SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
GEN 211 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหนังสือ Global Report
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม รักษ์
นางสาว บุษบงกช คชธรรมรัตน์ รหัส 54211226
นาย ปฏิพัทธ์ เกตุโพธิ์ทอง รหัส 54211227
นาย พงษ์พัฒน์ อิงพงษ์พันธ์ รหัส 54211228
นางสาว สิริกร สติมานนท์ รหัส 54211246
นาย เพิ่มพูน จินตสถาพร รหัส 54211251
นางสาว ทินยาฎา อากาศน่วม รหัส 54211262
นางสาว ธาริณี ทิพยจันทร์ รหัส 54211265
นาย วรพัฒน์ อดุลยศักดิ์สกุล รหัส 53211286
บทที่ 1 Food Politics
อาหารมีความสาคัญต่อโลกเป็นอย่างมาก ปัจจุบันโลกของเรา มีทั้งคนอดตาย และอ้วนตาย
ซึ่ ง เ กิ ด จ า ก ป ร า ก ฎ ก า ร ณ์ “ ก า ร เ มื อ ง เ รื่ อ ง อ า ห า ร ”
ซึ่งสาเหตุของการเกิดในยุดโลกภิวัฒน์ซึ่งเปลี่ยนภาคเกษตรเป็นอุตสาหกรรมทาให้เกิดปัญหาการไร้สิทธิ์
นโยบายที่เคยปกป้องภาคชนบทถูกรื้อจากเศรษฐกิจโลก จากกฎว่าด้วยการตลาดเสรีขององค์การการค้าโลก
ซึ่งทาลายระบบตลาดท้องถิ่นของอินเดียโดยสั่งให้อินเดียขจัดกาแพงภาษีทาให้ผลผลิตราคาถูกไหลเข้าประเ
ท ศ ที่ ย า ก จ น สิ น ค้ า ร า ค า ต ก ต่ า
ซึ่งแก้ปัญ หาโดยก ารเปิดตลาดเพิ่มการส่งออกดอกไม้และเนื้อสัตว์แทนที่จะปลูกผักกินเอง
ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ไ ม่ มั่ น ค ง ท า ง อ า ห า ร แ ล ะ เ สี ย ร ะ บ บ นิ เ ว ศ
คนจนถูกท าให้อดตาย เพราะมีสินค้าส่งออกล้นเกินจนต้องทิ้งแต่กลับป ล่อยให้ค นอดตาย
เกิดเป็นความขลาดแคลนท่ามกลางความล้นเกิน
ใน ป ระเท ศ เอธิโอเปี ย ป ลูก เพื่อยัง ชีพ ถูกท าให้ อดต าย ซ้ าซ ากจากก ารตลาด
ห ลั ง จ า ก ก า ร เ กิ ด ภ า ว ะ ฝ น แ ล้ ง ต้ อ ง ย อ ม รั บ พื ช จี เ อ็ ม โ ด ย จ า ส ห รั ฐ
แ ล ะ ถู ก ก ด ดั น จ าก ธ น า ค า ร โล ก ให้ ล ด ก า ร ส า ร อ ง พื ช ผ ล เ พื่ อ น าเ งิน ไป ใช้ ห นี้
ธนาค ารโลกมีแผนจะให้เอกช นท าการเกษตรลดบ ท บ าทข องรัฐบ าลยกเลิกการอุดห นุ น
ย ก เ ลิ ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ที่ ดู แ ล สิ น ค้ า เ ก ษ ต ร ซึ่ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ใ ห ญ่ ๆ ไ ม่ ท า
กดดันให้รัฐบาลสร้างสนามบินแห่งใหม่โดยให้กู้เงินจากธนาคาร ทาให้ความสามารถในการปลูกพืชลดลง
จึงทาให้เกิดภาวะอดอยากและขาดแคลน
ความอ้วนตาย โรคอ้วนเป็นโรคอันดับนึงที่ทาให้คนอเมริกาตาย เกิดจากการกินไม่ดี
กิ น อ า ห า ร ฟ า ส ต์ ฟู้ ด แ ล ะ ไ ม่ อ อ ก ก า ลั ง ก า ย ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ม า ก ขึ้ น
รัฐบาลรณรงค์ให้ออกกาลังกายแต่ไม่ให้ลดการบริโภคเพราะกลัวกระทบกับอุตสาหกรรมอาหารที่สนับสนุนท
า ง ก า ร เ มื อ ง ซึ่ ง เ ป็ น อุ ต ส า ห ก ร ร มี่ ค ร อ บ ง า ก า ร เ มื อ ง
ซึ่งอุตสาหกรรมได้เปลี่ยนสังคมให้กลายเป็นสังคมกินข้าวนอกบ้าน ซึ่งหลากหลายและราคาถูก
คนอเมริกันจึงมีการบริภาคที่ล้นเกิน อุตสาหกรรมอาหารจึงต้องแข่งขันกันจนไม่ได้สนใจคุณค่าทางอาหาร
มี ก า ร โ น้ ม น้ า ว ใ ห้ กิ น สิ น ค้ า ข อ ง บ ริ ษั ท ม า ก ๆ
โฆษณาว่าสินค้าดีจนกลายเป็นวัฒนธรรมเชื่อมั่นกันจนเป็นประเพณีและกลายเป็นถูกกฎหมาย
ในตอนแรกคนอเมริกันได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ จึงได้รับการสนับสนุนให้บริโภคอาหารทุกประเภท
จนกลายเป็ นได้รับ คุณค่ามากเกินไป นาไป สู่โรค ร้ายจนกลาย เป็ นสาเห ตุก ารตาย ห ลักๆ
ซี่งมีการทางานในสาธารณะสุขถูกนักการเมืองแทรกแซงโดยห้ามระบุในรายงานว่าควรกินเนื้อน้อยลงและห้า
มจากัดการกิน ต้องหลีกเลี่ยงการการพูดถึงตัวอาหาร เพื่อไม่ให้ถูกอุตสาหกรรมอาหารร้องเรียน
กลวิธีการตลาดพุ่งเป้าไปที่เด็กๆ พฤติกรรมการบริโภคเป็นพีระมิดที่ไม่ได้สัดส่วน มีกฎหมายชีสเบอร์เกอร์
ห้ าม ผู้บ ริโภ ค ซึ่ง ป่ ว ย เป็ น โรค อ้ว น ฟ้ อง ร้อ ง อุ ต ส าห ก รรม อ าห าร แล ะ เ ค รื่อ ง ดื่ ม
โดยอ้างว่าเป็นเรื่องความรับผิดชอบส่วนบุคคล
บทที่2 Horror in Downunder
ออสเตรเลียเป็นเมืองที่มีชีวิตความเป็นอยู่ดีสุดเป็นอันดับ4 ซึ่งมีชนพื้นเมืองอะบอริจิน
มีคนอายุสั้นและติดคุกมีคุณภาพชีวิตรั้งท้าย เป็นคนด้อยโอกาสในสังคม และมีการฆ่าตัวตาย
ซึ่งภาวะเหล่านี้เกิดจากคนอังกฤษ พวกแรกที่มาออสเตรเลียบอกว่าชนพื้นเมืองปฏิบัติต่อเราอย่า งดี
แต่ เมื่อพ ว กผิว ข าว เริ่มตั้งรกราก ค ว ามขัด แย้ง ก็เริ่ม ต้นขึ้ น และกลาย เป็ น ศัต รูกั น
ชาวอะบอริจินอยู่กันอย่างอุดมสมบูรณ์มาก เพราะมีแนวคิด เคารพธรรมชาติ-เคารพแผ่นดิน แหล่งอาหาร
แต่ชาวอังกฤษโค่นต้นไม้ ล่าสัตว์เพื่อขาย คนในชนเผ่าติดโรคระบาดจากชาวอังกฤษคนที่เหลือก็อพยพ
เข้ าไป อ ยุ่ ใน ป่ า ลึก ช า ว อัง ก ฤ ษ อ พ ย พ ก็ บุ ก รุ ก เ ข้ าไป ยึ ด เ ป็ น เ จ้า ข อ ง ห ม ด
แต่ ช าว อ ะบ อริจิน ถือว่ าอ ะไรที่ เกิ ด จาก ผืน แผ่ น ดิน ก็ ถือ ว่ าเป็ น สม บั ติข อง ทุ ก ค น
ไม่เคยบอกว่าตัวเองเป็นเจ้าของ
คนข าวเริ่มใช้วิธีห นักๆเพื่อให้อะบ อริจินห ลาบ จา โดนการฆ่ าอย่ างโห ดเหี้ ย ม
เ มื่ อ น า ค ดี ม า ขึ้ น ศ า ล ส รุ ป ว่ า ค น ข า ว มี ค ว า ม ผิ ด แ ต่ ก็ ถู ก ป ล่ อ ย ตั ว
ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง แ ล ะ ก า ร ฆ่ า อ ย่ า ง โ ห ด เ หี้ ย ม ท า ให้ ช า ว อ ะ บ อ ริจิ น ลุ ก ขึ้ น สู้
เมื่ อ มีก าร ป ะ ท ะ กั น ห นั ก ๆ ค น ข า ว ก็ ให้ ท ห าร ออ ก ก ว า ด ล้าง เกิ ด ก าร สัง ห า รห มู่
โ ด ย ก า ร จั บ ตั ว ช า ว อ ะ บ อ ริ จั น แ ล้ ว ไ ด้ ค่ า หั ว
ห นั งสือพิม พ์ตีพ พิม พ์เรีย ก ร้อ งให้ ช าว พื้นเมือ ง ย้าย อ อกไป จากถิ่น ฐาน ข อง ค นข าว
ถ้ า ไ ม่ ย้ า ย จ ะ ล่ า เ ห มื อ น สั ต ว์ ป่ า
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ได้ดาเนินมาอย่างเป็นระบบและถูกทาให้ถูกกกฎหมายจากนโยบาย Integration
เพื่อกาจัดเลือดอะบอริจินให้หมดจากออสเตรเลีย เพราะเชื่อว่าอะบอริจินเป็นตัวทาลายหน้าตาของประเทศ
หัวใจหลักของนโยบายคือแยกเอาเด็กอะบอริจินลูกครึ่งไปอบรมเพื่อให้พร้อมเป็นคนใช้ตามบ้าน
เป็ น แ ร ง ง า น น ฟ า ร์ม ให้ ม อ ง ค น ข า ว เ ป็ น ผู้ ใจ บุ ญ ว่ า รับ ไ ป เ ป็ น ลู ก บุ ญ ธ ร ร ม
เอาเด็กอะบอริจินมาผสมกับคนขาวหลายรุ่นเลือกอะบอริจินจะหมดไปจากออสเตรเลีย ซึ่งอย่างน้อยมี
อะบอริจิน 3 รุ่นที่ถูกพลัดพราก ซึ่งมีเด็กอะบอริจินบอกว่าบาทหลวงและแม่ชีเป็นผู้ทาร้าย และข่มขืน
ลาริสซา จาก ห นั ง เรื่อง Home เป็ น ห นั งข องช าว อะบ อริจิน ลาริส เบ ห์ เรน ท์
ที่ บ รรย าย ค รอบ ค รัว ข อ ง ตัว เอ ง เล่ าเรื่ อง ข อง พ่ อ ที่ เก ลีย ด ค ว าม เป็ น อะบ อ ริจิน
จนเมื่อออกตามหารากเหง้าเพื่อเรียนรู้ชาติพันธุ์ที่แท้จริงได้เปลี่ยนเป็นคนใจดีและเชื่อมั่นในตัวเอง
แต่ความสาเร็จของหนังเรื่องนี้ได้คุณความดีมาจากแม่ที่เป็นคนขาวพยายามสอนลูกให้ภูมิใจในความเป็นอะ
บอริจินและภูมิใจกับชาติพันธุ์ของตนเอง ให้ปรองดองคนอะบอริจินและไม่ใช่ให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ร ะ ดั บ ช า ติ เ ส น อ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ค ว า ม ป ร อ ง ด อ ง
ให้ขอโทษกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นการขอโทษแห่งชาติไม่ไดรับหารตอบสนอง ไม่มีการขอโทษ
มี เ พี ย ง ก า ร จั ด ง บ ป ร ะ ม า ณ ใ ห้ ซึ่ ง ห ลั ง จ า ก นั้ น ใ น ปี 2 0 0 8
นายกรัฐมนตรีได้กล่าวสุนทรพจน์เพื่อขอขอโทษกลุ่มชนพื้นเมืองอะบอริจิน
บทที่ 3 WAR GAME
เ ก ม ส์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
และเกมส์สงครามได้เข้ามามีบทบาทแทนภาพยนตร์ที่เคยมีบทบาทสาคัญในการปั้นสร้างความจริง
เก ม ส์นั้ น ไม่ ได้ มีเ พี ย ง ไว้ ส ร้าง ค ว า ม บั น เ ทิ ง แ ล ะ ค ว าม ส นุ ก ส น า น ภ าย ใน บ้ า น
เดิมเกมส์สงครามมีไว้เพื่อสร้างแบบจาลองในการวางยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของกระทรวงกลาโหม
ซึ่งคล้ายการซ้อมรบจริง
ห ลัง จ า ก นั้ น เพ น ต า ก อ น ได้ ผ ลิต เก ม ส์ส ง ค รา ม อ อ ก ข าย ต า ม ท้ อ ง ต ล า ด
และสนับสนุนให้เอกชนพัฒนาเกมส์นี้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กรุ่นใหม่ใกล้กับความคุ้นเคยทางเทคโนโลยี
ซึ่งในตอนแรกได้มองอุตสาหกรรมเกมส์เป็นเครื่องมือฝึกทหาร และคัดเลือกกาลังพล ต่อมาเกมส์ยุคใหม่
Full Spectrumผู้เล่นได้รับบทเป็นหัวหน้าเข้าไปปราบผู้ก่อการร้ายหัวรุนแรง ซึ่งเปลี่ยนคอนเซ็ปต์จาก
Military- industry complex เ ป็ น Military entertainment Complex
เพื่ อต อบ ส นอ ง ค ว าม ต้อง ก ารข อ ง กอ ง ทั พ เพื่ อ เตรีย ม ค น รุ่น ให ม่ เข้ าสู่ สม รภู มิรบ
ทาให้คนรุ่นใหม่เข้าใจประวัติศาสตร์ได้ดีแค่ไม่รู้สึกถึงการายและการสูญเสีย
กองทัพสหรัฐกับซีไอเอสามารถเอาชนะทุกสงครามและฆ่าทุกคนที่ต้องการเพราะมีทั้งฮาร์ดแวร์และ
ซ อ ฟ ท์ แ ว ร์ อ า น า จ แ ล ะ เ งิ น ที่ จ ะ ปั้ น โ ล ก ไ ด้ อ ย่ า ง ที่ ต้ อ ง ก า ร
เกมที่ถูกพัฒนาขึ้นนาภาพจริงมาใส่เอฟเฟ็คลบเส้นแบ่งระหว่างความจริงและเกม ชีวิตจริงและนิยาย
เกมสงครามเวียดนามได้เขียนประวัติสาสตร์ขึ้นใหม่จากทหารผ่านศึกว่าการฆ่าเป็นความชอบธรรมที่ต้องดา
เ นิ น ต่ อ ไ ป ซึ่ ง ใน เ ก ม อ า จ จ ะ เ ลื อ ก เ ป็ น ฝ่ า ย ส ห รั ฐ ห รื อ ฝ่ า ย ศั ต รู ก็ ไ ด้
แต่นายทหารระดับสูงของสหรัฐได้ขอเลิกเล่นกลางคันโดยให้เหตุผลว่าเกมนี้ถูกออกแบบมาเพื่อให้สหรัฐชนะ
เท่านั้น เกมเหล่านี้ได้นิยามศัตรูอย่างหยาบหยามจนผ่ายที่เหนือกว่าถือว่าเป็นความชอบทาในสงคราม
การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ถูกสร้างด้วยโลกดิจิตอล
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ถู ก เ ขี ย น ขึ้ น ให ม่ ก า ร ใ ช้ ก า ลั ง ไ ด้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ
วิธีการไหนจะมีอิทธิพลมากกว่ากันระหว่างการเล่นเกม และหนังสือเรียน นักจิตวิทยากล่าวว่า
เกมจะทาให้คนเล่นจมลึกจนข้ามเส้นระหว่างชีวิตจริงกับบนจอ เกมจะเปลี่ยนวิธีการมองโลก
ทาให้เด็กมองโลกในพิมพ์เดียวกัน เกมสงครามจะช่วยเปลี่ยนทัศนคติที่คนมีต่ออาชญากรรม
เพราะพร้อมจะทาความเข้าใจผ่านเกม ซึ่งจะกลายเป็นวิธีการเดียวสาหรับการคลี่คลายความขัดแย้ง
เก ม ที่ ม าจ า ก Military entertainment Complex ท า ให้ ก า รตั ด สิ น ใจ ท า ง ท ห า ร ดี ขึ้ น
แต่ก็ท าลาย ข้อถกเถียงในใจข องค นรุ่นให ม่ในเรื่องข องการมีศีลธรรมในการท าสงคราม
เราจึงควรบอกกล่าวลูกหลานที่อยู่ในวังวนของเกมว่าสิ่งพวกนี้ไม่ใช่ข้อเท็จจริงขิงประวัติศาสตร์
เ ป็ น เ พี ย ง เ ก ม มิ เ ช่ น นั้ น คุ ณ ค่ า ค ว า ม เ ป็ น ม นุ ษ ย์ สิ ท ธิ เ ส รี ภ า พ
คึวามเป็นธรรมจะถูกกลบด้วยความต้องการอาวุธสงครามเพื่อทาลายล้าง และผลประโยชน์ของผู้มีอานาจ
บทที่ 4 Killing me soft drink
ในประเทศเรา หากพูดถึงน้าสีดา ก็เป็นที่เข้าใจว่า หมายถึงน้าอัดลมสีดา ในต่างประเทศก็เช่นกัน
น อ ก จ า ก จ ะ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก แ ล้ ว น้ า อั ด ล ม สี ด า นี้ ก็ ยั ง เ ป็ น ที่ นิ ย ม อี ก ด้ ว ย
อย่างที่เราทราบกันว่าน้าอัดลมมีโทษมากมาย เพราะน้าอัดลมนี้ มีส่วนผสมเพียง น้าและน้าตาล
ซึ่งก่อให้เกิดโรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร โรคกระดูพรุน และเป็นสาเหตุให้เกิดโรคอื่นๆอีกมากมาย
แต่ก็ยังมีคนมากมายที่นิยมชมชอบที่จะกินมัน และกินเป็นประจาสม่าเสมอ
นอกจากโทษข้างต้นแล้ว เราไม่เคยท ราบเลยว่า น้าอัดลม มีโทษอื่นๆอีก มากมาย
จากราย งานผ ลป ระกอบ การ ท าให้ท ราบ ว่ าท างบ ริษัท ผลิตน้ าอัดลม มีกาไรสูงมาก
แต่ก็มีรายจ่ายมากมายเช่นกัน เราอาจจะคิดว่าน้าอัดลมไม่น่าจะต้นทุนสูง และใช่คุณคิดถูก ตัวผลิตภัณฑ์น้า
ต้นทุนต่ามาก แต่ค่าใช้จ่ายมากมายนั้น ได้เสียไปกับ ค่าขนส่ง และค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์
ปัณหาสาคัญคือ เงินที่เป็นต้นทุนเสียไปกับการโฆษณามากมาย แต่ใช้เงินเพียงส่วนน้อยให้กับ
แรงงานชั้นผู้น้อย และก ารป รับป รุงพัฒ นาระบ บ ก ารผลิต ท าให้ระบ บ ก ารผลิตปัจจุบัน
ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่นที่มีรายงานว่า เมื่อบริษัท นี้ไปตั้งโรงงานที่ประเทศ อินเดีย
ได้ทาการดูดน้าจากบ่อมาใช้ วันละ หลายแสนลิตร ทาให้น้าใต้ดินบริเวณพื้นที่นั้น ลดลงไปมากถึง 40 ฟุต
นอกจากนี้ยังมีการปล่อยน้าเสียลงแม่น้า ซึ่งเป็นผลให้เกิดยุง และโรคระบาดตามมา
ปัจจุบันในหลายๆประเทศ มีการตอบ โต้บริษัท น้าอัดลมมากมาย เช่น การฟ้ องร้อง
การรณ รงค์งดดื่มน้ าอัดลม รวมไป ถึงการงดจาห น่ าย น้าอัดลมในสถานศึกษา ต่อไป นี้
หากเราจะดื่มน้าอัดลมก็คงต้องคิดหนักหน่อย ว่าจะส่งผลกระทบอะไรต่อโลกและมนุษย์บ้าง
บทที่ 5 War for all, War for money.
