z x Ce stia le l Z Ce stia le l Z Ce stia le l Z Me ia rid n Me ia rid n Me ia rid n NCP z z Ve l Circle rtica S Ho r u NCP Eq in ctia uo l NCP S การรังวัด Azimuth จากมุมสูงของดาว z Circle Co re lu การดำาเนินการดำาเนินการทำาเช่นเดียO นกับการส่องดวง O x วกั x T O S a Pa o Sta rt f r a อาทิตย์ Aจับเวลาเฉพาะครั้งแรกและครั้งสุดท้ายนำาค่ามุมสูงที่ได้มCircle No rth Po t in h าu Ho r SCP แก้การหักเหของแสง และ Parallaxrl ก็จะได้ค่ามุม AzimuthCeตามtic Ce stia le l Ho n rizo SCP Ce stia le Eq a u to SCP le l stia Eclip Eq a r u to ต้องการ y N N -y y
  • 4. 18-4 ขั้นตอนได้แก่ส่องธงหลังอ่านมุมราบมุมสูงของดวงดาว จับเวลา และส่องธงหลังอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบมุมราบ 1 3 (a) 4 2 (b) รูปที่ ١٢.٣ ภาพแสดงการส่องดวงอาทิตย์ การส่องดวงเพื่อหาค่า Azimuth ต้องส่องใน quadrant ตรง กันข้าม เพื่อหาค่าเฉลี่ยมุมที่ศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ เช่น quadrant ที1-2 หรือ quadrant ที3-4 ่ ่ ถ้าทำาการส่อง quadrant เดียวต้องทำาการปรับแก้ค่า Semi- diameter ของดวงอาทิตย์ การรังวัด Azimuth จากมุมสูงของดวงอาทิตย์ ใช้ในการหา Azimuth ของเส้นรังวัดบรรจบหมุดของวงรอบ โดยการวัดมุมสูงของดวงอาทิตย์มุมราบระหว่างเส้นบรรจบหมุด และเวลาที่รังวัด จากผลเฉลี่ยของดวงอาทิตย์ ค่า Latitude ที่ ทราบ Declination ของดวงอาทิตย์ ขณะที่รงวัดจากผลเฉลียของ ั ่ เวลา จะได้รูปสามเหลียมทรงกลมฟ้า ซึ่งหาค่ามุม Azimuth ได้ ่ เมื่อทราบค่า Azimuth แล้วนำาไปบวก หรือลบกับค่ามุมราบก็จะได้ ค่ามุม Azimuth ของเส้นรังวัดตามต้องการ การส่องดวงอาทิตย์ที่ดีควรเป็นเวลาสามชั่วโมงก่อนเที่ยง หรือหลังเที่ยง นั่นคือเวลา 9.00 น. หรือ 15.00 น. ซึ่งนิยมรังวัด ในเวลา 15.00 น.มากกว่า และมุมสูงควรเป็น 10° จากพื้นราบค่า ความคลาดเคลื่อนจะน้อยลง ลำาดับขันตอนการรังวัด Azimuth จากดวงอาทิตย์ ้
  • 5. 18-5 เมื่อตั้งระดับกล้องและเข็มทิศแล้ว ให้อ่านภาคของทิศธง หลัง จดไว้แล้วปฏิบัติตามลำาดับดังนี้ 1. ตั้งเวอร์เนียร์ องศาเปิดจานล่างส่องธงหลัง 2. ปิดจานล่าง เปิดจานบนส่องดวงอาทิตย์ 3. อ่านเวอร์เนียร์ราบ เวอร์เนียร์ดิ่ง และนาฬิกา ให้ละเอียด ถึงวินาที 4. เปิดจานบนเลื่อนกล้องส่องดวงอาทิตย์ที่ขอบเดิมตามข้อ 2 แล้ว อ่านเวอร์เนียร์ และ นาฬิกาดังข้อ 3 5. เลื่อนกล้องส่องดวงอาทิตย์ตามข้อ 4 อีกครั้ง 6. เปิดจานบนกลับกล้องเป็นหน้าขวา ส่องดวงอาทิตย์ตาม ข้อ 2 และข้อ 3 แต่ให้ส่องดวง