SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ 3.9
มุมกล้องสุดสวย
มุมกล้องในการถ่ายวีดีโอ
มุมกล้อง หมายถึง ทิศทางที่ตั้งของกล้องกับวัตถุที่ถูกถ่าย ประกอบด้วยมุมหลักๆ ดังต่อไปนี้
1. มุมกล้องแบบ ออบเจกทีฟ (Objective Camera Angle) ลักษณะมุมกล้องนี้ ทาให้ผู้
ดูได้เห็นภาพโดยตรงจากเลนส์กล้อง ซึ่งจะทาหน้าที่เสมือนตาผู้ดู
2. มุมกล้องแบบ ซับเจกทีฟ (Subjective Camera Angle) มุมกล้องลักษณะนี้ใช้กล้อง
แทนผู้ดู ทาให้ผู้ดูเป็นเสมือนผู้แสดงที่กาลังอยู่นอกจอ ผู้แสดงจะมองหรือพูดกับเลนส์กล้อง ทาให้รู้สึก
ว่าผู้แสดงในจอมองหรือพูดกับผู้ดูโดยตรง ทาให้ผู้ดูรู้สึกว่า เข้าไปมีส่วนร่วมใน ภาพยนตร์เรื่องนั้น
3. มุมกล้องแบบ พอยต์ ออฟ วิว (POV,Point of view camera angle) มุมกล้อง
ลักษณะนี้ผู้กากับจะให้ผู้ดูเห็นภาพเหตุการณ์จากสายตาของผู้แสดงอีกทีหนึ่ง ผู้ดูจะเห็นผู้แสดงจากมุม
กล้องออบเจกทีฟ (Objective Camera Angle) และเห็นภาพที่ผู้แสดงเห็นจากมุมกล้องพอยต์ ออฟ
วิว (POV,Point of view camera angle) ตัวอย่างเช่น ภาพแรกผู้ดูเห็นภาพเฮลิคอปเตอร์บินเหนือ
กรุงเทพ แล้วตัดภาพไปที่คนขับมองลงมาข้างล่าง แล้วตัดเป็นภาพการจราจรในกรุงเทพฯ ภาพ
การจราจรในกรุงเทพ เป็นภาพจากมุมกล้องพอยต์ ออฟ วิว ของคนขับเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์
4. มุมที่ผู้กากับกาหนดขึ้นเอง (Director’s Interpretative Camera Angle) เป็นมุม
กล้องที่ผู้กากับอาจจะกาหนดมุมกล้องขึ้นมาเอง เพื่อให้เกิดเรื่องราวเร้าใจชวนติดตามยิ่งขึ้น เป็นการ
สื่อสารเข้าถึงอารมณ์ของผู้ดูโทรทัศน์ได้อย่างเต็มที่
ภาพตัวอย่างมุมกล้องแบบต่างๆ
ขนาดภาพในการถ่ายวีดีโอ
ขนาดภาพ ในการถ่ายทาวีดีโอ การกาหนดขนาดภาพในการถ่ายทาวีดีโอ ภาพยนตร์ สื่อวีดี
ทัศน์ ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะขนาดภาพจะสื่อความหมายของภาพ ช่างภาพวีดีโอต้องมีประสบการณ์
และอาศัย ช่วงจังหวะที่ดี อาจเรียกเป็นภาษาฝรั่งได้ว่า Golden Moment เลยที่เดียว เพราะการถ่าย
วีดีโอ แตกต่างจากการถ่ายทา หนัง หรือโฆษณา อย่างสิ้นเชิง
การถ่ายทาภาพยนตร์ นั้น มีการ Block การเข้าออกที่ชัดเจน ส่วนในการถ่ายวีดีโอ เป็นการ
ถ่าย แบบRealtime ช่างภาพต้องมีประสบการณ์ ช่างภาพที่ดีควรศึกษารายระเอียดของงาน และควร
มาก่อนเวลา เพื่อดูสถานที่ สามารถเลือกใช้ขนาดและมุมภาพ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
โดยทั่วไป การกาหนดขนาดภาพนั้นไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน ในหลักปฏิบัติแล้ว มักใช้ 3
ขนาด คือ ขนาดภาพระยะไกล ระยะปานกลาง และระยะใกล้ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว เป็นขนาดที่อาจ
เรียกได้ว่าเป็นการแบ่งขนาดอย่างกว้าง อย่างไรก็ตาม เราสามารถแบ่งย่อยขนาดของภาพได้อีกและมี
ชื่อที่เรียกได้ชัดเจนดังนี้
1. ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot/ELS)