เรื่องราวนี้จะพูดถึงความตั้งใจดีที่จะพัฒนาชีวิตคนอิรักของกองทัพสหรัฐว่ามีข้อเท็จจริงเพียงใด
โดยคนอิรักส่วนใหญ่มีความเห็นว่าตัวเองน่าจะปลอดภัยกว่าหากไม่มีกองทัพสหรัฐและคิดว่าเป็นผู้บุกรุกมา
กกว่าผู้ปลดปล่อย เพราะความเชื่อของนักลงทุ นที่ว่าอิรักเป็ นขุมท องแคลิฟอร์เนียแห่งให ม่
เ นื่ อ ง จ า ก ธุ ร กิ จ ด้ า น ต่ า ง ๆ เ ติ บ โ ต ขึ้ น ม า ก ห ลั ง ส ง ค ร า ม ไ ม่ น า น
และยังมีการสนับสนุนให้เอกชนของสหรัฐเข้าไปลงทุนในอิรัก โดยมีนโยบายให้อิรักเป็นเขตการค้าเสรี
ทั้งยังมีคาสั่งที่ 39 ว่าด้วยการลงทุนที่มีเนื้อความอานวยความสะดวกให้นักลงทุนต่างชาติอย่างเต็มที่
เปรียบเป็น “ฝันของนักลงทุน” จึงเกิดความคิดที่ว่า สงครามจะเกิดขึ้นเองไม่ได้ ต้องมีปัจจัย
แต่บ างปัจจัย ก็เกิดขึ้นโดยค วามจงใจและตั้งใจ นั่นคือเราจึงค วรพิจารณาให้แจ่มชัดว่ า
ส ง ค ร า ม ไ ด้ ส ร้ า ง ผ ล ก า ไ ร ม ห า ศ า ล ใ ห้ แ ก่ บ ริ ษั ท ใ ห ญ่ ๆ
ไ ม่ ใ ช่ แ ต่ เ ฉ พ า ะ กิ จ ก ร ร ม ที่ เ กี่ ย ว กั บ ท ห า ร แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง เ ท่ า นั้ น
แต่รวมไปถึงการฟื้นฟูโครงสร้างระบบน้าประปาและบาบัดน้าเสีย, การจัดหาอาหารและซักผ้าให้กองทัพ,
การนาเข้าน้ามันและฟื้นฟูอุตสาหกรรมน้ามัน ซึ่งรายจ่ายที่เกิดจากการทาสงครามกับอิรักนั้น
ทางรัฐบาลสหรัฐได้ใช้รายได้จากอุตสาหกรรมน้ามันมาใช้จ่ายทั้งหมด เปรียบว่าสงครามนี้คือ War for oil.
ก า ร ท า ส ง ค ร า ม ค รั้ง นี้ ท า ง ส ห รั ฐ ไ ม่ ไ ด้ ต้ อ ง ก า ร เ พี ย ง ชั ย ช น ะ
หากแต่ต้องการผลประโยชน์ถาวรจึงต้องทาการวางรากฐานเพื่อป้องกันการต่อต้านของชาวอิรักและการประ
ณามจากป ระช าค มโลก โดย การเสริมสร้าง ศักย ภาพค นอิรักที่ มีแนว โน้มจะเป็ นมิตร
ทั้ ง ก า ร ใ ห้ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ต่ า ง ๆ
เรียกเป็นยุทธวิธี”การสร้างฉันทามติที่กว้างขวางและยั่งยืนในหมู่ชนชั้นสูงให้สนับสนุนการปฏิรูป”
บทที่ 6 War on blue gold
เรื่องราวนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับน้าที่อาจเกิดการขาดแคลนในอนาคตเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากรโ
ลก ส่ง ผ ล ให้ เ กิ ด ก ารผั น น้ า , เกิ ด ม ล พิ ษ ท า ง น้ า , แ ล ะก ารใช้ น้ า อย่ าง สิ้น เป ลือ ง
ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ส่งผลให้น้าเป็นโอกาสทางธุรกิจที่ยิ่งใหญ่ธุรกิจหนึ่งของโลกและเป็นธุรกิจของศตวรรษที่ 21
น้ากลายเป็นสินค้าที่มีค่า และทาให้ตลาดน้าโลกที่ยังอยู่ในการดูแลของรัฐกลายเป็นเป้ าหมาย
โดยบริษัทน้าขนาดใหญ่เริ่มวางแผนไปถึงการส่งออกน้าโดยใช้วิธีการผันน้าผ่านท่อและแท็งก์น้าขนาดใหญ่
เพื่ อบ รรจุน้ าส่ง ให้แก่ บ างภู มิภ าค ที่ยิน ดีจ่าย เงินเพื่ อแลกกับ น้ าไว้ ใช้ ในย ามฉุ กเฉิ น
ซึ่งในปัจจุบันมีบ างบ ริษัท ที่กาลังพัฒ นาเท คโนโลยีที่สามารถบ รรทุ กน้าจืดปริมาณมาก ๆ
ล ง ถุ ง แ ล้ ว ล า ก ข้ า ม ม ห า ส มุ ท ร ไ ป ข า ย
ทาให้ประชาชนมีความเชื่อว่าการแปรรูปน้าให้เอกชนจะสามารถแก้ไขปัญหาความไร้ประสิทธิภาพของการจั
ด ก า ร น้ า ไ ด้ แ ล ะ ท า ให้ มี เ งิ น ม า ข ย า ย ก า ร ล ง ทุ น โ ด ย ค่ า น้ า จ ะ ไ ม่ สู ง ขึ้ น
ซึ่งเป็นความเชื่อที่ผิดเพราะหลายแห่งค่าน้าแพงขึ้นหลายเท่าตัว
จาก ค ว าม ล้มเห ลว ใน การจัดก ารน้ าและค่าน้ าที่ แพ ง ขึ้น โด ย บ ริษัท ข้ามช าติ
เป็นการตอกย้าว่าการแปรรูปน้าไม่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงน้าที่สะอาดด้วยราคาที่เหมาะสมได้
เนื่องจากผลประโยชน์ของน้าบังตาความจริงที่ว่าทางรัฐสามารถจัดการน้าได้โดยตอบสนองความจาเป็นของ
ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ส ร้ า ง ห ลั ก ป ร ะ กั น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร น้ า แ ก่ ค น จ น
ทั้ง ยั ง ส ร้าง ผ ล ก าไรได้ม าก พ อ จ ะน าไป ข ย า ย ก าร ล ง ทุ น ที่ ส่ ง ผ ล ต่ อ ส่ว น ร ว ม ได้
แต่ทางบริษัทข้ามชาติก็ไม่ยอมปล่อยกิจการน้าหลุดมือได้ง่าย ซึ่งหากน้ายังคงตกอยู่ให้กามือของฝ่ายทุน
อาจท าให้แม่น้าห ลาย สายทั่วโลกแห้งขอด ประชาชนล้มตายละเกิดปัญ หาโรคภัยไข้เจ็บ
เหลือเพียงแต่แท็งก์น้าและถุงน้าขนาดยักษ์ที่เป็นนวัตกรรมทางทุนนิยม
บทที่ 7 Privatizing education
เรื่องนี้ได้กล่าวเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาของสถาบันการศึกษาที่จะดาเนินการเปิดเสรีการศึกษาใ
นด้านของค่าเรียนและค่าจ้างผู้สอน ซึ่งบางคนอาจเรียกมันว่า ปฏิรูปการศึกษา แต่บางคนอาจเรียกว่า
แ ป ล ง ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น สิ น ค้ า ซึ่ ง สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ
ท าง รัฐ บ า ล ตัด ล ด ง บ ป ร ะ ม า ณ ที่ ส นั บ ส นุ น ม ห าวิ ท ย า ลัย ข อ ง รัฐ ล ง อ ย่ า ง ม า ก
ผลคือทางมหาวิทยาลัยต้องหาทางเอาตัวรอด โดยการขึ้นค่าเล่าเรียนในอัตราที่ก้าวกระโดด
แ ล ะ ล ด ง บ ป ร ะ ม า ณ เ พื่ อ ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า แ ก่ นั ก เ รี ย น ย า ก จ น
ดังนั้นจากเดิมที่ต้องสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพเพื่อการพัฒนาประเทศให้เกิดผลดีกับสังคมโดยรวมกลายเป็นว่
า ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น สิ น ค้ า ที่ ต้ อ ง มี ก า ร ล ง ทุ น ,
ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสาขาที่ทาเงินมากกว่าสาขาที่ไม่ทาเงิน
เ มื่ อ ท า ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ต้ อ ง ห า เ ลี้ ย ง ต น เ อ ง
ส่งผลให้เกิดการแข่งขันอย่างรุนแรงเพื่อให้ได้นักศึกษาที่มีคุณสมบัติดีเยี่ยมและร่ารวยมาช่วยสร้างชื่อให้แก่ม
ห าวิ ท ย าลัย น อ ก จ าก นี้ ยั ง ต้ อ ง มีกิ จ ก ร รม ท า ง ก า ร ต ล า ด เ ช่ น ก าร โฆ ษ ณ า
และการพิจารณาคัดเลือกนักศึกษาที่ใช้เพียงการทดสอบทั่วๆ ไป เพื่อให้ทราบขีดความสามารถทางการเงิน
ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ ง หั น ไ ป พึ่ ง ภ า ค ธุ ร กิ จ เ อ ก ช น ต่ า ง ๆ
โดยทางภาคธุรกิจเอกชนมักให้การบริจาคเงินแก่มหาวิทยาลัยอย่างลับๆ ทั้งด้านทุนการศึกษา
ทุ น ก า ร วิ จั ย เ ป็ น ต้ น เ พื่ อ ให้ ท า ก า ร วิ จั ย ที่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ธุ ร กิ จ ข อ ง ต น
ดังนั้นการใช้การตลาดยังเป็นสิ่งที่ฉลาดที่มหาวิทยาลัยทาได้ หากแต่ใช้เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ
เนื่องจากการอุดมศึกษานั้นมีภาระหน้าที่สาคัญที่ต้องทาเพื่อสังคม
บทที่8 As the devil catches you
รถ ไฟ ที่ กล่าว ถึง ใน บ ท นี้ ไม่ใช่ สิ่ง อื่น ใด แต่ คือ การตัดต่ อพัน ธุก รรม นั่นเอ ง
โดยทางบริษัทยักษ์ใหญ่ได้ทาการตัดต่อพันธุกรรม ปรับแต่งเมล็ดพันธุ์พืชต่างๆ จากนั้นก็ทาการจดสิทธิบัตร
โดยให้เหตุผลในการตัดต่อพันธุกรรมว่าเป็นการท าให้พืชแข็งแรงขึ้น ทาให้ใช้สารเคมีลดลง
ทาให้ได้รับผลผลิตมากขึ้น และ ยังเป็นเครื่องมือสาคัญ ในการเอาชนะความยากจนของเกษตรกร
แต่นั่นก็เป็นเพียงการกล่าวอ้างลอยๆ จากบริษัทขนาดยักษ์ของโลก เพียงไม่กี่บริษัทเท่านั้น ซึ่งอยู่ใน
ป ร ะ เ ท ศ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ท า ง แ ถ บ ยุ โ ร ป
จะเห็นได้ว่าตลาดทางการค้าเมล็ดพันธุ์พืชได้ถูกผูกขาดอย่างเบ็ดเสร็จ
หากคากล่าวอ้างที่ว่า การตัดต่อพันธุกรรมนั้นดี มีประโยชน์ เป็นจริงแล้ว ก็คงจะไม่มีข่าวที่ว่า
ประเทศทางสหรัฐอเมริกา รวมถึงยุโรป หยุด หรือยกเลิก การปลูกพืชที่ได้รับการตัดแต่งพันธุกรรม
รวมไปถึงเกษตรกรที่ออกมาฟ้องร้องด้านคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ และยังมีงานวิจัยต่างๆมากมายที่บอกได้ว่า
คากล่าวอ้างในข้อดีต่างๆของ พืชที่ได้รับการตัดแต่งทางพันธุกรรมนั้น ไม่จริงตามที่บริษัทได้โฆษณาไว้
เมื่อข่าวออกมาดังนี้ ทาให้เกิดการต่อต้านทั้งจากทางเกษตรกร และผู้บริโภคที่มากขึ้น
ในเชิงลึกเบื้องหลัง ได้มีการแฉและฟ้องร้องมากมายว่า บริษัทเหล่านี้ พยายามหลอกล่อ ชักชวน
จูงใจ ท าทุกวิถีทางเพื่อที่จะให้เกษตรกรยอมเป็นลูกค้าตน หากใครไม่ยอมก็จะ ข่มขู่ ขโมย
รวมถึงการกล่าวหา ว่าละเมิดสิทธิบัตร
จ า ก ห ล า ย ๆ ส า เ ห ตุ ข้ า ง ต้ น ท า ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ ใ น ท วี ป เ อ เ ชี ย
แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ใน แ ถ บ แ อ ฟ ริ ก า เ ป็ น เ ป้ า ห ม า ย ใ ห ม่ ข อ ง บ ริ ษั ท เ ห ล่ า นี้
โด ย จะพ ย าย าม ห าเห ตุผ ล ต่ าง ๆ ม ากม าย ม าอ้าง ว่ าป ระเท ศ ข อง เ รากาลัง พ ล าด
และข าด การพัฒ น าท างด้านเท ค โน โลยี โด ย ป ระโย ค ย อดฮิต ที่น าโน้มน้ าว ใจ เช่ น
จีเอ็มโอไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ เป็นการปรับปรุงพันธุ์ให้ดีขึ้น ลดการใช้สารเคมี ให้ผลผลิตที่มากขึ้น
แก้ไขปัญหาอาหารขาดแคลน และภาวะยากจนได้
ประเด็นหลักที่ทาให้คนมองข้ามปัญหาเกี่ยวกับการตัดต่อพันธุกรรมของเมล็ดพันธุ์คือ
คนส่วนใหญ่จะมองว่ากฎหมายของประเทศตนเองสามารถ รักษาความปลอดภัยได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว
พืชจีเอ็มโอก็เหมือนพืชทั่วๆไป นั่นคือ สามารถขยายพันธุ์ได้มากมาย โดยที่มนุษย์ไม่สามารถควบคุมได้เลย
คิดดูสิ หากจีเอ็มโอดีจริง ทาไมที่ประเทศเจ้าของบริษัทตัวเองถึงยังต่อต้าน
บทที่ 9 Defending our live demanding our right!