อาทิตย์ขอบตรงกันข้าม 7. ส่องดวงอาทิตย์ตามข้อ 2 ขอบเดิมอีก 2 ครั้ง 8. ส่องธงหลังอีกครั้งหนึ่งเพื่อตรวจสอบว่ากล้องเคลื่อนที่ หรือไม่ ข้อมูลที่ได้ทั้งหมดนี้รวมเป็น 1 ชุด ในการส่องดวงอาทิตย์ ควรส่องในช่วงที่ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ทำาได้ทงช่วงเช้าและบ่าย ควรส่องข้อมูลอย่างน้อย 3 ชุด ั้ ข้อแนะนำาในการรังวัด Azimuth จากดวงอาทิตย์ 1. การเตรียมการ 1.1 หมุดหลักฐานอ้างอิงควรอยู่ในที่โล่ง แล้วสามารถมอง เห็นดวงอาทิตย์ ได้ทั้งในทางทิศตะวันออก และทิศตะวันตก 1.2 หมุดธงหลังควรอยู่ห่างจากจุดตั้งกล้องอย่างน้อย 200 เมตร เพื่อจะได้ไม่ต้องปรับแว่นเล็งมากนักขณะที่กำาลังส่องดวง อาทิตย์ 1.3 ตั้งกล้องให้มั่นคง เพราะถ้ากล้องทรุดเพียงเล็กน้อย ค่า Azimuth จะผิดไปมาก 1.4 ควรตั้งกล้องให้มีความสูงพอเหมาะ กรณีที่กล้องมีระดับ มุมสูงควรปรับระดับให้ฟอง อากาศอยู่ที่จุดศูนย์กลางของหลอดระดับ และปรับระดับมุมสูง ( ระดับเขาควาย) 2. การรังวัด 2.1กล้องหน้าซ้ายเล็งไปที่ธงหลัง อ่านและจดมุมราบ
  • 6. 18-6 2.2เปิด Clamp สวมแว่นกรองแสงทีแว่นเล็ง เล็งไปที่ดวง ่ อาทิตย์ให้สายใยดิ่ง และ สายใยราบสัมผัสของดวงอาทิตย์ โดยจะอยูใน Quadrant ใดก็ได้ ่ อ่านเวลาและจดมุมราบ มุมสูงไว้ 2.3กล้องหน้าขวาเล็งไปที่ดวงอาทิตย์ ให้สายใยดิ่ง และ สายใยราบสัมผัสขอบของ ดวงอาทิตย์ โดยให้ดวงอาทิตย์อยูใน Quadrant ตรงกันข้าม กับ ่ ข้อ 2 2.4เปิด Clamp ถอดแว่นกรองแสงออก กล้องหน้าขวา เล็งไปที่ธงหลัง อ่านและจดมุม ราบ 2.5ปฏิบัติตามข้อ 1-4 ให้ได้ข้อมูลอย่างน้อย 3 ชุด 2.6ช่วงเวลาทีทำาการรังวัดดวงอาทิตย์ของกล้องหน้า ่ ซ้าย และกล้องหน้าขวาต้องไม่ เกิน 3 นาที เพราะค่ามุมสูงที่นำาไปใช้ในการคำานวณ คือ ค่าเฉลี่ย เนื่องจากดวงอาทิตย์เป็นเส้นโค้งถ้าเวลาห่างกันมาก จะทำาให้ค่า เฉลียของมุมสูงผิดความจริงมากขึ้น ่ 2.7วัดค่าภาคของทิศโดยใช้เข็มทิศ จากหมุดตั้งกล้องถึง หมุดธงหลัง และวัดค่า Latitude,Longitude เพื่อนำาไปประกอบการคำานวณ 2.8กรณีทใช้ Solar Prism ประกอบการรังวัดเมื่อสวม ี่ Solar Prism ที่ปากกล้องแล้ว - ก่อนทำาการรังวัด เปิด Clamp ของ Solar Prism แล้ว หมุนให้ขีดแบ่งของ Solar Prism ทาบสนิทกับสายใยดิ่ง และสายใยราบของกล้องเสียก่อน - เมื่อทำาการรังวัดดวงอาทิตย์จะเห็นดวงอาทิตย์ 4 ดวง ซ้อนเหลี่ยมกันการรังวัดให้ใช้สายใยของกล้องทาบจุด ตัดทั้งสี่ของดวงอาทิตย์ ดังนี้ สายใ สายใย