ภาพประเภทนี้เหมาะสาหรับการถ่ายสถานที่โล่งแจ้ง มักเน้นพื้นที่กว้างใหญ่ และเปรียบเทียบ
กับสัดส่วนของคน เพื่อให้เกิดการเปรียบเทียบ ภาพ EIS ส่วนใหญ่ใช้ในการเปิดฉาก เพื่อบอกเวลา
เช่นเมื่อไปถ่ายภาพแต่งงาน อาจเปิดฉากด้วยการถ่าย บริเวณโดย รอบ ประตู หรือแม้แต่ ประตู ป้าย
แต่ในหลายครั้ง อาจใช้ภาพในระยะใกล้ (cu) เพื่อเปิดฉากไว้ดึงดูดอารมณ์คนดู ให้สูงขึ้น หรือหักมุม
ให้เกิดความประทับใจ
2.ภาพระยะไกล (Long Shot/LS)
ภาพระยะไกล เป็นภาพที่ค่อนข้างสับสนและไม่มีขนาดที่แน่นอน บางครั้งอาจเรียกว่า ภาพ
กว้าง หรือภาพมุมกว้าง (Wide Shot) เวลาใช้อาจกินพื้นที่ตั้งแต่ภาพระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพ
ระยะไกล (LS) ซึ่งเป็นภาพกว้าง แต่สามารถเห็นรายละเอียดของฉากหลังและผู้แสดงมากขึ้น เมื่อ
เปรียบเทียบกับภาพระยะไกลมาก หรือ เรียกว่า Full Shot เป็นภาพกว้างเต็มตัว ตั้งแต่ศีรษะจนถึง
ส่วนเท้า
ภาพระยะไกล(LS) บางครั้งนาไปใช้เพื่อเปรียบเทียบ เหมือนกับขนาดภาพระหว่างคนดู กับ
ภาพที่ต้องการให้มอง เห็นเท่ากันพอดี คือสามารถมองเห็นอากัปกิริยา ของคนในภาพได้ชัดเจน และ
เต็มตัว
3.ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot)
เป็นภาพที่เห็นรายละเอียดของคนในภาพมากขึ้นตั้งแต่ศีรษะจนถึงขา หรือหัวเข่า บางครั้ง
เรียกว่า Knee Shot
4.ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot)
ภาพระยะปานกลาง เป็นขนาดที่มีความหลากหลายและมีชื่อเรียกกันหลายชื่อ แต่โดยปกติจะ
มีขนาดประมาณตั้งแต่หนึ่งในสี่ถึงสามในสี่ส่วนของร่างกาย บางครั้งอาจเรียกว่า Mid Short หรือ
Waist Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่ใช้กันมากในการถ่ายทาภาพยนตร์ เรียกว่า ภาพครึ่งตัว
ภาพระยะนี้มักใช้เชื่อมต่อภาพระยะไกล (Ls) กับภาพระยะใกล้ (Cu)
5. ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Closed-up/MCU)
เป็นภาพแคบ คลอบคลุม บริเวณตั้งแต่ศีรษะถึงไหล่ของผู้แสดง ใช้สาหรับ สื่ออารมณ์
ความรู้สึกที่ใบหน้า ถ้าเป็นการภาพงานแต่งงาน จะถ่ายให้เห็นท่าทางดีใจ หรือสะท้อนอารมณ์ ของคู่
บ่าวสาว เน้นให้รู้สึกเด่นขึ้นมาในเฟรม บางครั้งอาจเรียกว่า Bust Shot มีขนาดเทากับรูปปั้นครึ่งตัว
6. ภาพระยะใกล้ (Close-up/CU)
เป็นภาพที่เห็นบริเวณศีรษะและบริเวณใบหน้า เน้นรายระเอียดให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่นริ้วรอย
อารมณ์ ครอบน้าตาส่วนใหญ่เน้นความรู้สึกที่สายตา แววตา เป็นการนากล้องไปสารวจอย่างใกล้ชิด
7. ภาพระยะใกล้มาก (Extremes Close-up/ECU หรือ XCU)
เป็นภาพที่เน้นส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น มือ เท้า ปาก หรือตา เป็นต้น ภาพจะถูก
ขยายใหญ่บนจอจะเห็นรายละเอียดมากยิ่งขึ้น
ขอบคุณข้อมูลดีๆ จากเว็บไซต์เหล่านี้
http://www.thaiart.in.th/index.php?topic=47.0
http://www.lib.ubu.ac.th/techno/Down%20Load/vdo%20shot.pdf
http://arit.rmutsv.ac.th/blogs/55-ขนาดภาพในการถ่ายวีดีโอ-48