ปัจจุบันก ารท าเห มืองแร่เป็ นที่แพร่ห ลาย ทั่วโลก และเป็ นไป อย่ างแพร่ก ระจาย
ที่ไหนมีทรัพยากรก็จะไปตั้งเหมือง และขุดนาทรัพยากรมาใช้ พอทรัพยากรหมดก็จะปล่อยเหมืองที่ขุดไว้
เป็นเหมืองร้าง แต่ส่วนมากประชาชนทั่วไปจะทราบเพียงว่า
- การทาเหมืองแร่เป็นเพียงการขุดเอาแต่แร่เท่านั้น
- การทาเหมืองมีผลกระทบน้อยต่อโลก
- เหมืองดีต่อชุมชน สร้างงาน สร้างรายได้
- กฎหมาย หรือ รัฐบาลสามารถควบคุม ดูแลได้
- ประโยชน์ที่ได้จากการทาเหมืองขุดแร่ มากกว่า โทษที่เหมืองจะก่อให้เกิด
- เมื่อเราต้องการทรัพยากร หรือ แร่ใหม่ๆ ก็ต้องขุด
- สามารถทาเหมืองแร่ได้ แต่พอบอกให้ทาที่ชุมชน หรือหมู่บ้านของตนเอง ก็จะปฏิเสธ
แต่หากได้ลองฟังในมุมมองของผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับเหมืองเหล่านี้ กลับพบว่า สิ่งที่เราคิด หรือได้ยินมานั้น
กลับตรงกันข้าม คือ การทาเหมืองแร่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ของบริเวณรอบๆเหมืองอย่างมาก
ถึงขนาดมีคนกล่าวว่า “ ความทุกข์ทรมานที่คนในประเทศของฉันได้รับ ล้วนเกิดจากเพชรที่อยู่ใต้พื้นดิน ”
หากมองย้อนกลับไปกลับพบว่าเราคิดเพียงว่า หากต้องใช้ทรัพยากร ก็หาใหม่ อยากใช้แร่
ก็ขุ ดแร่ให ม่ เราไม่เค ย คิดถึง การรีไซเคิล ห รือการนากลับ มาใช้ให ม่ ห รือแม้กระทั่ง
การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
หากเรายังใช้ชีวิตแบบเดิม สักวันหนึ่ง เมื่อทรัพยากรหมดลงจริงๆ มนุษย์ หรือเราเองนั่นแหละ
ที่จะได้รับผลจากการกระทาของตัวเอง
บทที่ 10 Cuba Crackdown
Cuba Crackdown เราคือคิวบา อเมริกาไม่ใช่พ่อเรา
คิ ว บ า เ ค ย เ ป็ น อ า ณ า นิ ค ม ข อ ง ส เ ป น เ มื่ อ ส ห รั ฐ ร บ ช น ะ ส เ ป น
จึงเข้ามาปกครองคิวบาโดยการเขียนรัฐธรรมนูญ และเผด็จการบาติสตาซึ่งปกครองอย่างโหดเหี้ยม
เมื่อทาการปฏิวัติขับไล่บาติสตาแล้ว หลังการปฏิวัติรัฐบาลเข้ายึดที่ดินจากเจ้าของที่ดินและบริษัทของสหรัฐ
แล้วจัดการเป็นวิสาหกิจ ซึ่งทาการปลูกพืชเชิงเดี่ยว คืออ้อย แต่มีการใช้วิธีการเกษตรแบบปฎิวัติเขียว
เป็นแนวทางการใช้เครื่องจักรกล ปุ๋ ยเคมี สารเคมีกาจัดศัตรูพืช จนส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
แต่ เ มื่ อ ก ลุ่ ม สัง ค ม นิ ย ม โซ เวี ย ต ล่ ม ส ล าย ซึ่ง ส่ ง ผ ล ก ร ะท บ ต่ อก า รค้า อย่ า ง ม า ก
และสหรัฐถือโอกาสคว่าบาตรทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหารอย่างหนัก
แม้จะประสบปัญหาอย่างหนัก แต่คิวบาเลือกที่จะสู้ โดยปราศจากการลงทุนจากต่างประเทศ
ไม่ค้าขายกับต่างชาติ ธนาคารโลกไม่ช่วยเหลือ มีเพียงองค์กรพัฒนาเอกชนและนักวิชาการจากต่างประเทศ
ซึ่งก ารทาก ารเก ษตรข องคิวบ าในขณ ะนั้นใช้เท ค นิค ป ลูกแบบ ผสมผสาน ใช้ปุ๋ ย อินท รีย์
ไม่ได้พึ่งพ าปัจ จัย ภ าย น อก สารเค มี ปุ๋ ย เนื่ อง จ าก ไม่ มีก ารค้าข าย กับ ต่ าง ป ระ เท ศ
จากนั้นผลการวิจัยในห้องทดลองถูกนามาใช้จริง โดยสร้างศูนย์ควบคุมการผลิตแบบชีวภาพ
ซึ่งตั้งอยู่ ในสหกรณ์การเกษตร เป็น การผลิตเชื้อแบ คทีเรีย ห รือเชื้อราไป ต่อต้านศัตรูพืช
ผลิตแมลงไปกินศัตรูพืช และยังค้นพบแบคทีเรียที่ดึงเอาฟอสฟอรัสมาจากดินให้พืชได้ประโยชน์
แก้ปัญหาการใช้ปุ๋ยเคมี ชาวคิวบาพยายามสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อให้ประเทศอยู่ได้ โดยทาจากใจ
เป็นอุดมการณ์ ช่วยกันสร้างชาติ ไม่ได้ทาตามนโยบาย ทั้งยังมีการพัฒนาระบบการศึกษาให้เป็นธรรมชาติ
จนถึงการทาการเกษตรในเมือง คือการป ลูกพืชผักในสวนของตัวเอง ตามที่ว่างในเมือง
ซึ่งทุกคนมีโอกาสร่วมทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ร่วมกันแก้ปัญหา สร้างนวัตกรรม คิดค้นสิ่งใหม่
ปัจจุบัน คิวบาเป็นประเทศเดียวที่มีระบบการเกษตรทั้งหมดเป็นเกษตรอินทรีย์ ไม่พึ่งพาสารเคมี
ปุ๋ ย ยา และเครื่องจักรในการทาการเกษตร ที่ใช้ในการบริโภคภายในประเทศและส่งออกด้วย
ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร เ ดิ น บ น เ ส้ น ท า ง ก า ร พึ่ ง พ า ต น เ อ ง อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
เป็นการตอบโจทย์ว่าเกษตรทางเลือกสามารถเลี้ยงคนทั้งประเทศได้ โดยอาศัยความเป็นน้าหนึ่งใจเดียว
ทุกชนชั้นวรรณะลาบากไปด้วยกัน ร่วมมือกัน
สหรัฐบอกว่าการเมืองและเศรษฐกิจของคิวบาเป็นแบบทรราชทั้งที่เป็นระบบที่พาคนคิวบาให้เป็นคน
ที่มีการศึกษาสูง มีความรู้ และมีวัฒนธรรม ทั้งที่สหรัฐเองเป็นคนผลักดันให้คิวบาเข้าสู่ระบบดังกล่าว
ซึ่ ง ต้ อ ง ข อ บ คุ ณ วิ ก ฤ ติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง ช่ ว ย ให้ คิ ว บ า มี ผ ล ผ ลิ ต เ พิ่ ม จ า ก เ ดิ ม
แ ล ะ ยั ง แ ส ด ง ให้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร ก ร ะ จ า ย ก า ร ถื อ ค ร อ ง ที่ ดิ น
ก า ร พ ลิ ก วิ ก ฤ ติ ใ ห้ เ ป็ น โ อ ก า ส ข อ ง คิ ว บ า นั้ น
สามารถเอื้อเฟื้อความสาเร็จไปยังประชาชนที่ยากจนในประเทศเพื่อนบ้านหรือแม้กระทั่งสหรัฐอเมริกาเอง
โด ย ก ารให้ ทุ น ก ารศึก ษ าเด็ก ผิว สี ช าว อ เม ริกั น พื้น เมือง ช าว ละติน ค น ย าก จ น
ที่ไม่ได้รับการใส่ใจจากรัฐบาลสหรัฐ การอยู่ได้ด้วยตนเองของคิวบาเป็นการท้าทายอานาจของสหรัฐ
และยังพิสูจน์ให้นานาประเทศเห็นว่าประเทศเล็กๆอย่างคิวบาไม่ต้องพึ่งพามหาอานาจทางเกษตรกิจ I am
Cuba สหรัฐอเมริกาไม่มีวันเป็นพ่อเรา
บทที่ 11 Slow food saves the world
ค า ร์ โ ล เ พ ต ริ นี ก่ อ ตั้ ง Slow food Movement
ขึ้นมาเพื่อปกป้ องวัฒ นธรรมอาหารเริ่มจากการเสาะหาอาหารท้องถิ่นคุณภาพที่กาลังสูญหาย
และมีการแจกรางวัลSlow food award ทุก4ปี โดยอาหารของ Slow food คือ อาหารที่มีระบบการผลิต
ที่เคารพธรรมชาติ เคารพภูมิปัญญาท้องถิ่น และรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งอาหารฟาสต์ฟู๊ด
เนื่ อ ง จา ก ผ ลิต จ าน ว น ม า ก มี พ ลัง อ าน า จ ที่ ท า ล าย ชี วิ ต ทั้ ง ค น แ ล ะสิ่ง แว ด ล้อ ม
การผลิตเชิงเดี่ยวเพื่อป้อนอุตสาหกรรมอาหารทาลายวิถีชีวิตของเกษตรกรทุกที่บนโลก
การป ระชุม Terra Madre เพื่อเป็ นการป ระชุ มระดับ โลกข องชุ มชนอาห ารทั่วโลก
โดยเนื้อหาในการประชุมมีตั้งแต่เรื่องข้าว น้า เนื้อ ชีส ไวน์ น้าผึ้ง การค้า การตลาด การศึกษา
และการท าความเข้าใจข องผู้บ ริโภค ซึ่งในการป ระชุ มได้รับการสนับสนุ นจากเมือง ภาค
และกระทรวงการเกษตร และป่าไม้ของอิตาลี ที่เชิญผู้ผลิตมาจากทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกร ชาวประมง
คนเลี้ยงสัตว์ และผู้บริโภค ซึ่งเรียกว่าผู้ผลิตร่วม เนื่องจากไม่ต้องการให้เกิดการบริโภคอย่างไม่ยั้งคิด
ควรตระหนักถึงบทบาทของตนเองรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากร และวิถีชีวิตชุมชน
ชุมชนอาหารคือชุมชนของความเป็นพี่เป็นน้อง ทุกคนร่วมมือกันรักษาและดารงวัฒ นธรรม
ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะถูกทาลายโดยกลุ่มทุนที่แสวงหากาไรเพื่อคนส่วนน้อย เอาเปรียบแรงงาน ทาลายสิ่งแวดล้อม
สาหรับเกษตรกรทั่วโลก มีสิทธิที่จะจัดการทรัพยากรของตนเอง ต่อต้านนายทุนที่ผลิตจี เอ็มโอ
และสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อธรรมชาติ
งานครั้งนี้มีเครือข่ายเกษตรกรทางเลือกของไทย 5กลุ่ม เข้าร่วมการเปลี่ยนแปลงประสบการณ์
กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือเปลี่ยนวิถีการผลิตเชิงเดี่ยวมาทาเกษตรอินทรีย์
เ น้ น ก า ร ป ลู ก พื ช ท้ อ ง ถิ่ น ก ลุ่ ม ชุ ม ช น ผู้ ป ลู ก ข้ า ว ห อ ม ม ะ ลิ อิ น ท รี ย์
โดย มีจุด ยืนว่าจะไม่ข าย ข้าว ให้ กับ อุตสาห กรรมข นาดให ญ่ กลุ่มป ระมง จัง ห วัดตรัง
อ นุ รั ก ษ์ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ เ พื่ อ ใ ห้ มี ก า ร สื บ ท อ ด สู่ รุ่ น ลู ก รุ่ น ห ล า น
มีการหารือเรื่องเรือประมงอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่ใช้เครื่องมือทาการประมงแบบทาลายล้าง
ซึ่งส่งผลให้ จานว นป ลาลดลง กลุ่มเกษตรท างเลือกภาค ใต้ พย ายามรักษาการผลิตเดิม
เน้ น ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ต้น ไม้ ให้ ร อ ด พ้ น ก า รรุ ก ร าน ข อ ง ส ว น ย า ง พ า ร า
ก ลุ่ ม ผู้ อ นุ รัก ษ์ พั น ธุ ก ร รม ข้ า ว พื้ น บ้ า น อีส าน ข้ าว แ ต่ ล ะพั น ธุ์มีลัก ษ ณ ะเ ฉ พ า ะ
และไม่เหมาะกับการทาอาหารแต่ละชนิด
พืชจี เอ็มโอ เป็นพืชตัดต่อทางพันธุกรรม ส่งผลต่อความยากจน โรคระบาด ความอดอยาก
นักอุตสาหกรรมการเกษตรอ้างว่าการตัดต่อทางพันธุกรรมเป็นวิธีเดียวที่เลี้ยงคนทั้งโลกได้
ซึ่ ง เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย์ ไ ด้ พิ สู จ น์ ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล้ ว
การใช้เกษตรอุตสาหกรรมเข้ามาแทนที่เกษตรแบบเดิมทาให้ทาลายวัฒนธรรม ยึ ดโยงกีบที่ดิน
พ ร า ก ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ม นุ ษ ย์ กั บ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ อ า ห า ร ที่ พ ว ก เ ข า กิ น
ซึ่งอาหารที่เรากินเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมวิถีชีวิตแบบเกษตรกร วิถีชนบท แสดงความเอาใจใส่ในสัตว์
รักผืนแผ่นดิน ความรู้และภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ความเข้าใจในสภาพอากาศ
บทที่ 12 New poor in Singapore
สิงค์โป ร์ เกาะเล็กๆ ที่เป็นประเทศร่ารวยอันดับที่ 2ของเอเชีย รองจากญี่ปุ่ น
ทาให้ภาพลักษณ์ของสิงคโปร์คือเมืองของคนรวย คนมีความรู้ พูดภาษาอังกฤษได้ ใช้ชีวิตหรูหรา
ใช้ของแบรนเนม จนทาให้รัฐบาลหลายประเทศพยายามดาเนินรอยตามสิงคโปร์
แต่ได้มีการสะท้อนบ างมุมของเกาะสว รรค์แห่ งนี้ คือ คุณย ายลี ชอง เพ็ง วัย 84ปี
อาศัยในแฟลตเล็กๆราคา72บาท ต่อวัน ซึ่งทุกวันคุณยายจะมาตั้งแถวรอเพื่อรับการบ ริจาค
ซึ่งหากไม่มีการบริจาคพวกเขาคงใช้ชีวิตอยู่อย่างลาบาก ซึ่งหลายคนตั้งคาถามกับประเทศที่มีความมั่งคั่ง
กลับละเลยกับคนที่มีความลาบาก ซึ่งรัฐบุรุษของสิงค์โปร์ ลี กวน ยู ได้สร้างระบบที่ทุกคนต้องทางานหนัก
มุ่งส่งเสริมอุตสาหกรรม ทาให้เกิดความแตกต่างของเศรษฐกิจ ช่องว่างทางรายได้กว้างขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
คือคนรวยรวยขึ้น คนจนจนลง และเมื่อรัฐบาลตัดสินใจขึ้นค่าสาธารณู ปโภคและบริการต่างๆ
ทาให้ปัญหาความยากจนยิ่งทวีความรุนแรง นักการเมืองรุ่นใหม่เริ่มเห็นปัญ หาความยากจน
จึง มีโค รงการช่ วย เห ลือ เรื่อง ที่พัก การศึกษ า บ ริการสาธารณ สุข และระบ บ ข น ส่ง
ซึ่ง แ น ว ค ว า ม คิ ด นี้ ขั ด แ ย้ ง กั บ น โ ย บ าย ข อ ง ลี ก ว น ยู ซึ่ ง ก า ร ท อ ด ทิ้ ง ค น จ น
ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ เ พิ่ ม อั ต ร า ก า ร ข า ด แ ค ล น แ ร ง ง า น ใ น ป ร ะ เ ท ศ
เมื่อตกงานคนสิงค์โปร์ยอมลดค่าแรงตัวเองเพื่อแข่งขันกับแรงงานต่างชาติ ขณะรัฐบาลเกรงปัญหาสมองไหล
จึงพยายามขึ้นเงินเดือนให้กับผู้บ ริหารระดับสูง ซึ่งเมื่อรัฐบ าลตั้งโครงการช่วย เหลือคนจน
นักการเมืองพรรคฝ่ายค้านมองว่าเป็นการใช้เงินซื้อเสียงประชาชน
เจมส์ โกเมซ กล่าวว่า คนในสิงค์โปร์ถูกแยกด้วยฐานะทางเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคม
แ ล ะ ถู ก กี ด กั น จ า ก า ก ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ท า ง ก า ร เ มื อ ง
ความเป็นปึกแผ่นของรัฐบาลสิงค์โปร์คือการรวมตัวกันเพื่อสนับสนุนรัฐบาลให้สินทรัพย์มีค่าสูงไปเรื่อยๆ
ท า ให้ สั ง ค ม เป็ น แ บ บ วั ต ถุ นิ ย ม ทุ ก ค น ต้ อ ง ดิ้ น ร น เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ขึ้ น
สั ง ค ม ใน สิ ง ค์ โ ป ร์เ ป็ น สั ง ค ม ข อ ง ช น ชั้ น สู ง ไ ม่ ใช่ สั ง ค ม ข อ ง ป ร ะ ช า ช น
ค ว า ม ส า ม า รถ ใน ก า รจ่ า ย เป็ น ตัว ชี้ วั ด ค ว าม ส าเ ร็จ แ ล ะ ก า รมี อ าน าจ ม าก ขึ้ น
ใน การด ารง ชีวิตไม่ว่ าจะเป็ นก ารแต่ง ง าน การเรีย น ก ารใช้ข องล้ว น ขึ้นอยู่ กับ เงิน
ความสัมพันธ์ของลูกจ้างกับนายจ้าง ไม่มีการใส่ใจ เห็นอกเห็นใจว่าแต่ละคนมีภาระครอบครัวต้องรับผิดชอบ
ซึ่งคนรุ่นใหม่ในสิงคโปร์จะสนใจแต่เรื่องของตัวเอง ไม่มีน้าใจ ไม่เห็นใจผู้อื่น ดูถูก และรังเกียจคนที่ผิดพลาด
ค่ านิ ย ม ที่ รัฐบ าล ส ร้าง ขึ้ น ท าให้ ท าง เลือ ก ใน ก ารด าเนิ น ชี วิ ต คือ ค า ว่ า ห นี้
หลายคนล้มละลายเพราะไม่สามารถจ่ายหนี้บัตรเครดิตได้ ชนชั้นกลางจะถูกเชิดชูเป็นคนรวยรุ่นใหม่
แต่ความจริงคือคนจนรุ่นใหม่ ในการเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคม การสร้างเศรษฐกิจโดยใช้ความรู้เป็นหลัก
คือคนที่ไร้ทักษะ ฝีมือปานกลาง อายุเยอะจะถูกไล่ออก การปลดพนักงานเพื่อ ลดขนาดองค์กร