  • 7. 18-7 รูปที่ ١٢.٤ภาพแสดงการตัดกันของขอบดวง อาทิตย์ แต่ทั้งนี้ต้องทำาการรังวัดทั้งกล้องหน้าซ้ายและกล้องหน้า ขวา เพื่อแก้ความคลาดเคลื่อนอันเกิดจากความคลาดเคลื่อนของ กล้องเช่นเดียวกัน การวัดเวลาในการคำานวณ ทางดาราศาสตร์ เวลาที่ ใช้ มี 2 แบบ คือ 1. เวลา sidereal time (เวลาทางดาราคติ) เป็น เวลาในระบบสุ ริ ย ะ จะวั ดเวลาโดยใช้ ดวงอาทิ ตย์ เ ป็ น เวลาจริง ที่ โลกเดินทางรอบดวงอาทิตย์ และหมุนรอบตัวเองใน 1 ปี 2. เวลาในระบบ สุ ริ ย ะ (solar time) หรื อ การนั บ เวลาทางสุริยะคติ นับเป็นชั่วโมง นาที และวินาที ซึ่งเป็นเวลาที่ โลกใช้ในการหมุนรอบดวงอาทิตย์และหมุนรอบตัวเอง แบ่งเป็น 2 ชนิ ด คื อ เวลาจริง หรือเวลาปรากฏ (Apparent Time) และ เวลาเฉลีย หรือเวลาสมมุติ (Mean Time) ่
  • 8. 18-8 • เวลาจริ ง หรื อ เวลาปรากฏ (Apparent Time) เป็ น เวลาที่ ด วงอาทิ ต ย์ เ ดิ น ทางจากซี ก ตะวั น ออกไปยั ง ซี ก ตะวั น ตก โดยนับจาก Meridian ล่าง เวลาที่ปรากฎขณะนั้น เรียกว่า Local Apparent Time (L.A.T) E Up rMe ia e rid n จากภาพด้านซ้าย มือ A L.H.A. A' Meridian ล่าง : mrn g o in S t S' afternoon L.A.T. = 0h .T L.A .T (E) L.A (W ) Meridian บน : L.A.T. = 12h .A. L.H E' Lo e Me ia wr rid n รูปที่ ١٢.٥ ภาพแสดงการนับเวลา Apparent Time ช่วงเช้า ที่ A; Local Hour Angle (L.H.A) = L.A.T + 12 h มุม Meridian Angle วัดจาก E ถึง A = t ช่วงบ่ายที่ A’; Local Hour Angle (L.H.A.) = L.A.T – 12 h ดังนั้น Local Hour Angle (L.H.A) = L.A.T + 12 h - เวลาที่ วั ด จากเมอริ เ ดี ย นล่ า งไปยั ง ดวงอาทิ ต ย์ เรี ย ก L.A.T. - เวลาที่ วั ด จากเมอริ เ ดี ย นล่ า งไปยั ง Mean Sun เรี ย ก L.C.T. (Local Civil Time) - ทุ ก ช่ ว ง 15° ของ longitude เวลาจะต่ า งกั น 1 ชั่วโมง - ทุกช่ ว ง 15° จากเมื อง Greenwich ไปทางทิ ศ East หรื อ West เรียกว่าเป็น Standard longitude 0° จาก Greenwich คือ Zone Time - เวลาทางแถบตะวั น ออกของ Greenwich จะมากกว่ า แถบของ Standard Longitude = longitude ทีต่างกัน ่ - ประเทศไทยอยู่ระหว่าง longitude ตะวันออก ( λE)
  • 9. 18-9 เส้นที่ 99 – 102 ดังนั้นเวลาจึงต่างจาก Greenwich 7 h จึ ง ต้ อ งนำา ไปลบจากเวลาที่ ไ ด้ จ ากนาฬิ ก าจะได้ Greenwich Mean Time (G.M.T) หรือ Universal Time (UT) ดังนั้น เวลามาตรฐานประเทศไทย = G.M.T + 7 h • เวลาเฉลี่ ย หรื อ เวลาสมมุ ติ (Mean Solar Time หรื อ Mean Time) คือเวลาที่สมมติให้มีดวงอาทิตย์อีก 1 ดวงเดินทาง รอบโลก โดยสมมติให้เดินตามขอบ Celestial Equator ด้วยอัตรา สมำ่าเสมอตลอดปี ดังนั้น L.H.T = L.M.T - Eq. of time L.H.T = L.M.T + 12 h - Eq. of time หรือ L.H.T = L.M.T + E เมื่อ E = 12 h - Eq. of time ซึ่ ง ค่ า E หาได้ จ ากปฏิ ทิ น ดวงอาทิ ต ย์ ใน Star Almanac for Land Surveyor และค่ า Equation of time คื อ ความแตกต่ า ง ของเวลาระหว่างเวลาของดวงอาทิตย์จริง กับดวงอาทิตย์สมมุติ ดังนั้น G.H.A = G.M.T + E = UT + E เราสามารถหาค่ า L.H. A ของดวงอาทิ ต ย์ ได้ ใ นทุ ก ตำา บล เมื่อเราทราบค่า Longitude ( λ ) ดังนั้น L.H. A = G.H.A + λE การแก้ค่ามุมสูงของของดาว หรือ ดวงอาทิตย์ 1.ค่าแก้ Parallax เกิดจากมุมระหว่างผู้ส่องกล้องถึงวัตถุฟ้า และจากวัตถุฟ้าถึงศูนย์กลางของโลก ซึ่งค่าที่ได้ มี่ค่าเป็นค่าบวก 2.ค่าแก้ Reflection คือ ค่าแก้การหักเหของแสง เมื่อแสง ผ่านชั้นบรรยากาศ ค่าที่ได้เป็นค่าลบ 3.ค่าแก้ Semi-diameter ของดวงอาทิตย์ เพื่อความถูกต้อง ต้องทำาการวัดขอบบนขอบล่าง นำาผลมาเฉลี่ยค่าแก้จึงจะหายไป 4.ค่ า ปรั บ แก้ ค วามถู ก ต้ อ งของเครื่ อ งมื อ วั ด (Instrument Correction) ซึ่งจะหายไปเมื่อทำาการปรับแก้ 5.ค่าแก้ Curvature of path เมื่อทำาการปรับแก้ค่าต่างๆ เรียบร้อยแล้ว จะได้ค่ามุมสูง ทีแท้จริง (True Altitude) ่
  • 10. 18-10 การคำานวณสามเหลี่ยมดาราศาสตร์ Z A 90° - z c A 90°- b t B P B a 90° - C R C รูปที่ 12.6 ภาพประกอบการคำานวณสามเหลี่ยมดาราศาสตร์ เมื่อวัตถุอยูในตำาแหน่งใดๆ จาก สามเหลี่ยม PZR และ ่ จากกฎของ sin และกฎของ cosine จะได้วา ่ cos z = sin δ - sin h sin ∅ …………..(1) cos h cos ∅ การหามุม t เมื่อรู้ด้าน 3 ด้าน จะได้ว่า cos t = sin h - sin sin ∅ …………..(2) cosδ cos ∅ การหามุม z เมื่อรู้ด้าน 2 ด้าน มุม 1 มุม จะได้ว่า tan z = sin t …………..(3) cos ∅ tan δ - sin ∅ cos t มุ ม นี้ ใ ช้ ห า Azimuth ของดวงดาว และดวงอาทิ ต ย์ เมื่ อ ทราบมุมชั่วโมง ก า ร สำา ร ว จ ห า เ ส้ น รุ้ ง (Latitude)แ ล ะ เ ส้ น แ ว ง (longitude) การหาค่า Latitude หาได้โดยการวัดมุมสูงขณะดวงอาทิตย์ ผ่ า น Meridian ของจุ ด ตั้ ง กล้ อ ง ซึ่ ง ทำา ให้ ท ราบมุ ม สู ง สุ ด ขณะ
  • 11. 18-11 ดาวเหนื อ เวลาที่ คำา นวณค่ า Declination แล้ ว สามารถหาค่ า Latitude ได้ ตัวอย่างที่1 ٨.1 วัดมุมสูงของดวงอาทิตย์ได้ 72°43′48′′ จากทิศ ใต้ ค่ า declination ขณะสั ง เกตมี ค่ า เป็ น - 0°0 ′17′′ จงหาค่ า Latitude วิธีทำา Celestial Equator = 72°43′48′′ + 0°0′17′′ = 72°44′05′′ ∴ Latitude ของกล้อง = 90° - 72°44′05 ′′ = 17°15′45′′Ans. Longitude ของจุ ด ตั้ ง กล้ อ ง คื อ meridian ที่ ผ่ า นจุ ด สั ง เกต ดวงอาทิ ต ย์ วั ด มุ ม สู ง คำา นวณมุ ม สู ง จริ ง โดยแก้ ค่ า refraction แ ล ะ ค่ า parallex จ า ก Local standard time คำา น ว ณ ห า declination ของดวงอาทิตย์ คำา นวณมุมชั่วโมงจริงที่ meridian ของ Greenwich แล้วจึงคำานวณชั่วโมงท้องถิ่นของดวงอาทิตย์ cos t = (sin h - sin δ sin ∅ ) cos δ cos ∅ เมื่ อ ได้ มุ ม t และรู้ ค่ า มุ ม ชั่ ว โมงของดวงอาทิ ต ย์ จะหาค่ า Longitude ได้ Le = L.HA - G.H.A. ตัวอย่างที่1 ٨.2 มุมสูงที่ศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ 39°39′ 0.4′′ ค่ า declination ขณะสั ง เกตมี ค่ า เป็ น -19°26′30′′ ค่ า Latitude ของจุดตั้งกล้อง 15°30′29′′ ค่า GHA ของดวงอาทิตย์ 221°5′7′′ จงคำานวณหาเส้น Longitude วิธีทำา h = 39°31′0.4′′ δ = -19°26′30′′ ∅ = 15°30′29′′ G.H.A = 221°05′27′′ จาก cos t = (sin h - sin δ sin ∅ ) cos δ cos ∅ = (sin 39° 31′ 0.4′′) – [(sin 19° 26′ 30′′)(sin 15° 30′ 29′′)] (cos 19° 26′ 30′′)(cos 15° 30′ 29′′) t = 36° 05′49′′
  • 12. 18-12 เนื่องจากขณะสังเกตดวงอาทิตย์อยูทางตะวันออก (E) ่ ∴ t = - 36°50′49′′ L.H.A ของดวงอาทิตย์ = 360° - 36° 50′ 49′′ = 323°09′11′′ ∴ Le = 323°09′11′′- 221°05′27 ′′ = 102° 03′ 44′′ นั่นคือ ค่า Longitude อยู่ทางตะวันออก Ans. ขันตอนในการคำานวณ Azimuth ดวงอาทิตย์ ก า ร คำา น ว ณ ้ สามารถทำาได้หลายวิธี ١. โดยใช้วิธี hour angle method แบบที่ ١ 1. คำานวณ Latitude และ Longitude จากพิกัด UTM 2. หาความคลาดเคลื่ อ นของนาฬิ ก า ผู้ รั ง วั ด ทั้ ง ก่ อ นและ หลังวัด 3. หาเวลาเฉลี่ยทังก่อนและหลังรังวัด ้ 4. หามุมราบเฉลี่ย และมุมดิ่งเฉลีย จากน้ากล้องปกติ ่ 5. หามุมราบเฉลี่ย และมุมดิ่งเฉลีย จากการกลับหน้ากล้อง ่ 6. หาเวลารังวัดที่ถูกต้อง โดยเอาค่าแก้นาฬิกาของผู้รังวัด และค่าแก้นาฬิกามาตรฐานไปแก้ จากข้อ 3 จะได้เวลาราชการ ท้องถิ่น (Local Civil time, L.C.T) 7. หา เว ลา ร า ชก า ร ที่ กรี นิ ช (Greenwich Civil Time, G.C.T หรือ U.T) UT = L.C. T - 7h 8. หาเวลาปรากฎที่ ก รี นิ ช (Greenwich Apparement time, GAT) G.A.I. = U.T. + E (E หาจากปฏิทิน) 9. หาเวลาปรากฎท้องถิ่น L.A.T = G.A. T + λE h 10. หามุมชั่วโมงของดวงอาทิตย์ (t) L.H.A. (t) = L.A.T. - 12 h ซึ่ ง จ ะ ไ ด้ t เป็น 11. คำานวณหามุม z ได้จาก tan z = sin t Cos ∅ tan δ - Sin ∅ Cos t 12. หา (declination) จากปฏิทิน ตามเวลา ข้อ 7