More Related Content

What's hot

ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติwaraporny
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
bimteach
 
สารคดีเล่าประสบการณ์ ความสุขของการเป็นผู้ให้
สารคดีเล่าประสบการณ์  ความสุขของการเป็นผู้ให้สารคดีเล่าประสบการณ์  ความสุขของการเป็นผู้ให้
สารคดีเล่าประสบการณ์ ความสุขของการเป็นผู้ให้waraporny
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
Panomporn Chinchana
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Jit Khasana
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
niralai
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
ptbelle eiei
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
Chainarong Maharak
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
สารคดีเล่าประสบการณ์ ความสุขของการเป็นผู้ให้
สารคดีเล่าประสบการณ์  ความสุขของการเป็นผู้ให้สารคดีเล่าประสบการณ์  ความสุขของการเป็นผู้ให้
สารคดีเล่าประสบการณ์ ความสุขของการเป็นผู้ให้
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 

More from Samorn Tara

003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียวSamorn Tara
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกรSamorn Tara
 
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
Samorn Tara
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-10111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1Samorn Tara
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-60111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6Samorn Tara
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
ตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง Bibตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง BibSamorn Tara
 
Lesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงLesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงSamorn Tara
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิงSamorn Tara
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิงSamorn Tara
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปSamorn Tara
 

More from Samorn Tara (20)

003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
 
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-10111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-60111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
ตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง Bibตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง Bib
 
Lesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงLesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียง
 
Lesson5 44 ref
Lesson5 44 refLesson5 44 ref
Lesson5 44 ref
 
Lesson5 33
Lesson5 33Lesson5 33
Lesson5 33
 
Lesson5 22
Lesson5 22Lesson5 22
Lesson5 22
 
Lesson5 11
Lesson5 11Lesson5 11
Lesson5 11
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
 
Work 4.1
Work 4.1Work 4.1
Work 4.1
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุป
 
Lesson4 refer22
Lesson4 refer22Lesson4 refer22
Lesson4 refer22
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย

  • 1. ใบความรู้ที่ 3.9 มุมกล้องสุดสวย มุมกล้องในการถ่ายวีดีโอ มุมกล้อง หมายถึง ทิศทางที่ตั้งของกล้องกับวัตถุที่ถูกถ่าย ประกอบด้วยมุมหลักๆ ดังต่อไปนี้ 1. มุมกล้องแบบ ออบเจกทีฟ (Objective Camera Angle) ลักษณะมุมกล้องนี้ ทาให้ผู้ ดูได้เห็นภาพโดยตรงจากเลนส์กล้อง ซึ่งจะทาหน้าที่เสมือนตาผู้ดู 2. มุมกล้องแบบ ซับเจกทีฟ (Subjective Camera Angle) มุมกล้องลักษณะนี้ใช้กล้อง แทนผู้ดู ทาให้ผู้ดูเป็นเสมือนผู้แสดงที่กาลังอยู่นอกจอ ผู้แสดงจะมองหรือพูดกับเลนส์กล้อง ทาให้รู้สึก ว่าผู้แสดงในจอมองหรือพูดกับผู้ดูโดยตรง ทาให้ผู้ดูรู้สึกว่า เข้าไปมีส่วนร่วมใน ภาพยนตร์เรื่องนั้น 3. มุมกล้องแบบ พอยต์ ออฟ วิว (POV,Point of view camera angle) มุมกล้อง ลักษณะนี้ผู้กากับจะให้ผู้ดูเห็นภาพเหตุการณ์จากสายตาของผู้แสดงอีกทีหนึ่ง ผู้ดูจะเห็นผู้แสดงจากมุม กล้องออบเจกทีฟ (Objective Camera Angle) และเห็นภาพที่ผู้แสดงเห็นจากมุมกล้องพอยต์ ออฟ วิว (POV,Point of view camera angle) ตัวอย่างเช่น ภาพแรกผู้ดูเห็นภาพเฮลิคอปเตอร์บินเหนือ กรุงเทพ แล้วตัดภาพไปที่คนขับมองลงมาข้างล่าง แล้วตัดเป็นภาพการจราจรในกรุงเทพฯ ภาพ การจราจรในกรุงเทพ เป็นภาพจากมุมกล้องพอยต์ ออฟ วิว ของคนขับเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ 4. มุมที่ผู้กากับกาหนดขึ้นเอง (Director’s Interpretative Camera Angle) เป็นมุม กล้องที่ผู้กากับอาจจะกาหนดมุมกล้องขึ้นมาเอง เพื่อให้เกิดเรื่องราวเร้าใจชวนติดตามยิ่งขึ้น เป็นการ สื่อสารเข้าถึงอารมณ์ของผู้ดูโทรทัศน์ได้อย่างเต็มที่
  • 2. ภาพตัวอย่างมุมกล้องแบบต่างๆ ขนาดภาพในการถ่ายวีดีโอ ขนาดภาพ ในการถ่ายทาวีดีโอ การกาหนดขนาดภาพในการถ่ายทาวีดีโอ ภาพยนตร์ สื่อวีดี ทัศน์ ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะขนาดภาพจะสื่อความหมายของภาพ ช่างภาพวีดีโอต้องมีประสบการณ์ และอาศัย ช่วงจังหวะที่ดี อาจเรียกเป็นภาษาฝรั่งได้ว่า Golden Moment เลยที่เดียว เพราะการถ่าย วีดีโอ แตกต่างจากการถ่ายทา หนัง หรือโฆษณา อย่างสิ้นเชิง การถ่ายทาภาพยนตร์ นั้น มีการ Block การเข้าออกที่ชัดเจน ส่วนในการถ่ายวีดีโอ เป็นการ ถ่าย แบบRealtime ช่างภาพต้องมีประสบการณ์ ช่างภาพที่ดีควรศึกษารายระเอียดของงาน และควร มาก่อนเวลา เพื่อดูสถานที่ สามารถเลือกใช้ขนาดและมุมภาพ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยทั่วไป การกาหนดขนาดภาพนั้นไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน ในหลักปฏิบัติแล้ว มักใช้ 3 ขนาด คือ ขนาดภาพระยะไกล ระยะปานกลาง และระยะใกล้ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว เป็นขนาดที่อาจ เรียกได้ว่าเป็นการแบ่งขนาดอย่างกว้าง อย่างไรก็ตาม เราสามารถแบ่งย่อยขนาดของภาพได้อีกและมี ชื่อที่เรียกได้ชัดเจนดังนี้