ทาให้ต้องแบกภาระหนี้สิน ภาระทางครอบครัว
ค ว า ม ล า บ า ก ข อ ง ค น ใ น สิ ง ค โ ป ร์ มี ม า ก ม า ย เ พิ่ ม ขึ้ น ทุ ก วั น
ต่างจากก ารเติบ โตท างเศ รษฐกิจของป ระเท ศ ซึ่งรัฐบ าลมองข้ามปัญ ห าคว ามยาก จนนี้
อย่ าง ไม่ คิด จะ ช่ ว ย เห ลือ เพ รา ะไม่ มีก า รก ร ะจ าย ร าย ได้ ส วั ส ดิก า รท าง สัง ค ม
เชื่อในความสามารถของแต่ละคน ทาให้คนลาบากก็จะลาบากมากยิ่งขึ้น
บทที่ 13 MST
ซาปาติสตาเป็นแรงบรรดาลใจของผู้ที่ต่อต้านลักธิเสรีนิยมใหม่ทั่วโลก ชื่อของขบวนการ คือ MST
MST คือขบวนการแรงงานไร้ที่ดินของบราซิล พวกเขาเชื่อว่าที่ดินต้องเป็นของผู้อยู่อาศัย และไถ -
ค ร า ด บ น ผื น แ ผ่ น ดิ น นั้ น MST มี เ ป้ า ห ม า ย ต่ อ สู้ ใ ห้ ไ ด้ ม า ซึ่ ง ที่ ดิ น
แล้วเป็นหัวหอกสาคัญในการเคลื่อนไหวระดับสากล จากการต่อสู้อย่างยาวนานกว่า 2 ทศวรรษ สมาชิกของ
MST ได้สิทธ์ในที่ดินและตั้งเป็ นชุ มช นให ม่แล้วป ระมาณ 35 0 ,00 0 ค รอบ ค รัว และอีก 2
แ ส น ค ร อ บ ค รั ว ก า ลั ง ด า เ นิ น ก า ร เ จ ร จ า ต่ อ ร อ ง อ ยู่ ใ น แ ค ม ป์
บราซิลเป็นประเทศที่มีปัญหาการกระจายการถือครองที่ดินมากที่สุด แผล่นดินกว้างใหญ่ถึง 8
ล้านตารางกิโลเมตร แต่ 46% ของที่ดินเพื่อการเกษตรที่งประเทศ อยู่ในมือของคนเพียง 1 %
ในขณะที่ประชากร 36.8% ถือครองที่ดินเพียง 1% เท่านั้น
ส า เ ห ตุ ห ลั ก ม า จ า ก ก า ร ฉ ก ฉ ว ย แ ล ะ แ ย่ ง ชิ ง ท รั พ ย า ก ร
ในช่ วงแรก คนไร้ที่ดินห าท างออก โดย การรุก ป่ าสง วนและที่ดินข องช นพื้นเมืองดั้งเดิม
จนเกิดความขัดแย้งกับช นพื้นเมือง นี่ถือเป็ นจุดเป ลี่ยนที่สาคัญ เมื่อบ าท หลวงอาร์นิลโด
ส ม า ชิ ก ค น ส า คั ญ ข อ ง CPT
กลุ่มบิชอปคาทอลิกแถบลุ่มน้าแอมะซอนเพื่อแก้ไขความขัดแย้งและความรุนแรงระหว่างเจ้าที่ดินและชาวนา
ไร้ที่ดิน ได้เข้ามาช่วยเหลือเพื่อร่วมพูดคุยและวิเคราะห์ปัญห าร่วมกัน ข้อสรุป ของพวกเรา
คือศัตรูของเขาไม่ใช่คนพื้นเมือง แต่ศัตรูตัวจริงคือผู้มีอิธิพลและโครงสร้างที่ดินที่ไม่เป็นธรรม
กระบ วนการกระจาย การถือค รอง ที่ดินโดย ชุ มช น จึง เริ่มต้นขึ้น MST เรีย กตัว เอง ว่ า
ข บ ว น ก า ร ค น จ น ใ น ช น บ ท MST ไ ด้ ใ ช้ นั ย ย ะ แ ห่ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ
ที่ ส า ม า ร ถ น า ที่ ดิ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ม า ป ฏิ รู ป ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ไ ด้
ให้ทุนสมาชิกไปเรียนวิชากฎหมายในมหาลัยเอกชน เพื่อจะได้มาช่วยงานด้านสิทธิมนุษย์ชน
โ จ ว า นี เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น ค น ที่ ไ ด้ รั บ ทุ น ทุ ก เ ช้ า ห ลั ง รี ด น ม วั ว เ ส ร็ จ MST
อธิบายเพิ่มเติมว่าคุณสมบัติของผู้ได้รับการจัดสรรที่ดินนั้น จะดูจากความสม่าเสมอในการเข้าร่วมกิจกรรม
ไม่ทาผิดกฎของแคมป์ รวมทั้งอยู่กันเป็นครอบครัว จะได้มีแรงงานทาการผลิตบนแผ่นดิน โดย MST
ยั ง ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ จั ด ส ร ร ที่ ดิ น เ ป็ น ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ร ว ม
จ า ก นั้ น จึ ง ท า เ ก ษ ต ร ก ร ร ม เ ชิ ง นิ เ ว ศ ต้ อ ง พึ่ ง ตั ว เ อ ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ให้ ไ ด้
เมื่อมีเหลือจึงขายโดยจะนารายได้ส่วนหนึ่งสมทบเข้ากองกลางเพื่อสนับสนุนการเคลื่อนไหวจุดอื่นๆต่อไป
การบุกยึดที่ดินและตั้งถิ่นฐานของ MST ได้สะท้อนให้เห็นถึงการสร้างความชอบธรรม เอลมาชาว MST
ได้บอกว่าการตั้ง MST มีการเคลื่อนไหวของชาวนาอยู่ก่อนแล้ว เพีย งแต่กระจายตัวกันอยู่
ในทัศนะของเขาไม่ได้ต้องการแค่ให้ได้มาแค่ที่ดินแต่ต้องการต่อต้านระบบทุนนิยมด้วย กลุ่ม MST
ได้รับบท เรียนสาคัญ ตั้งแต่ยุคประธานาธิบ ดีคาร์โดโช ถึงประธานาธิบดีลูลาพรรคแรงงาน
ใ น ที่ สุ ด ต้ อ ง ไ ป อ ยู่ ฝ่ า ย เ ส รี นิ ย ม จ น พ ว ก เ ข า ไ ด้ ข้ อ ส รุ ป
จงลืมอดีตของพวกเขาเสียแล้วสร้างองค์กรเคลื่อนไหวที่เข้มแข็งและเป็นอิสระ
บทที่14 MST 2
การที่ ข บ ว น ก าร MST ป ฏิ บั ติก ารท ว ง แผ่ น ดินให้ ป ระส บ ค ว ามส าเร็จ ได้นั้น
การยึดที่ดินและการสร้างชุมชนทางเลือกไม่ได้เป็นเพียงยุทธศาสตร์ทั้งหมดของพวกเขาแต่ปัจจัยสาคัญอีกป
ระการคือ การศึกษาที่แตกต่าง เพื่อสร้างคนคนพันธุ์ใหม่ หลังจากเข้ายึด เอ็นครูซิลฮาดา นาทาลิโน ได้ในปี
1981 ครอบครัวต่างๆก็ตั้งเต็นท์ดา และเริ่มดารงชีวิตอยู่ในแคมป์แล้วสร้างองค์กรของตนเองขึ้นมาทีละเล็กๆ
กลุ่มเด็กจานวนมาก วิ่งเล่นอยู่ในพื้นที่แคมป์ ด้วย ความเป็ นเด็กอยากรู้อยากเห็นของเด็ก
พอดีโอกาสเปิดช่อง เนื่องจากในหมู่ชาวแคมป์ มีครูอยู่คนหนึ่งชื่อ มาเรีย ซาเลท แคมปิก๊อตโต
ซึ่งต่ อมาได้เป็ น ค รูค นแรก ข องที่ ตั้ง ถิ่นฐาน และเป็ นผู้ป ระสาน งานกิจกรรม ข องเด็ก
ต อ น นั้ น ค รู ม า เ รี ย แ ล ะ ค รู อี ก ค น ห นึ่ ง คื อ ลู เ ซี ย
เริ่มสนับ สนุ นก ารต่อสู้ข องช าวแค มป์ ให้มีก ารสร้าง โรงเรีย นป ระถม ห ลังจ าก ป ระชุ ม
กรมก ารศึกษาอนุ ญ าตให้มีก ารสร้าง โรง เรีย น ไม่ นาน ห ลังจากโรงเรีย น ถูกสร้างขึ้ น
ก า ลั ง ต า ร ว จ ไ ด้ ล้ อ ม พื้ น ที่ เ อ า ไ ว้ เ พื่ อ ไ ล่ ช า ว แ ค ม ป์ ไ ป อ ยู่ ที่ ค รู ซ อั ล ท า
การกระท าครั้ง นี้ได้เกิดป รากฏ การณ์ที่สาคัญ ขึ้น คือพ วกครูคุย กับ เด็กและพ่อแม่เด็ก
ไ ด้ ตั ด สิ น ใ จ เ ข้ า ร่ ว ม กั บ ช า ว แ ค ม ป์
โดยออกเดินทางจากอโนนีข้ามไปยังรัฐอื่นเพื่อขอการสนับ สนุนในการต่อสู้การป ฏิรูปที่ดิน
การผนวกกาลังกันได้เริ่มเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นของตัวเองและเข้าใจกระบวนการให้การศึกษ า
ต่อม าใน ข ณ ะที่ ค นเข้ าไป ยึ ด ที่ ดิน ก าลัง ตั้ง ถิ่น ฐาน กั น พื้น ที่ อโนนี ถู กแ บ่ งเป็ น 1 6
เขตและเป็นไปไม่ได้ที่เด็กจะไปเรียนที่เดียวกันได้ พวกเขาจึงต้องต่อสู้ให้มีโรงเรียนมากขึ้น
แล้วฝ่ายรัฐได้อนุมัติให้ตั้งโรงเรียน 7 แห่งในแคมป์ นี่เป็นการตอกย้าความเข้มแข็งของกลุ่ม MST
ครูที่สอนนั้นเป็นครูที่อยู่ในแคมป์ เทศบาลได้เซ็นสัญญาชั่วคราวเมื่อหมดสัญญากระทรวงไม่ต่อ
และเอาครูของรัฐซึ่งไม่รู้อะไรเกี่ยวกับชาวแคมป์เลย เมื่อฝนตกก็ไม่มีชั้นเรียนเพราะครูไม่สามารถไปสอนได้
MST พ ว ก เ ข า เ ข้ า ใจ ว่ า เ ป็ น ไ ป ไ ม่ ได้ ที่ จ ะ ไ ม่ เ อ า ค รู ภ า ย น อ ก แ ต่ ที่ เ รีย ก ร้อ ง
คือครูที่มาต้องมีความสัมพันธ์กับเด็กและชุมชนอย่างแท้จริง ครูต้องอยู่กับเด็กเวลาที่ทางาน
และแนะแนวท างให้ ขณ ะเดีย วกันครูต้องเข้าร่วมการตั้งถิ่นฐาน ฝึกอบรมการเมืองด้ว ย
โร ง เ รี ย น แ ห่ ง แ ร ก ใ น อ โ น นี เ ป็ น โ ร ง เ รี ย น ที่ แ ต ก ต่ า ง จ า ก โ ร ง เ รีย น อื่ น ๆ
ที่ ป ฏิ บั ติได้จ ริง ที่ สอน แ ง่มุ ม ที่ มีอิธิพ ลต่ อก ารท าง าน ก ารสร้าง ชีวิ ต ให ม่ ซึ่ง MST
เสนอเป็นสิ่งที่ต่อต้านโรงเรียนแนวเดิมที่เป็นเครื่องมือในการผลิตซ้าอุดมการณ์ยังเป็นเครื่องมืออันทรงพลังข
องระบ บ ทุ นนิ ย ม ในก ารเต รีย ม แรงง านราค าถู ก ใน ท าง ต รง กั นข้ าม โรง เรีย น MST
มุ่ ง ก า รเ ต รีย ม ตัว เ ด็ ก แ บ บ บู ร ณ าก า ร ก า รจัด ก า รศึ ก ษ าข อ ง ข บ ว น ก าร MST
คื อ ก า ร ส่ ง ผ่ า น คุ ณ ค่ า แ ล ะ แ น ว คิ ด เ ชิ ง อุ ด ม ก า ร ณ์ แ ก่ เ ด็ ก
ทั้งนี้เพราะการศึกษาของรัฐเน้นไปที่การปลูกฝังคนไว้กับวัฒนธรรมยอมจานนและวิถีบริโภคนิยมสุดโต่ง
การศึกษาแนวความคิดใหม่ เป็นการสร้างมนุษย์เพื่อเป็นตัวก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
วิ ธี ก า ร ส อ น ข อ ง MST ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ห ล า ย อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ MST
เชื่ อ ว่ าเ ด็ก ต้อ ง ไม่ เรีย น ที่ โรง เรีย น แ ต่ ต้อ ง ท าง าน ด้ว ย ตัว อ ย่ า ง เด็ ก พั น ธุ์ให ม่
เ ด็ ก ไ ร้ ที่ ดิ น จั ด ส มั ช ช า กั น นั ก เ รี ย น ทุ ก ค น ใ น โ ร ง เ รี ย น
สมัชชาครั้งนั้นเป็นที่น่าสนใจเพราะแสดงว่าเริ่มมีความรับผิดชอบสิ่งต่างๆ ปี1989-1994 MST
ได้ทางานอย่างแข็งขันเพื่อป้ องกันจากห น่วยงานรัฐ MST ได้สร้างองค์กรร่วมเพื่อการศึกษา
นอกเหนือจากตั้งเป้าหมายฝึกอบรมครูให้ได้ประกาศนียบัตร เพื่อเป็นนักการศึกษาของ MST
ที่ ส อ บ เ อ า ต า แ ห น่ ง ค รู ใ น โ ร ง เ รี ย น รั ฐ ไ ด้ แ ล ะ ต่ อ ม า MST
เริ่มสนใจให้สมาชิกรับการฝึกอบรมในมหาวิทยาลัยและได้ทาข้อตกลงกับมหาวิทยาลัยต่างๆ
จากนั้นยังตั้งโรงเรียนเคลื่อนที่เพื่อแคมป์ ต่างๆ ในปี1996 ครูมาเรีย ซาเลท แคมปิก็อตโต
ไ ด้ เ รี ย น รู้ ใน ฐ า น ะ แ ม่ แ ล ะ เ ป็ น ค รู ไ ด้ เ รี ย น รู้ ห น ท า ง ใ ห ม่ ที่ เ ลี้ ย ง ดู ลู ก
ฉั น ได้ พ บ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ผู้ ห ญิ ง ใน ก า ร ต่ อ สู้ เ พื่ อ ที่ ดิ น ส า ห รับ ฉั น MST
เป็นมหาวิทยาลัยที่สาคัญที่สุดที่ฉันได้เข้าศึกษา
บทที่15 Alien Housekeeper
ส า ห รั บ บ ท ค ว า ม บ ท นี้
กล่าวถึงแรงงานต่างด้าวห ญิงในแง่ข องสาเห ตุที่ต้องอพย พไป ทางานนอกประเท ศ ชีวิต
ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ แ ร ง ง า น ต่ า ง ด้ า ว ส่ ว น ใ ห ญ่ ต้ อ ง พ บ เ จ อ
และความรู้สึกของครอบครัวที่แม่ต้องไปเป็นแรงงานต่างด้าวหลายๆประเทศที่มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ
มั ก เ ป็ น เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง แ ร ง ง า น ที่ โห ย ห า ก า ร มี ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ขึ้ น
แรงงานต่างด้าวที่พบในประเทศฮ่องกงเป็นจานวนมากที่สุดคือชาวฟิลิปินส์ รองลงมาคืออินโดนีเซียและไทย
โ ด ย แ ร ง ง า น ต่ า ง ด้ า ว ไ ท ย ที่ พ บ ส่ ว น ให ญ่ เ ป็ น ค น ที่ ม า จ า ก ภ า ค อี ส า น
แรงงานต่างด้าวเหล่านี้เป็นกาลังสาคัญของประเทศฮ่องกง
เนื่องจากเป็นพี่เลี้ยงเด็กที่มีราคาถูก แถมยังได้กาไรตรงที่พวกเธอสามารถช่วยเฝ้าบ้านได้อีกด้วย
แต่แรงงานต่างด้าวก็มักพบเจอกับปัญหาต่างๆทั้งที่เกิดจากการหลบหนีเข้ามาทางานอย่างผิดกฎหมาย
หรือที่เข้ามาทางานอย่างถูกกฎหมายแต่ถูกกฏหมายของทางประเทศนั้นๆเล่นงานจากการเสียค่าภาษี
ที่ร้าย แรง ไป กว่ านั้นคือการถูกกฎ ขี่ ข่ มเห ง และการถูกท าร้าย ร่าง กาย จาก นาย จ้าง
ตัวอย่างที่น่าสะเทือนใจเกิดขึ้นกับเนอร์มาลา โอบัท สาวใช้ชาวอินโดนีเซียอายุ 37 ปี ที่ถูกนายจ้างหญิงชื่อ
ยิม เพก ฮา ชาวมาเลเซียทาร้ายร่างกายตลอดเวลา 5 เดือน โดยใช้เตารีดนาบบริเวณหน้าอก แผ่นหลัง
แ ล้ ว ยั ง โ ด น ร า ด น้ า ร้ อ น ที่ ต้ น ข า
สาเหตุเพียงเพราะเธอทาจานแตกหรือรีดผ้าไม่เรียบองค์กรช่วยเหลือผู้หญิงในมาเลเซีย หรือ WAO
(Women’s Aid Organisation) กล่าวถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดเหตุการณ์ นายจ้างทาร้ายลูกจ้างต่างด้าว
เนื่องจาก งานบ้านที่แรงงานต่างด้าวทานั้น ถูกจัดเป็นงานที่ต่าต้อย คนรับใช้จึงถูกมอง ต่ากว่าคนทั่วไป
โดยที่นายจ้างสามารถทาอะไรกับคนรับใช้ก็ได้ โขกสับแค่ไหนก็ได้ และนโยบายของรัฐบาลส่วนใหญ่ก็มุ่ง
แ ต่ ป ก ป้ อ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง น า ย จ้ า ง เ ป็ น ห ลั ก
จึงทาให้ไม่มีกฎหมายมารองรับสิทธิและมาตรฐานแรงงานให้แก่คนงานต่างชาติ
เมื่อย้อนมอง ถึงเห ตุผลห ลักที่พ วกเธอต้อง ออกนอกป ระเท ศ เพื่อไป ท างานคือ
ต้ อ ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ใ ห้ ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว ใ ห้ ดี ขึ้ น
พ ว ก เ ธ อ จึง ย อ ม ท น ท า ง า น เพื่ อ ที่ จ ะ เอ าเ งิน ที่ ได้นั้ น ส่ ง ก ลับ ม า ให้ ท าง บ้ าน ใช้
ลูกของแรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่รู้สึกไม่อยากให้แม่ต้องเป็นฝ่ายจากไปเพื่อทางาน เนื่องจากแม่
สามารถทาหน้าที่ทั้งของพ่อและแม่ได้ ในขณะที่คนเป็นพ่อนั้นไม่สามารถทาหน้าที่ของผู้เป็นแม่ได้
บทที่ 16 Darkness of brands
STARBUCKS : ที่มาของคาว่าพนักงานคือหุ้นส่วน เกิดจากเพราะการจัดตั้งสหภาพสาขาแรก
เพราะค่าแรงที่ได้ถูกมาก (7.75$/Hr) เวลาทางานไม่แน่นอนและไม่มีหลักประกันว่าจะมีชั่วโมงทางาน
ซึ่งสหภาพได้มีการเรียกร้องให้ทางร้านซื้อเมล็ดกาแฟที่มีมาตรฐานรับรองและแบ่งรายได้ที่มีให้แก่เกษตรกร
ปัจจุบันแบ่ง 3 เซ็นต์ ขณะที่ขายแก้วละ 3$
Microsoft : ร ว ม ล ง ทุ ม ใ น บ ริ ษั ท ที่ มี ส่ ว น ใ น ก า ร ท า ล า ย สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
บริษัท ผลิตย าข้ามชาติท าให้คนเข้าถึงย าราคาถูกย ากขึ้น และร่วมทุ นกับ บริษัท Abbott
ที่เอายาต้านไวรัสรูปแบบเก่าที่โละจากยุโรปมาขายยังประเทศที่กาลังพัฒนาในราคาสูง