  • 13. 18-13 13. หาค่าแก้ Semi Diameter S = S / Cosh = S sech 14. หาค่ามุม Am = A - (K – M) ตัวอย่างที่ ١٨.٣ จงคำานวณหาค่า Azimuth ของดวงอาทิตย์ จาก ข้อมูลต่อไปนี้ Station Date Reading of Before After h m s h m s Lat : Limb Clock 19-58-3. observed (B.S.T.) 2 Watch Long: 99-40-1 2.1 Sight Watch Time Horizontal Horizontal Vertical Circle Angle Circle Reading Reading Telescope Direct h m s ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″ Mark 0 0 0 Sun 14 5 2 11 9 35 11 9 35 51 1 28 8 5 6 .9 6 .9 8 .9 Sun 14 5 5 11 2 7 11 2 7 51 2 49 8 9 6 6 6 6 5 Mark 0 0 0 Telescope Reversed 116°30′37′′ Mark 18 0 00 0 0 11 3 48 30 2 20 Sun 15 0 5 29 3 48 6 7 .6 8 0 .3 7 6 7 .6
  • 14. 18-14 Sun 15 2 0 29 4 56 11 4 56 30 8 0. 6 8 .5 6 8 8 9 Mark 18 0 0 0 Watch correction = Known clock correction = Horizontal Angle = (116-26-35.9 + 116-26-7) + (116-37-48.6 + 116-48-56) 2 2 = 116-17-51.45 + 116-43-21.58 2 = 116-30-37 PARTICAL ASTRONOMY Reduction h m s Reference Draw figure Figure Average watch time 15 0 5.2 5 Correction, clock time Τ Clock correction ∆Τ Correct B.S.T. Z.D. −7 0 0 S.T. = Τ + ∆Τ G.C.T. 8 0 5.2 G. C.T. = B.S.T. − 5 7h Equation of time Ε for 0 14 32. Table G. C.T. 18 G.A.T. 8 14 37. G.A.T. = G. C.T. 43 + Ε Given longitude λ 6 38 40. 8 L.A.T. 14 53 18. L.A.T. = G.A.T +
  • 15. 18-15 −1 24 λ 2 L.H.A. of sun 2 53 18. L.A.T. = L.H.A. + 24 12h Meridian angle t of sun 43 19 33. Table and Art in arc units 6 Decl. δ of sun for G. 9 8 19. Table C.T. 16 Given latitude φ 19 58 3.1 9 tan Ζ = sin t cos φ tan δ + sin φ cos t sin t 0.686148535 cos t 0.727461468 sin φ 0.341487953 cos φ 0.939886151 tan δ 0.160866099 tan Ζ 1.717023346 ° ′ ″ Azimuth angle Ζ of 59 47 0.0 sun’s center 2 Corresponding azimuth 30 12 59. A (360-Ζ ) 0 9 Average of horizontal angle readings on sun’s eastern limb Sun’s semidiameter S = Table s = S / cos h = Corrected of horizontal 11 30 37 Corrected for angle K 6 semidiameter