  • 3. 1. ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot/ELS) ภาพประเภทนี้เหมาะสาหรับการถ่ายสถานที่โล่งแจ้ง มักเน้นพื้นที่กว้างใหญ่ และเปรียบเทียบ กับสัดส่วนของคน เพื่อให้เกิดการเปรียบเทียบ ภาพ EIS ส่วนใหญ่ใช้ในการเปิดฉาก เพื่อบอกเวลา เช่นเมื่อไปถ่ายภาพแต่งงาน อาจเปิดฉากด้วยการถ่าย บริเวณโดย รอบ ประตู หรือแม้แต่ ประตู ป้าย แต่ในหลายครั้ง อาจใช้ภาพในระยะใกล้ (cu) เพื่อเปิดฉากไว้ดึงดูดอารมณ์คนดู ให้สูงขึ้น หรือหักมุม ให้เกิดความประทับใจ 2.ภาพระยะไกล (Long Shot/LS) ภาพระยะไกล เป็นภาพที่ค่อนข้างสับสนและไม่มีขนาดที่แน่นอน บางครั้งอาจเรียกว่า ภาพ กว้าง หรือภาพมุมกว้าง (Wide Shot) เวลาใช้อาจกินพื้นที่ตั้งแต่ภาพระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพ ระยะไกล (LS) ซึ่งเป็นภาพกว้าง แต่สามารถเห็นรายละเอียดของฉากหลังและผู้แสดงมากขึ้น เมื่อ เปรียบเทียบกับภาพระยะไกลมาก หรือ เรียกว่า Full Shot เป็นภาพกว้างเต็มตัว ตั้งแต่ศีรษะจนถึง ส่วนเท้า ภาพระยะไกล(LS) บางครั้งนาไปใช้เพื่อเปรียบเทียบ เหมือนกับขนาดภาพระหว่างคนดู กับ ภาพที่ต้องการให้มอง เห็นเท่ากันพอดี คือสามารถมองเห็นอากัปกิริยา ของคนในภาพได้ชัดเจน และ เต็มตัว 3.ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot) เป็นภาพที่เห็นรายละเอียดของคนในภาพมากขึ้นตั้งแต่ศีรษะจนถึงขา หรือหัวเข่า บางครั้ง เรียกว่า Knee Shot 4.ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot) ภาพระยะปานกลาง เป็นขนาดที่มีความหลากหลายและมีชื่อเรียกกันหลายชื่อ แต่โดยปกติจะ มีขนาดประมาณตั้งแต่หนึ่งในสี่ถึงสามในสี่ส่วนของร่างกาย บางครั้งอาจเรียกว่า Mid Short หรือ Waist Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่ใช้กันมากในการถ่ายทาภาพยนตร์ เรียกว่า ภาพครึ่งตัว ภาพระยะนี้มักใช้เชื่อมต่อภาพระยะไกล (Ls) กับภาพระยะใกล้ (Cu)
  • 4. 5. ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Closed-up/MCU) เป็นภาพแคบ คลอบคลุม บริเวณตั้งแต่ศีรษะถึงไหล่ของผู้แสดง ใช้สาหรับ สื่ออารมณ์ ความรู้สึกที่ใบหน้า ถ้าเป็นการภาพงานแต่งงาน จะถ่ายให้เห็นท่าทางดีใจ หรือสะท้อนอารมณ์ ของคู่ บ่าวสาว เน้นให้รู้สึกเด่นขึ้นมาในเฟรม บางครั้งอาจเรียกว่า Bust Shot มีขนาดเทากับรูปปั้นครึ่งตัว 6. ภาพระยะใกล้ (Close-up/CU) เป็นภาพที่เห็นบริเวณศีรษะและบริเวณใบหน้า เน้นรายระเอียดให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่นริ้วรอย อารมณ์ ครอบน้าตาส่วนใหญ่เน้นความรู้สึกที่สายตา แววตา เป็นการนากล้องไปสารวจอย่างใกล้ชิด 7. ภาพระยะใกล้มาก (Extremes Close-up/ECU หรือ XCU) เป็นภาพที่เน้นส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น มือ เท้า ปาก หรือตา เป็นต้น ภาพจะถูก ขยายใหญ่บนจอจะเห็นรายละเอียดมากยิ่งขึ้น