TESCO : ซัพพลายเออร์ทั่วมุมโลกต้องลดต้นทุนการผลิตเพื่อที่จะยังคงป้อนสินค้าให้เทสโก้ได้
VICTORIA’S SECRET: ค น ง า น ที่ ถั ก เ สื้ อ ใ น ต้ อ ง ส่ ง ใ ห้ ก ลุ่ ม Clover Group
ที่จะส่งต่อให้วิคตอเรียอีกทีนั้นซึ่งให้ค่าแรงที่ถูกมากจนทาให้คนงานต้องยอมลาออกและรับค่าตอบแทนที่ต่า
กว่ากฎหมาย
DISNEY : ซัพพลาย เออร์ของดิสนี่ในจีนให้ค่าแรงคนงานที่ต่ามากถึง 12.5฿ /ชั่วโมง
และมีชั่วโมงการทางาน 12-14 ชั่วโมงต่อวัน
MCDONALD’S : อ า ห า ร เ กื อ บ ทั้ ง ห ม ด มี น้ า มั น น้ า ต า ล แ ล ะ เ ก ลื อ สู ง
เ นื้ อ สั ต ว์ ที่ ไ ด้ ก็ ม า จ า ก ก า ร ใ ห้ ฮ อ ร์ โ ม น ย า ป ฏิ ชี ว น ะ แ ล ะ ส า ร เ ค มี
มีการลดต้นทุนโดยการจ้างพนักงานน้อยลงแต่เพิ่มชั่วโมลการทางานขึ้น
KFC : ไก่ ที่ ได้ม าถู ก เลี้ย ง ในพื้ น ที่ แ ค บ ๆ แล ะถู ก ตัด ป าก เพื่ อจ ะได้ไม่ จิก กั น
ไก่ถูกเลี้ยงให้อ้วนมากจนขารับน้าหนักไม่ได้ และเลี้ยงไก่ด้วยถั่วเหลืองที่ปลูกในพื้นที่บุกรุกป่าอเมซอน
MCDONALD’S ก็เช่นกัน
COCA COLA :
โรงงานในอินเดียมีการสูบน้าจากแหล่งน้าใต้ดินซึ่งเป็นทรัพยากรส่วนรวมจนแห้งแล้วนากลับมาขายในราคา
ที่แพงจนชาวอินเดียไม่สามารถซื้อกินได้ แต่ปัจจุบันโรงงานนี้ได้ปิดลงแล้ว
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report
หมู่บ้านรักษ์ --Global report

More Related Content

Similar to หมู่บ้านรักษ์ --Global report

ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
Sasithon Charoenchai
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
paisonmy
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
Prapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
Prapatsorn Chaihuay
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
Junya Yimprasert
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
Prapatsorn Chaihuay
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
bussayamas Baengtid
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
Nooa Love
 
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
Wasan Yodsanit
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
zeenwine
 

Similar to หมู่บ้านรักษ์ --Global report (20)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
พลังจากภายใน
พลังจากภายในพลังจากภายใน
พลังจากภายใน
 
คนไทย เทคโนโลยี
คนไทย เทคโนโลยีคนไทย เทคโนโลยี
คนไทย เทคโนโลยี
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
ABC.pdf
ABC.pdfABC.pdf
ABC.pdf
 
ABC.pdf
ABC.pdfABC.pdf
ABC.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
 
S mbuyer 106
S mbuyer 106S mbuyer 106
S mbuyer 106
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

More from freelance

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

หมู่บ้านรักษ์ --Global report

  • 1. GEN 211 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหนังสือ Global Report รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม รักษ์ นางสาว บุษบงกช คชธรรมรัตน์ รหัส 54211226 นาย ปฏิพัทธ์ เกตุโพธิ์ทอง รหัส 54211227 นาย พงษ์พัฒน์ อิงพงษ์พันธ์ รหัส 54211228 นางสาว สิริกร สติมานนท์ รหัส 54211246 นาย เพิ่มพูน จินตสถาพร รหัส 54211251 นางสาว ทินยาฎา อากาศน่วม รหัส 54211262 นางสาว ธาริณี ทิพยจันทร์ รหัส 54211265 นาย วรพัฒน์ อดุลยศักดิ์สกุล รหัส 53211286
  • 2. บทที่ 1 Food Politics อาหารมีความสาคัญต่อโลกเป็นอย่างมาก ปัจจุบันโลกของเรา มีทั้งคนอดตาย และอ้วนตาย ซึ่ ง เ กิ ด จ า ก ป ร า ก ฎ ก า ร ณ์ “ ก า ร เ มื อ ง เ รื่ อ ง อ า ห า ร ” ซึ่งสาเหตุของการเกิดในยุดโลกภิวัฒน์ซึ่งเปลี่ยนภาคเกษตรเป็นอุตสาหกรรมทาให้เกิดปัญหาการไร้สิทธิ์ นโยบายที่เคยปกป้องภาคชนบทถูกรื้อจากเศรษฐกิจโลก จากกฎว่าด้วยการตลาดเสรีขององค์การการค้าโลก ซึ่งทาลายระบบตลาดท้องถิ่นของอินเดียโดยสั่งให้อินเดียขจัดกาแพงภาษีทาให้ผลผลิตราคาถูกไหลเข้าประเ ท ศ ที่ ย า ก จ น สิ น ค้ า ร า ค า ต ก ต่ า ซึ่งแก้ปัญ หาโดยก ารเปิดตลาดเพิ่มการส่งออกดอกไม้และเนื้อสัตว์แทนที่จะปลูกผักกินเอง ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ไ ม่ มั่ น ค ง ท า ง อ า ห า ร แ ล ะ เ สี ย ร ะ บ บ นิ เ ว ศ คนจนถูกท าให้อดตาย เพราะมีสินค้าส่งออกล้นเกินจนต้องทิ้งแต่กลับป ล่อยให้ค นอดตาย เกิดเป็นความขลาดแคลนท่ามกลางความล้นเกิน ใน ป ระเท ศ เอธิโอเปี ย ป ลูก เพื่อยัง ชีพ ถูกท าให้ อดต าย ซ้ าซ ากจากก ารตลาด ห ลั ง จ า ก ก า ร เ กิ ด ภ า ว ะ ฝ น แ ล้ ง ต้ อ ง ย อ ม รั บ พื ช จี เ อ็ ม โ ด ย จ า ส ห รั ฐ แ ล ะ ถู ก ก ด ดั น จ าก ธ น า ค า ร โล ก ให้ ล ด ก า ร ส า ร อ ง พื ช ผ ล เ พื่ อ น าเ งิน ไป ใช้ ห นี้ ธนาค ารโลกมีแผนจะให้เอกช นท าการเกษตรลดบ ท บ าทข องรัฐบ าลยกเลิกการอุดห นุ น ย ก เ ลิ ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ที่ ดู แ ล สิ น ค้ า เ ก ษ ต ร ซึ่ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ใ ห ญ่ ๆ ไ ม่ ท า กดดันให้รัฐบาลสร้างสนามบินแห่งใหม่โดยให้กู้เงินจากธนาคาร ทาให้ความสามารถในการปลูกพืชลดลง จึงทาให้เกิดภาวะอดอยากและขาดแคลน ความอ้วนตาย โรคอ้วนเป็นโรคอันดับนึงที่ทาให้คนอเมริกาตาย เกิดจากการกินไม่ดี กิ น อ า ห า ร ฟ า ส ต์ ฟู้ ด แ ล ะ ไ ม่ อ อ ก ก า ลั ง ก า ย ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ม า ก ขึ้ น รัฐบาลรณรงค์ให้ออกกาลังกายแต่ไม่ให้ลดการบริโภคเพราะกลัวกระทบกับอุตสาหกรรมอาหารที่สนับสนุนท า ง ก า ร เ มื อ ง ซึ่ ง เ ป็ น อุ ต ส า ห ก ร ร มี่ ค ร อ บ ง า ก า ร เ มื อ ง ซึ่งอุตสาหกรรมได้เปลี่ยนสังคมให้กลายเป็นสังคมกินข้าวนอกบ้าน ซึ่งหลากหลายและราคาถูก คนอเมริกันจึงมีการบริภาคที่ล้นเกิน อุตสาหกรรมอาหารจึงต้องแข่งขันกันจนไม่ได้สนใจคุณค่าทางอาหาร มี ก า ร โ น้ ม น้ า ว ใ ห้ กิ น สิ น ค้ า ข อ ง บ ริ ษั ท ม า ก ๆ โฆษณาว่าสินค้าดีจนกลายเป็นวัฒนธรรมเชื่อมั่นกันจนเป็นประเพณีและกลายเป็นถูกกฎหมาย ในตอนแรกคนอเมริกันได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ จึงได้รับการสนับสนุนให้บริโภคอาหารทุกประเภท จนกลายเป็ นได้รับ คุณค่ามากเกินไป นาไป สู่โรค ร้ายจนกลาย เป็ นสาเห ตุก ารตาย ห ลักๆ ซี่งมีการทางานในสาธารณะสุขถูกนักการเมืองแทรกแซงโดยห้ามระบุในรายงานว่าควรกินเนื้อน้อยลงและห้า มจากัดการกิน ต้องหลีกเลี่ยงการการพูดถึงตัวอาหาร เพื่อไม่ให้ถูกอุตสาหกรรมอาหารร้องเรียน กลวิธีการตลาดพุ่งเป้าไปที่เด็กๆ พฤติกรรมการบริโภคเป็นพีระมิดที่ไม่ได้สัดส่วน มีกฎหมายชีสเบอร์เกอร์
  • 3. ห้ าม ผู้บ ริโภ ค ซึ่ง ป่ ว ย เป็ น โรค อ้ว น ฟ้ อง ร้อ ง อุ ต ส าห ก รรม อ าห าร แล ะ เ ค รื่อ ง ดื่ ม โดยอ้างว่าเป็นเรื่องความรับผิดชอบส่วนบุคคล บทที่2 Horror in Downunder ออสเตรเลียเป็นเมืองที่มีชีวิตความเป็นอยู่ดีสุดเป็นอันดับ4 ซึ่งมีชนพื้นเมืองอะบอริจิน มีคนอายุสั้นและติดคุกมีคุณภาพชีวิตรั้งท้าย เป็นคนด้อยโอกาสในสังคม และมีการฆ่าตัวตาย ซึ่งภาวะเหล่านี้เกิดจากคนอังกฤษ พวกแรกที่มาออสเตรเลียบอกว่าชนพื้นเมืองปฏิบัติต่อเราอย่า งดี แต่ เมื่อพ ว กผิว ข าว เริ่มตั้งรกราก ค ว ามขัด แย้ง ก็เริ่ม ต้นขึ้ น และกลาย เป็ น ศัต รูกั น ชาวอะบอริจินอยู่กันอย่างอุดมสมบูรณ์มาก เพราะมีแนวคิด เคารพธรรมชาติ-เคารพแผ่นดิน แหล่งอาหาร แต่ชาวอังกฤษโค่นต้นไม้ ล่าสัตว์เพื่อขาย คนในชนเผ่าติดโรคระบาดจากชาวอังกฤษคนที่เหลือก็อพยพ เข้ าไป อ ยุ่ ใน ป่ า ลึก ช า ว อัง ก ฤ ษ อ พ ย พ ก็ บุ ก รุ ก เ ข้ าไป ยึ ด เ ป็ น เ จ้า ข อ ง ห ม ด แต่ ช าว อ ะบ อริจิน ถือว่ าอ ะไรที่ เกิ ด จาก ผืน แผ่ น ดิน ก็ ถือ ว่ าเป็ น สม บั ติข อง ทุ ก ค น ไม่เคยบอกว่าตัวเองเป็นเจ้าของ คนข าวเริ่มใช้วิธีห นักๆเพื่อให้อะบ อริจินห ลาบ จา โดนการฆ่ าอย่ างโห ดเหี้ ย ม เ มื่ อ น า ค ดี ม า ขึ้ น ศ า ล ส รุ ป ว่ า ค น ข า ว มี ค ว า ม ผิ ด แ ต่ ก็ ถู ก ป ล่ อ ย ตั ว ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง แ ล ะ ก า ร ฆ่ า อ ย่ า ง โ ห ด เ หี้ ย ม ท า ให้ ช า ว อ ะ บ อ ริจิ น ลุ ก ขึ้ น สู้ เมื่ อ มีก าร ป ะ ท ะ กั น ห นั ก ๆ ค น ข า ว ก็ ให้ ท ห าร ออ ก ก ว า ด ล้าง เกิ ด ก าร สัง ห า รห มู่ โ ด ย ก า ร จั บ ตั ว ช า ว อ ะ บ อ ริ จั น แ ล้ ว ไ ด้ ค่ า หั ว ห นั งสือพิม พ์ตีพ พิม พ์เรีย ก ร้อ งให้ ช าว พื้นเมือ ง ย้าย อ อกไป จากถิ่น ฐาน ข อง ค นข าว ถ้ า ไ ม่ ย้ า ย จ ะ ล่ า เ ห มื อ น สั ต ว์ ป่ า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ได้ดาเนินมาอย่างเป็นระบบและถูกทาให้ถูกกกฎหมายจากนโยบาย Integration เพื่อกาจัดเลือดอะบอริจินให้หมดจากออสเตรเลีย เพราะเชื่อว่าอะบอริจินเป็นตัวทาลายหน้าตาของประเทศ หัวใจหลักของนโยบายคือแยกเอาเด็กอะบอริจินลูกครึ่งไปอบรมเพื่อให้พร้อมเป็นคนใช้ตามบ้าน เป็ น แ ร ง ง า น น ฟ า ร์ม ให้ ม อ ง ค น ข า ว เ ป็ น ผู้ ใจ บุ ญ ว่ า รับ ไ ป เ ป็ น ลู ก บุ ญ ธ ร ร ม เอาเด็กอะบอริจินมาผสมกับคนขาวหลายรุ่นเลือกอะบอริจินจะหมดไปจากออสเตรเลีย ซึ่งอย่างน้อยมี อะบอริจิน 3 รุ่นที่ถูกพลัดพราก ซึ่งมีเด็กอะบอริจินบอกว่าบาทหลวงและแม่ชีเป็นผู้ทาร้าย และข่มขืน
  • 4. ลาริสซา จาก ห นั ง เรื่อง Home เป็ น ห นั งข องช าว อะบ อริจิน ลาริส เบ ห์ เรน ท์ ที่ บ รรย าย ค รอบ ค รัว ข อ ง ตัว เอ ง เล่ าเรื่ อง ข อง พ่ อ ที่ เก ลีย ด ค ว าม เป็ น อะบ อ ริจิน จนเมื่อออกตามหารากเหง้าเพื่อเรียนรู้ชาติพันธุ์ที่แท้จริงได้เปลี่ยนเป็นคนใจดีและเชื่อมั่นในตัวเอง แต่ความสาเร็จของหนังเรื่องนี้ได้คุณความดีมาจากแม่ที่เป็นคนขาวพยายามสอนลูกให้ภูมิใจในความเป็นอะ บอริจินและภูมิใจกับชาติพันธุ์ของตนเอง ให้ปรองดองคนอะบอริจินและไม่ใช่ให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ร ะ ดั บ ช า ติ เ ส น อ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ค ว า ม ป ร อ ง ด อ ง ให้ขอโทษกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นการขอโทษแห่งชาติไม่ไดรับหารตอบสนอง ไม่มีการขอโทษ มี เ พี ย ง ก า ร จั ด ง บ ป ร ะ ม า ณ ใ ห้ ซึ่ ง ห ลั ง จ า ก นั้ น ใ น ปี 2 0 0 8 นายกรัฐมนตรีได้กล่าวสุนทรพจน์เพื่อขอขอโทษกลุ่มชนพื้นเมืองอะบอริจิน บทที่ 3 WAR GAME เ ก ม ส์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ และเกมส์สงครามได้เข้ามามีบทบาทแทนภาพยนตร์ที่เคยมีบทบาทสาคัญในการปั้นสร้างความจริง เก ม ส์นั้ น ไม่ ได้ มีเ พี ย ง ไว้ ส ร้าง ค ว า ม บั น เ ทิ ง แ ล ะ ค ว าม ส นุ ก ส น า น ภ าย ใน บ้ า น เดิมเกมส์สงครามมีไว้เพื่อสร้างแบบจาลองในการวางยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของกระทรวงกลาโหม ซึ่งคล้ายการซ้อมรบจริง ห ลัง จ า ก นั้ น เพ น ต า ก อ น ได้ ผ ลิต เก ม ส์ส ง ค รา ม อ อ ก ข าย ต า ม ท้ อ ง ต ล า ด และสนับสนุนให้เอกชนพัฒนาเกมส์นี้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กรุ่นใหม่ใกล้กับความคุ้นเคยทางเทคโนโลยี ซึ่งในตอนแรกได้มองอุตสาหกรรมเกมส์เป็นเครื่องมือฝึกทหาร และคัดเลือกกาลังพล ต่อมาเกมส์ยุคใหม่ Full Spectrumผู้เล่นได้รับบทเป็นหัวหน้าเข้าไปปราบผู้ก่อการร้ายหัวรุนแรง ซึ่งเปลี่ยนคอนเซ็ปต์จาก Military- industry complex เ ป็ น Military entertainment Complex เพื่ อต อบ ส นอ ง ค ว าม ต้อง ก ารข อ ง กอ ง ทั พ เพื่ อ เตรีย ม ค น รุ่น ให ม่ เข้ าสู่ สม รภู มิรบ ทาให้คนรุ่นใหม่เข้าใจประวัติศาสตร์ได้ดีแค่ไม่รู้สึกถึงการายและการสูญเสีย กองทัพสหรัฐกับซีไอเอสามารถเอาชนะทุกสงครามและฆ่าทุกคนที่ต้องการเพราะมีทั้งฮาร์ดแวร์และ ซ อ ฟ ท์ แ ว ร์ อ า น า จ แ ล ะ เ งิ น ที่ จ ะ ปั้ น โ ล ก ไ ด้ อ ย่ า ง ที่ ต้ อ ง ก า ร เกมที่ถูกพัฒนาขึ้นนาภาพจริงมาใส่เอฟเฟ็คลบเส้นแบ่งระหว่างความจริงและเกม ชีวิตจริงและนิยาย เกมสงครามเวียดนามได้เขียนประวัติสาสตร์ขึ้นใหม่จากทหารผ่านศึกว่าการฆ่าเป็นความชอบธรรมที่ต้องดา เ นิ น ต่ อ ไ ป ซึ่ ง ใน เ ก ม อ า จ จ ะ เ ลื อ ก เ ป็ น ฝ่ า ย ส ห รั ฐ ห รื อ ฝ่ า ย ศั ต รู ก็ ไ ด้