  • 16. 18-16 Average of horizontal 0 0 0 angle readings on the mark M K–M 11 30 37 6 Azimuth of line Am 56 43 36. Am = A – (K – M) 98 See Fig ٢. โดยใช้วิธี hour angle method แบบที่ ٢ 1. หาเวลาเฉลี่ยขณะทำา การรัง วัด บั นทึก เป็ นค่ า time ซึ่งเป็น ค่าเดียวกับ mean time of observation 2. ทำา การปรับแก้เวลา โดยเทียบกับเวลามาตรฐานของแต่ ละ ประเทศ ซึ่งกำาหนดให้ เวลาที่ใช้ทำาการทดลอง เร็วกว่า เวลามาตรฐานดังกล่าว ให้ คิดเครื่องหมายเป็น ลบ(–) เวลาที่ใช้ทำาการทดลอง ช้ากว่า เวลามาตรฐานดังกล่าว ให้ คิดเครื่องหมายเป็น บวก(+) 3. ทำาการเทียบเวลา time zone correction (TZC) เป็นเวลาที่ เทียบกับประเทศกรีนิช ซึ่งประเทศไทยมีเวลามาตรฐานเร็ว กว่าประเทศกรีนิช (Greenwich) อยู่ ٧ ชั่วโมง จึงใช้ค่า – ٧ 4. หาค่ า Universal Time (UT) of Observation ผลรวมของ ค่าในช่องที่ ٣ + ٢ + ١ 5. หาค่า Equation of Time (EQT) ที่ ٠ hour of Greenwich จากตารางปฏิทินเวลา จาก EQT = [(เวลาวันถัดไปจากทีทำาการรังวัด – เวลาวันทีทำาการรัง ่ ่ วดั) x UT ] + เวลาวันที่ทำาการรังวัด 24 6. นำาค่า UT และค่า EQT มาเฉลียต่อชั่วโมง นั่นคือ นำาช่องที่ ٤ ่ x ช่ องที่ ٥ แล้ ว หารด้ ว ย ٢٤ บั น ทึ ก เป็ น ค่ า UT x Var EQT per hour 7. หาค่าปรับแก้ของ EQT = ช่องที่ ٥ + ช่องที่ ٦ 8. หาค่าเวลาที่แท้จริง GAT (Greenwich Apparent Time) = UT + Correction of EQT = ช่องที่ ٤ + ช่องที่ ٧ 9. GHA in Time = ค่ า GAT + 12h ซึ่ ง สำา หรั บ ประเทศไทย กำาหนดไว้ ดังนี้
  • 17. 18-17 หากทำา การทดลองก่ อ นเที่ ย ง จะใช้ ค่ า +١٢h แต่ ถ้ า ทำา การ ทดลองหลังเที่ยง จะใช้ค่า –١٢h ١٠. GHA in arc เป็นนำา มุ ม ชั่ วโมง จากข้ อ ที่ ٩ แปลงเป็ น ค่า องศา โดยการคูณ ١٥° โดยเทียบเป็น ١٥° = 1 ชั่วโมง ١٥’ = 1 นาที “١٥ = ١ วินาที 11.นำา ค่ า Longitude มาบั น ทึ ก เป็ น มุ ม โดยกำา หนดว่ า ถ้ า พื้นที่อยู่ในซีกโลกตะวันตก คิดเครื่องหมายเป็น ลบ(–) แต่ ถ้าพื้นที่อยูในซีกโลกตะวันออก คิดเครื่องหมายเป็น บวก(+) ่ 12.ทำาการหาค่า LHA (Local Hour Angle) = ค่า ในช่องที่ ١٠ + ช่ อ งที่ ١١ โดยมุ ม นี้ คิ ด เป็ น มุ ม t แต่ ถ้ า หากมุ ม LHA ที่ คำา นวณได้ มั ค่ า มากกว่ า ١٨٠ ° ให้ คิ ด ค่ า มุ ม t = ٣٦٠° - LHA 13.จากนั้นนำามุม t ไปหาค่า Tan A โดยคำานวณจาก – Tan A = sin t cos φ tan δ – sin φ cos t โดย มุม คือ ค่า Lattitude มุม คำานวณจากปฏิทินเวลา ใช้ค่า declination ซึ่ง คำานวณเช่นเดียวกับค่า EQT ที่ ٠ hour of Greenwich 14.หาค่ า มุ ม A จากค่ า tan A หากค่ า มุ ม A เป็ น ลบ (−) แสดงว่าดวงอาทิตย์อยู่ในทิศ ตะวันออก แต่หากค่า มุม A เป็น บวก (+) แสดงว่าดวงอาทิตย์อยู่ ในทิศตะวันตก นำาค่าต่างๆ ทีได้ไปเขียนรูปสามเหลี่ยมดาราศาสตร์ ่ 15.จากรู ป สามเหลี่ ย มดาราศาสตร์ จ ะได้ ค่ า Azimuth ดวง อาทิตย์ หรืออาจใช้การคำานวณโดย คำานวณจาก มุม A + ١٨٠° 16.ค่ า มุ ม Mark to Sun คื อ ค่ า มุ ม hour angle ที่ ไ ด้ จ ากการ รังวัด 17.คำานวณหาค่ามุม True Azimuth to Mark จาก ค่า ในข้อ ١ ٦ – ค่าในข้อ ١٧ หรือ อาจใช้รูป สามเหลี่ยมดาราศาสตร์ก็ได้