  • 5. แต่นายทหารระดับสูงของสหรัฐได้ขอเลิกเล่นกลางคันโดยให้เหตุผลว่าเกมนี้ถูกออกแบบมาเพื่อให้สหรัฐชนะ เท่านั้น เกมเหล่านี้ได้นิยามศัตรูอย่างหยาบหยามจนผ่ายที่เหนือกว่าถือว่าเป็นความชอบทาในสงคราม การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ถูกสร้างด้วยโลกดิจิตอล ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ถู ก เ ขี ย น ขึ้ น ให ม่ ก า ร ใ ช้ ก า ลั ง ไ ด้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ วิธีการไหนจะมีอิทธิพลมากกว่ากันระหว่างการเล่นเกม และหนังสือเรียน นักจิตวิทยากล่าวว่า เกมจะทาให้คนเล่นจมลึกจนข้ามเส้นระหว่างชีวิตจริงกับบนจอ เกมจะเปลี่ยนวิธีการมองโลก ทาให้เด็กมองโลกในพิมพ์เดียวกัน เกมสงครามจะช่วยเปลี่ยนทัศนคติที่คนมีต่ออาชญากรรม เพราะพร้อมจะทาความเข้าใจผ่านเกม ซึ่งจะกลายเป็นวิธีการเดียวสาหรับการคลี่คลายความขัดแย้ง เก ม ที่ ม าจ า ก Military entertainment Complex ท า ให้ ก า รตั ด สิ น ใจ ท า ง ท ห า ร ดี ขึ้ น แต่ก็ท าลาย ข้อถกเถียงในใจข องค นรุ่นให ม่ในเรื่องข องการมีศีลธรรมในการท าสงคราม เราจึงควรบอกกล่าวลูกหลานที่อยู่ในวังวนของเกมว่าสิ่งพวกนี้ไม่ใช่ข้อเท็จจริงขิงประวัติศาสตร์ เ ป็ น เ พี ย ง เ ก ม มิ เ ช่ น นั้ น คุ ณ ค่ า ค ว า ม เ ป็ น ม นุ ษ ย์ สิ ท ธิ เ ส รี ภ า พ คึวามเป็นธรรมจะถูกกลบด้วยความต้องการอาวุธสงครามเพื่อทาลายล้าง และผลประโยชน์ของผู้มีอานาจ บทที่ 4 Killing me soft drink ในประเทศเรา หากพูดถึงน้าสีดา ก็เป็นที่เข้าใจว่า หมายถึงน้าอัดลมสีดา ในต่างประเทศก็เช่นกัน น อ ก จ า ก จ ะ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก แ ล้ ว น้ า อั ด ล ม สี ด า นี้ ก็ ยั ง เ ป็ น ที่ นิ ย ม อี ก ด้ ว ย อย่างที่เราทราบกันว่าน้าอัดลมมีโทษมากมาย เพราะน้าอัดลมนี้ มีส่วนผสมเพียง น้าและน้าตาล ซึ่งก่อให้เกิดโรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร โรคกระดูพรุน และเป็นสาเหตุให้เกิดโรคอื่นๆอีกมากมาย แต่ก็ยังมีคนมากมายที่นิยมชมชอบที่จะกินมัน และกินเป็นประจาสม่าเสมอ นอกจากโทษข้างต้นแล้ว เราไม่เคยท ราบเลยว่า น้าอัดลม มีโทษอื่นๆอีก มากมาย จากราย งานผ ลป ระกอบ การ ท าให้ท ราบ ว่ าท างบ ริษัท ผลิตน้ าอัดลม มีกาไรสูงมาก แต่ก็มีรายจ่ายมากมายเช่นกัน เราอาจจะคิดว่าน้าอัดลมไม่น่าจะต้นทุนสูง และใช่คุณคิดถูก ตัวผลิตภัณฑ์น้า ต้นทุนต่ามาก แต่ค่าใช้จ่ายมากมายนั้น ได้เสียไปกับ ค่าขนส่ง และค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ปัณหาสาคัญคือ เงินที่เป็นต้นทุนเสียไปกับการโฆษณามากมาย แต่ใช้เงินเพียงส่วนน้อยให้กับ แรงงานชั้นผู้น้อย และก ารป รับป รุงพัฒ นาระบ บ ก ารผลิต ท าให้ระบ บ ก ารผลิตปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่นที่มีรายงานว่า เมื่อบริษัท นี้ไปตั้งโรงงานที่ประเทศ อินเดีย
  • 6. ได้ทาการดูดน้าจากบ่อมาใช้ วันละ หลายแสนลิตร ทาให้น้าใต้ดินบริเวณพื้นที่นั้น ลดลงไปมากถึง 40 ฟุต นอกจากนี้ยังมีการปล่อยน้าเสียลงแม่น้า ซึ่งเป็นผลให้เกิดยุง และโรคระบาดตามมา ปัจจุบันในหลายๆประเทศ มีการตอบ โต้บริษัท น้าอัดลมมากมาย เช่น การฟ้ องร้อง การรณ รงค์งดดื่มน้ าอัดลม รวมไป ถึงการงดจาห น่ าย น้าอัดลมในสถานศึกษา ต่อไป นี้ หากเราจะดื่มน้าอัดลมก็คงต้องคิดหนักหน่อย ว่าจะส่งผลกระทบอะไรต่อโลกและมนุษย์บ้าง บทที่ 5 War for all, War for money. เรื่องราวนี้จะพูดถึงความตั้งใจดีที่จะพัฒนาชีวิตคนอิรักของกองทัพสหรัฐว่ามีข้อเท็จจริงเพียงใด โดยคนอิรักส่วนใหญ่มีความเห็นว่าตัวเองน่าจะปลอดภัยกว่าหากไม่มีกองทัพสหรัฐและคิดว่าเป็นผู้บุกรุกมา กกว่าผู้ปลดปล่อย เพราะความเชื่อของนักลงทุ นที่ว่าอิรักเป็ นขุมท องแคลิฟอร์เนียแห่งให ม่ เ นื่ อ ง จ า ก ธุ ร กิ จ ด้ า น ต่ า ง ๆ เ ติ บ โ ต ขึ้ น ม า ก ห ลั ง ส ง ค ร า ม ไ ม่ น า น และยังมีการสนับสนุนให้เอกชนของสหรัฐเข้าไปลงทุนในอิรัก โดยมีนโยบายให้อิรักเป็นเขตการค้าเสรี ทั้งยังมีคาสั่งที่ 39 ว่าด้วยการลงทุนที่มีเนื้อความอานวยความสะดวกให้นักลงทุนต่างชาติอย่างเต็มที่ เปรียบเป็น “ฝันของนักลงทุน” จึงเกิดความคิดที่ว่า สงครามจะเกิดขึ้นเองไม่ได้ ต้องมีปัจจัย แต่บ างปัจจัย ก็เกิดขึ้นโดยค วามจงใจและตั้งใจ นั่นคือเราจึงค วรพิจารณาให้แจ่มชัดว่ า ส ง ค ร า ม ไ ด้ ส ร้ า ง ผ ล ก า ไ ร ม ห า ศ า ล ใ ห้ แ ก่ บ ริ ษั ท ใ ห ญ่ ๆ ไ ม่ ใ ช่ แ ต่ เ ฉ พ า ะ กิ จ ก ร ร ม ที่ เ กี่ ย ว กั บ ท ห า ร แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง เ ท่ า นั้ น แต่รวมไปถึงการฟื้นฟูโครงสร้างระบบน้าประปาและบาบัดน้าเสีย, การจัดหาอาหารและซักผ้าให้กองทัพ,
  • 7. การนาเข้าน้ามันและฟื้นฟูอุตสาหกรรมน้ามัน ซึ่งรายจ่ายที่เกิดจากการทาสงครามกับอิรักนั้น ทางรัฐบาลสหรัฐได้ใช้รายได้จากอุตสาหกรรมน้ามันมาใช้จ่ายทั้งหมด เปรียบว่าสงครามนี้คือ War for oil. ก า ร ท า ส ง ค ร า ม ค รั้ง นี้ ท า ง ส ห รั ฐ ไ ม่ ไ ด้ ต้ อ ง ก า ร เ พี ย ง ชั ย ช น ะ หากแต่ต้องการผลประโยชน์ถาวรจึงต้องทาการวางรากฐานเพื่อป้องกันการต่อต้านของชาวอิรักและการประ ณามจากป ระช าค มโลก โดย การเสริมสร้าง ศักย ภาพค นอิรักที่ มีแนว โน้มจะเป็ นมิตร ทั้ ง ก า ร ใ ห้ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ต่ า ง ๆ เรียกเป็นยุทธวิธี”การสร้างฉันทามติที่กว้างขวางและยั่งยืนในหมู่ชนชั้นสูงให้สนับสนุนการปฏิรูป” บทที่ 6 War on blue gold เรื่องราวนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับน้าที่อาจเกิดการขาดแคลนในอนาคตเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากรโ ลก ส่ง ผ ล ให้ เ กิ ด ก ารผั น น้ า , เกิ ด ม ล พิ ษ ท า ง น้ า , แ ล ะก ารใช้ น้ า อย่ าง สิ้น เป ลือ ง ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ส่งผลให้น้าเป็นโอกาสทางธุรกิจที่ยิ่งใหญ่ธุรกิจหนึ่งของโลกและเป็นธุรกิจของศตวรรษที่ 21 น้ากลายเป็นสินค้าที่มีค่า และทาให้ตลาดน้าโลกที่ยังอยู่ในการดูแลของรัฐกลายเป็นเป้ าหมาย โดยบริษัทน้าขนาดใหญ่เริ่มวางแผนไปถึงการส่งออกน้าโดยใช้วิธีการผันน้าผ่านท่อและแท็งก์น้าขนาดใหญ่ เพื่ อบ รรจุน้ าส่ง ให้แก่ บ างภู มิภ าค ที่ยิน ดีจ่าย เงินเพื่ อแลกกับ น้ าไว้ ใช้ ในย ามฉุ กเฉิ น ซึ่งในปัจจุบันมีบ างบ ริษัท ที่กาลังพัฒ นาเท คโนโลยีที่สามารถบ รรทุ กน้าจืดปริมาณมาก ๆ ล ง ถุ ง แ ล้ ว ล า ก ข้ า ม ม ห า ส มุ ท ร ไ ป ข า ย ทาให้ประชาชนมีความเชื่อว่าการแปรรูปน้าให้เอกชนจะสามารถแก้ไขปัญหาความไร้ประสิทธิภาพของการจั
  • 8. ด ก า ร น้ า ไ ด้ แ ล ะ ท า ให้ มี เ งิ น ม า ข ย า ย ก า ร ล ง ทุ น โ ด ย ค่ า น้ า จ ะ ไ ม่ สู ง ขึ้ น ซึ่งเป็นความเชื่อที่ผิดเพราะหลายแห่งค่าน้าแพงขึ้นหลายเท่าตัว จาก ค ว าม ล้มเห ลว ใน การจัดก ารน้ าและค่าน้ าที่ แพ ง ขึ้น โด ย บ ริษัท ข้ามช าติ เป็นการตอกย้าว่าการแปรรูปน้าไม่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงน้าที่สะอาดด้วยราคาที่เหมาะสมได้ เนื่องจากผลประโยชน์ของน้าบังตาความจริงที่ว่าทางรัฐสามารถจัดการน้าได้โดยตอบสนองความจาเป็นของ ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ส ร้ า ง ห ลั ก ป ร ะ กั น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร น้ า แ ก่ ค น จ น ทั้ง ยั ง ส ร้าง ผ ล ก าไรได้ม าก พ อ จ ะน าไป ข ย า ย ก าร ล ง ทุ น ที่ ส่ ง ผ ล ต่ อ ส่ว น ร ว ม ได้ แต่ทางบริษัทข้ามชาติก็ไม่ยอมปล่อยกิจการน้าหลุดมือได้ง่าย ซึ่งหากน้ายังคงตกอยู่ให้กามือของฝ่ายทุน อาจท าให้แม่น้าห ลาย สายทั่วโลกแห้งขอด ประชาชนล้มตายละเกิดปัญ หาโรคภัยไข้เจ็บ เหลือเพียงแต่แท็งก์น้าและถุงน้าขนาดยักษ์ที่เป็นนวัตกรรมทางทุนนิยม บทที่ 7 Privatizing education เรื่องนี้ได้กล่าวเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาของสถาบันการศึกษาที่จะดาเนินการเปิดเสรีการศึกษาใ นด้านของค่าเรียนและค่าจ้างผู้สอน ซึ่งบางคนอาจเรียกมันว่า ปฏิรูปการศึกษา แต่บางคนอาจเรียกว่า แ ป ล ง ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น สิ น ค้ า ซึ่ ง สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ ท าง รัฐ บ า ล ตัด ล ด ง บ ป ร ะ ม า ณ ที่ ส นั บ ส นุ น ม ห าวิ ท ย า ลัย ข อ ง รัฐ ล ง อ ย่ า ง ม า ก ผลคือทางมหาวิทยาลัยต้องหาทางเอาตัวรอด โดยการขึ้นค่าเล่าเรียนในอัตราที่ก้าวกระโดด แ ล ะ ล ด ง บ ป ร ะ ม า ณ เ พื่ อ ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า แ ก่ นั ก เ รี ย น ย า ก จ น
  • 9. ดังนั้นจากเดิมที่ต้องสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพเพื่อการพัฒนาประเทศให้เกิดผลดีกับสังคมโดยรวมกลายเป็นว่ า ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น สิ น ค้ า ที่ ต้ อ ง มี ก า ร ล ง ทุ น , ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสาขาที่ทาเงินมากกว่าสาขาที่ไม่ทาเงิน เ มื่ อ ท า ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ต้ อ ง ห า เ ลี้ ย ง ต น เ อ ง ส่งผลให้เกิดการแข่งขันอย่างรุนแรงเพื่อให้ได้นักศึกษาที่มีคุณสมบัติดีเยี่ยมและร่ารวยมาช่วยสร้างชื่อให้แก่ม ห าวิ ท ย าลัย น อ ก จ าก นี้ ยั ง ต้ อ ง มีกิ จ ก ร รม ท า ง ก า ร ต ล า ด เ ช่ น ก าร โฆ ษ ณ า และการพิจารณาคัดเลือกนักศึกษาที่ใช้เพียงการทดสอบทั่วๆ ไป เพื่อให้ทราบขีดความสามารถทางการเงิน ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ ง หั น ไ ป พึ่ ง ภ า ค ธุ ร กิ จ เ อ ก ช น ต่ า ง ๆ โดยทางภาคธุรกิจเอกชนมักให้การบริจาคเงินแก่มหาวิทยาลัยอย่างลับๆ ทั้งด้านทุนการศึกษา ทุ น ก า ร วิ จั ย เ ป็ น ต้ น เ พื่ อ ให้ ท า ก า ร วิ จั ย ที่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ธุ ร กิ จ ข อ ง ต น ดังนั้นการใช้การตลาดยังเป็นสิ่งที่ฉลาดที่มหาวิทยาลัยทาได้ หากแต่ใช้เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ เนื่องจากการอุดมศึกษานั้นมีภาระหน้าที่สาคัญที่ต้องทาเพื่อสังคม บทที่8 As the devil catches you รถ ไฟ ที่ กล่าว ถึง ใน บ ท นี้ ไม่ใช่ สิ่ง อื่น ใด แต่ คือ การตัดต่ อพัน ธุก รรม นั่นเอ ง โดยทางบริษัทยักษ์ใหญ่ได้ทาการตัดต่อพันธุกรรม ปรับแต่งเมล็ดพันธุ์พืชต่างๆ จากนั้นก็ทาการจดสิทธิบัตร
  • 10. โดยให้เหตุผลในการตัดต่อพันธุกรรมว่าเป็นการท าให้พืชแข็งแรงขึ้น ทาให้ใช้สารเคมีลดลง ทาให้ได้รับผลผลิตมากขึ้น และ ยังเป็นเครื่องมือสาคัญ ในการเอาชนะความยากจนของเกษตรกร แต่นั่นก็เป็นเพียงการกล่าวอ้างลอยๆ จากบริษัทขนาดยักษ์ของโลก เพียงไม่กี่บริษัทเท่านั้น ซึ่งอยู่ใน ป ร ะ เ ท ศ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ท า ง แ ถ บ ยุ โ ร ป จะเห็นได้ว่าตลาดทางการค้าเมล็ดพันธุ์พืชได้ถูกผูกขาดอย่างเบ็ดเสร็จ หากคากล่าวอ้างที่ว่า การตัดต่อพันธุกรรมนั้นดี มีประโยชน์ เป็นจริงแล้ว ก็คงจะไม่มีข่าวที่ว่า ประเทศทางสหรัฐอเมริกา รวมถึงยุโรป หยุด หรือยกเลิก การปลูกพืชที่ได้รับการตัดแต่งพันธุกรรม รวมไปถึงเกษตรกรที่ออกมาฟ้องร้องด้านคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ และยังมีงานวิจัยต่างๆมากมายที่บอกได้ว่า คากล่าวอ้างในข้อดีต่างๆของ พืชที่ได้รับการตัดแต่งทางพันธุกรรมนั้น ไม่จริงตามที่บริษัทได้โฆษณาไว้ เมื่อข่าวออกมาดังนี้ ทาให้เกิดการต่อต้านทั้งจากทางเกษตรกร และผู้บริโภคที่มากขึ้น ในเชิงลึกเบื้องหลัง ได้มีการแฉและฟ้องร้องมากมายว่า บริษัทเหล่านี้ พยายามหลอกล่อ ชักชวน จูงใจ ท าทุกวิถีทางเพื่อที่จะให้เกษตรกรยอมเป็นลูกค้าตน หากใครไม่ยอมก็จะ ข่มขู่ ขโมย รวมถึงการกล่าวหา ว่าละเมิดสิทธิบัตร จ า ก ห ล า ย ๆ ส า เ ห ตุ ข้ า ง ต้ น ท า ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ ใ น ท วี ป เ อ เ ชี ย แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ใน แ ถ บ แ อ ฟ ริ ก า เ ป็ น เ ป้ า ห ม า ย ใ ห ม่ ข อ ง บ ริ ษั ท เ ห ล่ า นี้ โด ย จะพ ย าย าม ห าเห ตุผ ล ต่ าง ๆ ม ากม าย ม าอ้าง ว่ าป ระเท ศ ข อง เ รากาลัง พ ล าด และข าด การพัฒ น าท างด้านเท ค โน โลยี โด ย ป ระโย ค ย อดฮิต ที่น าโน้มน้ าว ใจ เช่ น จีเอ็มโอไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ เป็นการปรับปรุงพันธุ์ให้ดีขึ้น ลดการใช้สารเคมี ให้ผลผลิตที่มากขึ้น แก้ไขปัญหาอาหารขาดแคลน และภาวะยากจนได้ ประเด็นหลักที่ทาให้คนมองข้ามปัญหาเกี่ยวกับการตัดต่อพันธุกรรมของเมล็ดพันธุ์คือ คนส่วนใหญ่จะมองว่ากฎหมายของประเทศตนเองสามารถ รักษาความปลอดภัยได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว พืชจีเอ็มโอก็เหมือนพืชทั่วๆไป นั่นคือ สามารถขยายพันธุ์ได้มากมาย โดยที่มนุษย์ไม่สามารถควบคุมได้เลย คิดดูสิ หากจีเอ็มโอดีจริง ทาไมที่ประเทศเจ้าของบริษัทตัวเองถึงยังต่อต้าน บทที่ 9 Defending our live demanding our right!
  • 11. ปัจจุบันก ารท าเห มืองแร่เป็ นที่แพร่ห ลาย ทั่วโลก และเป็ นไป อย่ างแพร่ก ระจาย ที่ไหนมีทรัพยากรก็จะไปตั้งเหมือง และขุดนาทรัพยากรมาใช้ พอทรัพยากรหมดก็จะปล่อยเหมืองที่ขุดไว้ เป็นเหมืองร้าง แต่ส่วนมากประชาชนทั่วไปจะทราบเพียงว่า - การทาเหมืองแร่เป็นเพียงการขุดเอาแต่แร่เท่านั้น - การทาเหมืองมีผลกระทบน้อยต่อโลก - เหมืองดีต่อชุมชน สร้างงาน สร้างรายได้ - กฎหมาย หรือ รัฐบาลสามารถควบคุม ดูแลได้ - ประโยชน์ที่ได้จากการทาเหมืองขุดแร่ มากกว่า โทษที่เหมืองจะก่อให้เกิด - เมื่อเราต้องการทรัพยากร หรือ แร่ใหม่ๆ ก็ต้องขุด - สามารถทาเหมืองแร่ได้ แต่พอบอกให้ทาที่ชุมชน หรือหมู่บ้านของตนเอง ก็จะปฏิเสธ แต่หากได้ลองฟังในมุมมองของผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับเหมืองเหล่านี้ กลับพบว่า สิ่งที่เราคิด หรือได้ยินมานั้น กลับตรงกันข้าม คือ การทาเหมืองแร่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ของบริเวณรอบๆเหมืองอย่างมาก ถึงขนาดมีคนกล่าวว่า “ ความทุกข์ทรมานที่คนในประเทศของฉันได้รับ ล้วนเกิดจากเพชรที่อยู่ใต้พื้นดิน ” หากมองย้อนกลับไปกลับพบว่าเราคิดเพียงว่า หากต้องใช้ทรัพยากร ก็หาใหม่ อยากใช้แร่ ก็ขุ ดแร่ให ม่ เราไม่เค ย คิดถึง การรีไซเคิล ห รือการนากลับ มาใช้ให ม่ ห รือแม้กระทั่ง การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด หากเรายังใช้ชีวิตแบบเดิม สักวันหนึ่ง เมื่อทรัพยากรหมดลงจริงๆ มนุษย์ หรือเราเองนั่นแหละ ที่จะได้รับผลจากการกระทาของตัวเอง บทที่ 10 Cuba Crackdown Cuba Crackdown เราคือคิวบา อเมริกาไม่ใช่พ่อเรา
  • 12. คิ ว บ า เ ค ย เ ป็ น อ า ณ า นิ ค ม ข อ ง ส เ ป น เ มื่ อ ส ห รั ฐ ร บ ช น ะ ส เ ป น จึงเข้ามาปกครองคิวบาโดยการเขียนรัฐธรรมนูญ และเผด็จการบาติสตาซึ่งปกครองอย่างโหดเหี้ยม เมื่อทาการปฏิวัติขับไล่บาติสตาแล้ว หลังการปฏิวัติรัฐบาลเข้ายึดที่ดินจากเจ้าของที่ดินและบริษัทของสหรัฐ แล้วจัดการเป็นวิสาหกิจ ซึ่งทาการปลูกพืชเชิงเดี่ยว คืออ้อย แต่มีการใช้วิธีการเกษตรแบบปฎิวัติเขียว เป็นแนวทางการใช้เครื่องจักรกล ปุ๋ ยเคมี สารเคมีกาจัดศัตรูพืช จนส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ แต่ เ มื่ อ ก ลุ่ ม สัง ค ม นิ ย ม โซ เวี ย ต ล่ ม ส ล าย ซึ่ง ส่ ง ผ ล ก ร ะท บ ต่ อก า รค้า อย่ า ง ม า ก และสหรัฐถือโอกาสคว่าบาตรทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหารอย่างหนัก แม้จะประสบปัญหาอย่างหนัก แต่คิวบาเลือกที่จะสู้ โดยปราศจากการลงทุนจากต่างประเทศ ไม่ค้าขายกับต่างชาติ ธนาคารโลกไม่ช่วยเหลือ มีเพียงองค์กรพัฒนาเอกชนและนักวิชาการจากต่างประเทศ ซึ่งก ารทาก ารเก ษตรข องคิวบ าในขณ ะนั้นใช้เท ค นิค ป ลูกแบบ ผสมผสาน ใช้ปุ๋ ย อินท รีย์ ไม่ได้พึ่งพ าปัจ จัย ภ าย น อก สารเค มี ปุ๋ ย เนื่ อง จ าก ไม่ มีก ารค้าข าย กับ ต่ าง ป ระ เท ศ จากนั้นผลการวิจัยในห้องทดลองถูกนามาใช้จริง โดยสร้างศูนย์ควบคุมการผลิตแบบชีวภาพ ซึ่งตั้งอยู่ ในสหกรณ์การเกษตร เป็น การผลิตเชื้อแบ คทีเรีย ห รือเชื้อราไป ต่อต้านศัตรูพืช ผลิตแมลงไปกินศัตรูพืช และยังค้นพบแบคทีเรียที่ดึงเอาฟอสฟอรัสมาจากดินให้พืชได้ประโยชน์ แก้ปัญหาการใช้ปุ๋ยเคมี ชาวคิวบาพยายามสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อให้ประเทศอยู่ได้ โดยทาจากใจ เป็นอุดมการณ์ ช่วยกันสร้างชาติ ไม่ได้ทาตามนโยบาย ทั้งยังมีการพัฒนาระบบการศึกษาให้เป็นธรรมชาติ จนถึงการทาการเกษตรในเมือง คือการป ลูกพืชผักในสวนของตัวเอง ตามที่ว่างในเมือง ซึ่งทุกคนมีโอกาสร่วมทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ร่วมกันแก้ปัญหา สร้างนวัตกรรม คิดค้นสิ่งใหม่ ปัจจุบัน คิวบาเป็นประเทศเดียวที่มีระบบการเกษตรทั้งหมดเป็นเกษตรอินทรีย์ ไม่พึ่งพาสารเคมี ปุ๋ ย ยา และเครื่องจักรในการทาการเกษตร ที่ใช้ในการบริโภคภายในประเทศและส่งออกด้วย ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร เ ดิ น บ น เ ส้ น ท า ง ก า ร พึ่ ง พ า ต น เ อ ง อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง เป็นการตอบโจทย์ว่าเกษตรทางเลือกสามารถเลี้ยงคนทั้งประเทศได้ โดยอาศัยความเป็นน้าหนึ่งใจเดียว ทุกชนชั้นวรรณะลาบากไปด้วยกัน ร่วมมือกัน สหรัฐบอกว่าการเมืองและเศรษฐกิจของคิวบาเป็นแบบทรราชทั้งที่เป็นระบบที่พาคนคิวบาให้เป็นคน ที่มีการศึกษาสูง มีความรู้ และมีวัฒนธรรม ทั้งที่สหรัฐเองเป็นคนผลักดันให้คิวบาเข้าสู่ระบบดังกล่าว ซึ่ ง ต้ อ ง ข อ บ คุ ณ วิ ก ฤ ติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง ช่ ว ย ให้ คิ ว บ า มี ผ ล ผ ลิ ต เ พิ่ ม จ า ก เ ดิ ม แ ล ะ ยั ง แ ส ด ง ให้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร ก ร ะ จ า ย ก า ร ถื อ ค ร อ ง ที่ ดิ น ก า ร พ ลิ ก วิ ก ฤ ติ ใ ห้ เ ป็ น โ อ ก า ส ข อ ง คิ ว บ า นั้ น สามารถเอื้อเฟื้อความสาเร็จไปยังประชาชนที่ยากจนในประเทศเพื่อนบ้านหรือแม้กระทั่งสหรัฐอเมริกาเอง โด ย ก ารให้ ทุ น ก ารศึก ษ าเด็ก ผิว สี ช าว อ เม ริกั น พื้น เมือง ช าว ละติน ค น ย าก จ น ที่ไม่ได้รับการใส่ใจจากรัฐบาลสหรัฐ การอยู่ได้ด้วยตนเองของคิวบาเป็นการท้าทายอานาจของสหรัฐ
  • 13. และยังพิสูจน์ให้นานาประเทศเห็นว่าประเทศเล็กๆอย่างคิวบาไม่ต้องพึ่งพามหาอานาจทางเกษตรกิจ I am Cuba สหรัฐอเมริกาไม่มีวันเป็นพ่อเรา บทที่ 11 Slow food saves the world ค า ร์ โ ล เ พ ต ริ นี ก่ อ ตั้ ง Slow food Movement ขึ้นมาเพื่อปกป้ องวัฒ นธรรมอาหารเริ่มจากการเสาะหาอาหารท้องถิ่นคุณภาพที่กาลังสูญหาย และมีการแจกรางวัลSlow food award ทุก4ปี โดยอาหารของ Slow food คือ อาหารที่มีระบบการผลิต ที่เคารพธรรมชาติ เคารพภูมิปัญญาท้องถิ่น และรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งอาหารฟาสต์ฟู๊ด เนื่ อ ง จา ก ผ ลิต จ าน ว น ม า ก มี พ ลัง อ าน า จ ที่ ท า ล าย ชี วิ ต ทั้ ง ค น แ ล ะสิ่ง แว ด ล้อ ม การผลิตเชิงเดี่ยวเพื่อป้อนอุตสาหกรรมอาหารทาลายวิถีชีวิตของเกษตรกรทุกที่บนโลก การป ระชุม Terra Madre เพื่อเป็ นการป ระชุ มระดับ โลกข องชุ มชนอาห ารทั่วโลก โดยเนื้อหาในการประชุมมีตั้งแต่เรื่องข้าว น้า เนื้อ ชีส ไวน์ น้าผึ้ง การค้า การตลาด การศึกษา และการท าความเข้าใจข องผู้บ ริโภค ซึ่งในการป ระชุ มได้รับการสนับสนุ นจากเมือง ภาค และกระทรวงการเกษตร และป่าไม้ของอิตาลี ที่เชิญผู้ผลิตมาจากทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกร ชาวประมง คนเลี้ยงสัตว์ และผู้บริโภค ซึ่งเรียกว่าผู้ผลิตร่วม เนื่องจากไม่ต้องการให้เกิดการบริโภคอย่างไม่ยั้งคิด ควรตระหนักถึงบทบาทของตนเองรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากร และวิถีชีวิตชุมชน ชุมชนอาหารคือชุมชนของความเป็นพี่เป็นน้อง ทุกคนร่วมมือกันรักษาและดารงวัฒ นธรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะถูกทาลายโดยกลุ่มทุนที่แสวงหากาไรเพื่อคนส่วนน้อย เอาเปรียบแรงงาน ทาลายสิ่งแวดล้อม สาหรับเกษตรกรทั่วโลก มีสิทธิที่จะจัดการทรัพยากรของตนเอง ต่อต้านนายทุนที่ผลิตจี เอ็มโอ และสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อธรรมชาติ งานครั้งนี้มีเครือข่ายเกษตรกรทางเลือกของไทย 5กลุ่ม เข้าร่วมการเปลี่ยนแปลงประสบการณ์ กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือเปลี่ยนวิถีการผลิตเชิงเดี่ยวมาทาเกษตรอินทรีย์ เ น้ น ก า ร ป ลู ก พื ช ท้ อ ง ถิ่ น ก ลุ่ ม ชุ ม ช น ผู้ ป ลู ก ข้ า ว ห อ ม ม ะ ลิ อิ น ท รี ย์ โดย มีจุด ยืนว่าจะไม่ข าย ข้าว ให้ กับ อุตสาห กรรมข นาดให ญ่ กลุ่มป ระมง จัง ห วัดตรัง อ นุ รั ก ษ์ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ เ พื่ อ ใ ห้ มี ก า ร สื บ ท อ ด สู่ รุ่ น ลู ก รุ่ น ห ล า น มีการหารือเรื่องเรือประมงอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่ใช้เครื่องมือทาการประมงแบบทาลายล้าง ซึ่งส่งผลให้ จานว นป ลาลดลง กลุ่มเกษตรท างเลือกภาค ใต้ พย ายามรักษาการผลิตเดิม เน้ น ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ต้น ไม้ ให้ ร อ ด พ้ น ก า รรุ ก ร าน ข อ ง ส ว น ย า ง พ า ร า ก ลุ่ ม ผู้ อ นุ รัก ษ์ พั น ธุ ก ร รม ข้ า ว พื้ น บ้ า น อีส าน ข้ าว แ ต่ ล ะพั น ธุ์มีลัก ษ ณ ะเ ฉ พ า ะ และไม่เหมาะกับการทาอาหารแต่ละชนิด
  • 14. พืชจี เอ็มโอ เป็นพืชตัดต่อทางพันธุกรรม ส่งผลต่อความยากจน โรคระบาด ความอดอยาก นักอุตสาหกรรมการเกษตรอ้างว่าการตัดต่อทางพันธุกรรมเป็นวิธีเดียวที่เลี้ยงคนทั้งโลกได้ ซึ่ ง เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย์ ไ ด้ พิ สู จ น์ ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล้ ว การใช้เกษตรอุตสาหกรรมเข้ามาแทนที่เกษตรแบบเดิมทาให้ทาลายวัฒนธรรม ยึ ดโยงกีบที่ดิน พ ร า ก ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ม นุ ษ ย์ กั บ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ อ า ห า ร ที่ พ ว ก เ ข า กิ น ซึ่งอาหารที่เรากินเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมวิถีชีวิตแบบเกษตรกร วิถีชนบท แสดงความเอาใจใส่ในสัตว์ รักผืนแผ่นดิน ความรู้และภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ความเข้าใจในสภาพอากาศ บทที่ 12 New poor in Singapore สิงค์โป ร์ เกาะเล็กๆ ที่เป็นประเทศร่ารวยอันดับที่ 2ของเอเชีย รองจากญี่ปุ่ น ทาให้ภาพลักษณ์ของสิงคโปร์คือเมืองของคนรวย คนมีความรู้ พูดภาษาอังกฤษได้ ใช้ชีวิตหรูหรา ใช้ของแบรนเนม จนทาให้รัฐบาลหลายประเทศพยายามดาเนินรอยตามสิงคโปร์ แต่ได้มีการสะท้อนบ างมุมของเกาะสว รรค์แห่ งนี้ คือ คุณย ายลี ชอง เพ็ง วัย 84ปี อาศัยในแฟลตเล็กๆราคา72บาท ต่อวัน ซึ่งทุกวันคุณยายจะมาตั้งแถวรอเพื่อรับการบ ริจาค ซึ่งหากไม่มีการบริจาคพวกเขาคงใช้ชีวิตอยู่อย่างลาบาก ซึ่งหลายคนตั้งคาถามกับประเทศที่มีความมั่งคั่ง กลับละเลยกับคนที่มีความลาบาก ซึ่งรัฐบุรุษของสิงค์โปร์ ลี กวน ยู ได้สร้างระบบที่ทุกคนต้องทางานหนัก มุ่งส่งเสริมอุตสาหกรรม ทาให้เกิดความแตกต่างของเศรษฐกิจ ช่องว่างทางรายได้กว้างขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด คือคนรวยรวยขึ้น คนจนจนลง และเมื่อรัฐบาลตัดสินใจขึ้นค่าสาธารณู ปโภคและบริการต่างๆ ทาให้ปัญหาความยากจนยิ่งทวีความรุนแรง นักการเมืองรุ่นใหม่เริ่มเห็นปัญ หาความยากจน จึง มีโค รงการช่ วย เห ลือ เรื่อง ที่พัก การศึกษ า บ ริการสาธารณ สุข และระบ บ ข น ส่ง ซึ่ง แ น ว ค ว า ม คิ ด นี้ ขั ด แ ย้ ง กั บ น โ ย บ าย ข อ ง ลี ก ว น ยู ซึ่ ง ก า ร ท อ ด ทิ้ ง ค น จ น ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ เ พิ่ ม อั ต ร า ก า ร ข า ด แ ค ล น แ ร ง ง า น ใ น ป ร ะ เ ท ศ เมื่อตกงานคนสิงค์โปร์ยอมลดค่าแรงตัวเองเพื่อแข่งขันกับแรงงานต่างชาติ ขณะรัฐบาลเกรงปัญหาสมองไหล จึงพยายามขึ้นเงินเดือนให้กับผู้บ ริหารระดับสูง ซึ่งเมื่อรัฐบ าลตั้งโครงการช่วย เหลือคนจน นักการเมืองพรรคฝ่ายค้านมองว่าเป็นการใช้เงินซื้อเสียงประชาชน เจมส์ โกเมซ กล่าวว่า คนในสิงค์โปร์ถูกแยกด้วยฐานะทางเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคม แ ล ะ ถู ก กี ด กั น จ า ก า ก ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ท า ง ก า ร เ มื อ ง ความเป็นปึกแผ่นของรัฐบาลสิงค์โปร์คือการรวมตัวกันเพื่อสนับสนุนรัฐบาลให้สินทรัพย์มีค่าสูงไปเรื่อยๆ ท า ให้ สั ง ค ม เป็ น แ บ บ วั ต ถุ นิ ย ม ทุ ก ค น ต้ อ ง ดิ้ น ร น เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ขึ้ น