  • 18. 18-18 ตัวอย่างที่ ١٨.٤ จงคำานวณหาค่า Azimuth ของดวงอาทิตย์ จาก ข้อมูลต่อไปนี้ Data Time Horizontal Angle Vertical Set 1 Angle Sight h m s ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″ Mark 1 5 2 00 0 0 23 0 0 (L) 5 2 5 0 0 4 6 6 23 1 3 3 1 00 Sun 23 0 0 4 3 3 1 6 (R) 4 6 6 Sun 54 2 0 23 2 0 (R) 3 0 4 1 0 Mark 1 5 1 18 0 0 (L) 5 4 1 0 2 0 Data Time Horizontal Angle Vertical Set 2 Angle Sight h m s ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″ Mark 1 5 2 24 0 0 23 5 4 (L) 5 8 0 0 0 0 4 0 8 23 5 2 3 0 43 Sun 11 5 4 4 9 4 0 2 .5 (R) 4 0 8 Sun 29 1 0 23 0 0 (R) 5 0 0 5 8 0 Mark 1 0 0 60 0 0 (L) 6 0 0 2 0 Data Time Horizontal Angle Vertical Set 3 Angle Sight h m s ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″ ° ′ ″
  • 19. 18-19 Mark 1 0 4 30 0 0 23 5 0 (L) 6 5 2 0 0 0 5 1 6 23 5 3 2 3 00 Sun 17 5 0 5 6 3 8 5 (R) 5 1 6 Sun 35 0 0 23 0 0 (R) 6 0 0 6 2 0 Mark 1 0 5 11 5 0 (L) 6 6 8 9 8 0 วิธีทำา โดยใช้ตารางการคำานวณหาค่า Azimuth ดวงอาทิตย์
  • 21. 18-21 ตัวอย่า งที่ ١٨.٥ จากข้อมูลในตัว อย่า งที่ ١٨.٤ จงคำา นวณหาค่า Azimuth ของดวงอาทิตย์ วิธีทำา โดยใช้ตารางการคำานวณหาค่า Azimuth ดวงอาทิตย์ แบบฝึกหัด
  • 22. 18-22 1. ค่า LHA ของดาวเหนือ ที่ longitude ١٠٣١ 12′00″ W เมื่อ GHA = ١٠٢١ 34′20″ มีค่าเป็นเท่าใด 2. เหตุใดการรังวัด Azimuth โดยการส่องดวงอาทิตย์ จึงให้ค่า ความละเอียดในการรังวัดน้อยกว่า การรังวัด โดยการ ส่องดาวเหนือ 3. กำาหนด polar distance = 58°24′36″ มุมชั่วโมงท้องถิ่น ของดาวเหนือ ١٤١١ 12′15″ และมุมสูงจริง ٧٢٧ 20′00″ จงหา Azimuth 4. สามเหลี่ยมดาราศาสตร์ หมายถึงอะไรบ้าง จงอธิบาย และ เขียนรูปแสดง 5. การรังวัด Azimuth ดวงอาทิตย์ สามารถหาได้กี่วิธี อะไรบ้าง 6. จงอธิบายวิธีรังวัด Azimuth จากมุมสูงของดวงอาทิตย์ โดย ละเอียด 7. จงอธิบายขั้นตอนการคำานวณหาค่าของมุม Azimuth ดวง อาทิตย์ โดยการคำานวณ 8. จงอธิบายความหมายของเครื่องมือ solar prism และ gyro attachment 9. จงอธิบายค่าแก้มุมสูงที่ถูกต้องของดวงอาทิตย์ โดยละเอียด พร้อมทั้งแสดงค่าแก้ด้วย Greenwich Mean Time มีความหมายต่อประเทศไทยอย่างไร