  • 15. สั ง ค ม ใน สิ ง ค์ โ ป ร์เ ป็ น สั ง ค ม ข อ ง ช น ชั้ น สู ง ไ ม่ ใช่ สั ง ค ม ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ค ว า ม ส า ม า รถ ใน ก า รจ่ า ย เป็ น ตัว ชี้ วั ด ค ว าม ส าเ ร็จ แ ล ะ ก า รมี อ าน าจ ม าก ขึ้ น ใน การด ารง ชีวิตไม่ว่ าจะเป็ นก ารแต่ง ง าน การเรีย น ก ารใช้ข องล้ว น ขึ้นอยู่ กับ เงิน ความสัมพันธ์ของลูกจ้างกับนายจ้าง ไม่มีการใส่ใจ เห็นอกเห็นใจว่าแต่ละคนมีภาระครอบครัวต้องรับผิดชอบ ซึ่งคนรุ่นใหม่ในสิงคโปร์จะสนใจแต่เรื่องของตัวเอง ไม่มีน้าใจ ไม่เห็นใจผู้อื่น ดูถูก และรังเกียจคนที่ผิดพลาด ค่ านิ ย ม ที่ รัฐบ าล ส ร้าง ขึ้ น ท าให้ ท าง เลือ ก ใน ก ารด าเนิ น ชี วิ ต คือ ค า ว่ า ห นี้ หลายคนล้มละลายเพราะไม่สามารถจ่ายหนี้บัตรเครดิตได้ ชนชั้นกลางจะถูกเชิดชูเป็นคนรวยรุ่นใหม่ แต่ความจริงคือคนจนรุ่นใหม่ ในการเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคม การสร้างเศรษฐกิจโดยใช้ความรู้เป็นหลัก คือคนที่ไร้ทักษะ ฝีมือปานกลาง อายุเยอะจะถูกไล่ออก การปลดพนักงานเพื่อ ลดขนาดองค์กร ทาให้ต้องแบกภาระหนี้สิน ภาระทางครอบครัว ค ว า ม ล า บ า ก ข อ ง ค น ใ น สิ ง ค โ ป ร์ มี ม า ก ม า ย เ พิ่ ม ขึ้ น ทุ ก วั น ต่างจากก ารเติบ โตท างเศ รษฐกิจของป ระเท ศ ซึ่งรัฐบ าลมองข้ามปัญ ห าคว ามยาก จนนี้ อย่ าง ไม่ คิด จะ ช่ ว ย เห ลือ เพ รา ะไม่ มีก า รก ร ะจ าย ร าย ได้ ส วั ส ดิก า รท าง สัง ค ม เชื่อในความสามารถของแต่ละคน ทาให้คนลาบากก็จะลาบากมากยิ่งขึ้น บทที่ 13 MST ซาปาติสตาเป็นแรงบรรดาลใจของผู้ที่ต่อต้านลักธิเสรีนิยมใหม่ทั่วโลก ชื่อของขบวนการ คือ MST MST คือขบวนการแรงงานไร้ที่ดินของบราซิล พวกเขาเชื่อว่าที่ดินต้องเป็นของผู้อยู่อาศัย และไถ - ค ร า ด บ น ผื น แ ผ่ น ดิ น นั้ น MST มี เ ป้ า ห ม า ย ต่ อ สู้ ใ ห้ ไ ด้ ม า ซึ่ ง ที่ ดิ น แล้วเป็นหัวหอกสาคัญในการเคลื่อนไหวระดับสากล จากการต่อสู้อย่างยาวนานกว่า 2 ทศวรรษ สมาชิกของ MST ได้สิทธ์ในที่ดินและตั้งเป็ นชุ มช นให ม่แล้วป ระมาณ 35 0 ,00 0 ค รอบ ค รัว และอีก 2 แ ส น ค ร อ บ ค รั ว ก า ลั ง ด า เ นิ น ก า ร เ จ ร จ า ต่ อ ร อ ง อ ยู่ ใ น แ ค ม ป์ บราซิลเป็นประเทศที่มีปัญหาการกระจายการถือครองที่ดินมากที่สุด แผล่นดินกว้างใหญ่ถึง 8 ล้านตารางกิโลเมตร แต่ 46% ของที่ดินเพื่อการเกษตรที่งประเทศ อยู่ในมือของคนเพียง 1 % ในขณะที่ประชากร 36.8% ถือครองที่ดินเพียง 1% เท่านั้น ส า เ ห ตุ ห ลั ก ม า จ า ก ก า ร ฉ ก ฉ ว ย แ ล ะ แ ย่ ง ชิ ง ท รั พ ย า ก ร ในช่ วงแรก คนไร้ที่ดินห าท างออก โดย การรุก ป่ าสง วนและที่ดินข องช นพื้นเมืองดั้งเดิม จนเกิดความขัดแย้งกับช นพื้นเมือง นี่ถือเป็ นจุดเป ลี่ยนที่สาคัญ เมื่อบ าท หลวงอาร์นิลโด ส ม า ชิ ก ค น ส า คั ญ ข อ ง CPT กลุ่มบิชอปคาทอลิกแถบลุ่มน้าแอมะซอนเพื่อแก้ไขความขัดแย้งและความรุนแรงระหว่างเจ้าที่ดินและชาวนา ไร้ที่ดิน ได้เข้ามาช่วยเหลือเพื่อร่วมพูดคุยและวิเคราะห์ปัญห าร่วมกัน ข้อสรุป ของพวกเรา คือศัตรูของเขาไม่ใช่คนพื้นเมือง แต่ศัตรูตัวจริงคือผู้มีอิธิพลและโครงสร้างที่ดินที่ไม่เป็นธรรม
  • 16. กระบ วนการกระจาย การถือค รอง ที่ดินโดย ชุ มช น จึง เริ่มต้นขึ้น MST เรีย กตัว เอง ว่ า ข บ ว น ก า ร ค น จ น ใ น ช น บ ท MST ไ ด้ ใ ช้ นั ย ย ะ แ ห่ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ที่ ส า ม า ร ถ น า ที่ ดิ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ม า ป ฏิ รู ป ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ ให้ทุนสมาชิกไปเรียนวิชากฎหมายในมหาลัยเอกชน เพื่อจะได้มาช่วยงานด้านสิทธิมนุษย์ชน โ จ ว า นี เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น ค น ที่ ไ ด้ รั บ ทุ น ทุ ก เ ช้ า ห ลั ง รี ด น ม วั ว เ ส ร็ จ MST อธิบายเพิ่มเติมว่าคุณสมบัติของผู้ได้รับการจัดสรรที่ดินนั้น จะดูจากความสม่าเสมอในการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่ทาผิดกฎของแคมป์ รวมทั้งอยู่กันเป็นครอบครัว จะได้มีแรงงานทาการผลิตบนแผ่นดิน โดย MST ยั ง ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ จั ด ส ร ร ที่ ดิ น เ ป็ น ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ร ว ม จ า ก นั้ น จึ ง ท า เ ก ษ ต ร ก ร ร ม เ ชิ ง นิ เ ว ศ ต้ อ ง พึ่ ง ตั ว เ อ ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ให้ ไ ด้ เมื่อมีเหลือจึงขายโดยจะนารายได้ส่วนหนึ่งสมทบเข้ากองกลางเพื่อสนับสนุนการเคลื่อนไหวจุดอื่นๆต่อไป การบุกยึดที่ดินและตั้งถิ่นฐานของ MST ได้สะท้อนให้เห็นถึงการสร้างความชอบธรรม เอลมาชาว MST ได้บอกว่าการตั้ง MST มีการเคลื่อนไหวของชาวนาอยู่ก่อนแล้ว เพีย งแต่กระจายตัวกันอยู่ ในทัศนะของเขาไม่ได้ต้องการแค่ให้ได้มาแค่ที่ดินแต่ต้องการต่อต้านระบบทุนนิยมด้วย กลุ่ม MST ได้รับบท เรียนสาคัญ ตั้งแต่ยุคประธานาธิบ ดีคาร์โดโช ถึงประธานาธิบดีลูลาพรรคแรงงาน ใ น ที่ สุ ด ต้ อ ง ไ ป อ ยู่ ฝ่ า ย เ ส รี นิ ย ม จ น พ ว ก เ ข า ไ ด้ ข้ อ ส รุ ป จงลืมอดีตของพวกเขาเสียแล้วสร้างองค์กรเคลื่อนไหวที่เข้มแข็งและเป็นอิสระ บทที่14 MST 2 การที่ ข บ ว น ก าร MST ป ฏิ บั ติก ารท ว ง แผ่ น ดินให้ ป ระส บ ค ว ามส าเร็จ ได้นั้น การยึดที่ดินและการสร้างชุมชนทางเลือกไม่ได้เป็นเพียงยุทธศาสตร์ทั้งหมดของพวกเขาแต่ปัจจัยสาคัญอีกป ระการคือ การศึกษาที่แตกต่าง เพื่อสร้างคนคนพันธุ์ใหม่ หลังจากเข้ายึด เอ็นครูซิลฮาดา นาทาลิโน ได้ในปี 1981 ครอบครัวต่างๆก็ตั้งเต็นท์ดา และเริ่มดารงชีวิตอยู่ในแคมป์แล้วสร้างองค์กรของตนเองขึ้นมาทีละเล็กๆ กลุ่มเด็กจานวนมาก วิ่งเล่นอยู่ในพื้นที่แคมป์ ด้วย ความเป็ นเด็กอยากรู้อยากเห็นของเด็ก พอดีโอกาสเปิดช่อง เนื่องจากในหมู่ชาวแคมป์ มีครูอยู่คนหนึ่งชื่อ มาเรีย ซาเลท แคมปิก๊อตโต ซึ่งต่ อมาได้เป็ น ค รูค นแรก ข องที่ ตั้ง ถิ่นฐาน และเป็ นผู้ป ระสาน งานกิจกรรม ข องเด็ก ต อ น นั้ น ค รู ม า เ รี ย แ ล ะ ค รู อี ก ค น ห นึ่ ง คื อ ลู เ ซี ย เริ่มสนับ สนุ นก ารต่อสู้ข องช าวแค มป์ ให้มีก ารสร้าง โรงเรีย นป ระถม ห ลังจ าก ป ระชุ ม กรมก ารศึกษาอนุ ญ าตให้มีก ารสร้าง โรง เรีย น ไม่ นาน ห ลังจากโรงเรีย น ถูกสร้างขึ้ น
  • 17. ก า ลั ง ต า ร ว จ ไ ด้ ล้ อ ม พื้ น ที่ เ อ า ไ ว้ เ พื่ อ ไ ล่ ช า ว แ ค ม ป์ ไ ป อ ยู่ ที่ ค รู ซ อั ล ท า การกระท าครั้ง นี้ได้เกิดป รากฏ การณ์ที่สาคัญ ขึ้น คือพ วกครูคุย กับ เด็กและพ่อแม่เด็ก ไ ด้ ตั ด สิ น ใ จ เ ข้ า ร่ ว ม กั บ ช า ว แ ค ม ป์ โดยออกเดินทางจากอโนนีข้ามไปยังรัฐอื่นเพื่อขอการสนับ สนุนในการต่อสู้การป ฏิรูปที่ดิน การผนวกกาลังกันได้เริ่มเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นของตัวเองและเข้าใจกระบวนการให้การศึกษ า ต่อม าใน ข ณ ะที่ ค นเข้ าไป ยึ ด ที่ ดิน ก าลัง ตั้ง ถิ่น ฐาน กั น พื้น ที่ อโนนี ถู กแ บ่ งเป็ น 1 6 เขตและเป็นไปไม่ได้ที่เด็กจะไปเรียนที่เดียวกันได้ พวกเขาจึงต้องต่อสู้ให้มีโรงเรียนมากขึ้น แล้วฝ่ายรัฐได้อนุมัติให้ตั้งโรงเรียน 7 แห่งในแคมป์ นี่เป็นการตอกย้าความเข้มแข็งของกลุ่ม MST ครูที่สอนนั้นเป็นครูที่อยู่ในแคมป์ เทศบาลได้เซ็นสัญญาชั่วคราวเมื่อหมดสัญญากระทรวงไม่ต่อ และเอาครูของรัฐซึ่งไม่รู้อะไรเกี่ยวกับชาวแคมป์เลย เมื่อฝนตกก็ไม่มีชั้นเรียนเพราะครูไม่สามารถไปสอนได้ MST พ ว ก เ ข า เ ข้ า ใจ ว่ า เ ป็ น ไ ป ไ ม่ ได้ ที่ จ ะ ไ ม่ เ อ า ค รู ภ า ย น อ ก แ ต่ ที่ เ รีย ก ร้อ ง คือครูที่มาต้องมีความสัมพันธ์กับเด็กและชุมชนอย่างแท้จริง ครูต้องอยู่กับเด็กเวลาที่ทางาน และแนะแนวท างให้ ขณ ะเดีย วกันครูต้องเข้าร่วมการตั้งถิ่นฐาน ฝึกอบรมการเมืองด้ว ย โร ง เ รี ย น แ ห่ ง แ ร ก ใ น อ โ น นี เ ป็ น โ ร ง เ รี ย น ที่ แ ต ก ต่ า ง จ า ก โ ร ง เ รีย น อื่ น ๆ ที่ ป ฏิ บั ติได้จ ริง ที่ สอน แ ง่มุ ม ที่ มีอิธิพ ลต่ อก ารท าง าน ก ารสร้าง ชีวิ ต ให ม่ ซึ่ง MST เสนอเป็นสิ่งที่ต่อต้านโรงเรียนแนวเดิมที่เป็นเครื่องมือในการผลิตซ้าอุดมการณ์ยังเป็นเครื่องมืออันทรงพลังข องระบ บ ทุ นนิ ย ม ในก ารเต รีย ม แรงง านราค าถู ก ใน ท าง ต รง กั นข้ าม โรง เรีย น MST มุ่ ง ก า รเ ต รีย ม ตัว เ ด็ ก แ บ บ บู ร ณ าก า ร ก า รจัด ก า รศึ ก ษ าข อ ง ข บ ว น ก าร MST คื อ ก า ร ส่ ง ผ่ า น คุ ณ ค่ า แ ล ะ แ น ว คิ ด เ ชิ ง อุ ด ม ก า ร ณ์ แ ก่ เ ด็ ก ทั้งนี้เพราะการศึกษาของรัฐเน้นไปที่การปลูกฝังคนไว้กับวัฒนธรรมยอมจานนและวิถีบริโภคนิยมสุดโต่ง การศึกษาแนวความคิดใหม่ เป็นการสร้างมนุษย์เพื่อเป็นตัวก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วิ ธี ก า ร ส อ น ข อ ง MST ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ห ล า ย อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ MST เชื่ อ ว่ าเ ด็ก ต้อ ง ไม่ เรีย น ที่ โรง เรีย น แ ต่ ต้อ ง ท าง าน ด้ว ย ตัว อ ย่ า ง เด็ ก พั น ธุ์ให ม่ เ ด็ ก ไ ร้ ที่ ดิ น จั ด ส มั ช ช า กั น นั ก เ รี ย น ทุ ก ค น ใ น โ ร ง เ รี ย น สมัชชาครั้งนั้นเป็นที่น่าสนใจเพราะแสดงว่าเริ่มมีความรับผิดชอบสิ่งต่างๆ ปี1989-1994 MST ได้ทางานอย่างแข็งขันเพื่อป้ องกันจากห น่วยงานรัฐ MST ได้สร้างองค์กรร่วมเพื่อการศึกษา นอกเหนือจากตั้งเป้าหมายฝึกอบรมครูให้ได้ประกาศนียบัตร เพื่อเป็นนักการศึกษาของ MST ที่ ส อ บ เ อ า ต า แ ห น่ ง ค รู ใ น โ ร ง เ รี ย น รั ฐ ไ ด้ แ ล ะ ต่ อ ม า MST เริ่มสนใจให้สมาชิกรับการฝึกอบรมในมหาวิทยาลัยและได้ทาข้อตกลงกับมหาวิทยาลัยต่างๆ จากนั้นยังตั้งโรงเรียนเคลื่อนที่เพื่อแคมป์ ต่างๆ ในปี1996 ครูมาเรีย ซาเลท แคมปิก็อตโต ไ ด้ เ รี ย น รู้ ใน ฐ า น ะ แ ม่ แ ล ะ เ ป็ น ค รู ไ ด้ เ รี ย น รู้ ห น ท า ง ใ ห ม่ ที่ เ ลี้ ย ง ดู ลู ก
  • 18. ฉั น ได้ พ บ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ผู้ ห ญิ ง ใน ก า ร ต่ อ สู้ เ พื่ อ ที่ ดิ น ส า ห รับ ฉั น MST เป็นมหาวิทยาลัยที่สาคัญที่สุดที่ฉันได้เข้าศึกษา
  • 19. บทที่15 Alien Housekeeper ส า ห รั บ บ ท ค ว า ม บ ท นี้ กล่าวถึงแรงงานต่างด้าวห ญิงในแง่ข องสาเห ตุที่ต้องอพย พไป ทางานนอกประเท ศ ชีวิต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ แ ร ง ง า น ต่ า ง ด้ า ว ส่ ว น ใ ห ญ่ ต้ อ ง พ บ เ จ อ และความรู้สึกของครอบครัวที่แม่ต้องไปเป็นแรงงานต่างด้าวหลายๆประเทศที่มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ มั ก เ ป็ น เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง แ ร ง ง า น ที่ โห ย ห า ก า ร มี ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ขึ้ น แรงงานต่างด้าวที่พบในประเทศฮ่องกงเป็นจานวนมากที่สุดคือชาวฟิลิปินส์ รองลงมาคืออินโดนีเซียและไทย โ ด ย แ ร ง ง า น ต่ า ง ด้ า ว ไ ท ย ที่ พ บ ส่ ว น ให ญ่ เ ป็ น ค น ที่ ม า จ า ก ภ า ค อี ส า น แรงงานต่างด้าวเหล่านี้เป็นกาลังสาคัญของประเทศฮ่องกง เนื่องจากเป็นพี่เลี้ยงเด็กที่มีราคาถูก แถมยังได้กาไรตรงที่พวกเธอสามารถช่วยเฝ้าบ้านได้อีกด้วย แต่แรงงานต่างด้าวก็มักพบเจอกับปัญหาต่างๆทั้งที่เกิดจากการหลบหนีเข้ามาทางานอย่างผิดกฎหมาย หรือที่เข้ามาทางานอย่างถูกกฎหมายแต่ถูกกฏหมายของทางประเทศนั้นๆเล่นงานจากการเสียค่าภาษี ที่ร้าย แรง ไป กว่ านั้นคือการถูกกฎ ขี่ ข่ มเห ง และการถูกท าร้าย ร่าง กาย จาก นาย จ้าง ตัวอย่างที่น่าสะเทือนใจเกิดขึ้นกับเนอร์มาลา โอบัท สาวใช้ชาวอินโดนีเซียอายุ 37 ปี ที่ถูกนายจ้างหญิงชื่อ ยิม เพก ฮา ชาวมาเลเซียทาร้ายร่างกายตลอดเวลา 5 เดือน โดยใช้เตารีดนาบบริเวณหน้าอก แผ่นหลัง แ ล้ ว ยั ง โ ด น ร า ด น้ า ร้ อ น ที่ ต้ น ข า สาเหตุเพียงเพราะเธอทาจานแตกหรือรีดผ้าไม่เรียบองค์กรช่วยเหลือผู้หญิงในมาเลเซีย หรือ WAO (Women’s Aid Organisation) กล่าวถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดเหตุการณ์ นายจ้างทาร้ายลูกจ้างต่างด้าว เนื่องจาก งานบ้านที่แรงงานต่างด้าวทานั้น ถูกจัดเป็นงานที่ต่าต้อย คนรับใช้จึงถูกมอง ต่ากว่าคนทั่วไป โดยที่นายจ้างสามารถทาอะไรกับคนรับใช้ก็ได้ โขกสับแค่ไหนก็ได้ และนโยบายของรัฐบาลส่วนใหญ่ก็มุ่ง แ ต่ ป ก ป้ อ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง น า ย จ้ า ง เ ป็ น ห ลั ก จึงทาให้ไม่มีกฎหมายมารองรับสิทธิและมาตรฐานแรงงานให้แก่คนงานต่างชาติ เมื่อย้อนมอง ถึงเห ตุผลห ลักที่พ วกเธอต้อง ออกนอกป ระเท ศ เพื่อไป ท างานคือ ต้ อ ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ใ ห้ ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว ใ ห้ ดี ขึ้ น พ ว ก เ ธ อ จึง ย อ ม ท น ท า ง า น เพื่ อ ที่ จ ะ เอ าเ งิน ที่ ได้นั้ น ส่ ง ก ลับ ม า ให้ ท าง บ้ าน ใช้ ลูกของแรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่รู้สึกไม่อยากให้แม่ต้องเป็นฝ่ายจากไปเพื่อทางาน เนื่องจากแม่ สามารถทาหน้าที่ทั้งของพ่อและแม่ได้ ในขณะที่คนเป็นพ่อนั้นไม่สามารถทาหน้าที่ของผู้เป็นแม่ได้
  • 20. บทที่ 16 Darkness of brands STARBUCKS : ที่มาของคาว่าพนักงานคือหุ้นส่วน เกิดจากเพราะการจัดตั้งสหภาพสาขาแรก เพราะค่าแรงที่ได้ถูกมาก (7.75$/Hr) เวลาทางานไม่แน่นอนและไม่มีหลักประกันว่าจะมีชั่วโมงทางาน ซึ่งสหภาพได้มีการเรียกร้องให้ทางร้านซื้อเมล็ดกาแฟที่มีมาตรฐานรับรองและแบ่งรายได้ที่มีให้แก่เกษตรกร ปัจจุบันแบ่ง 3 เซ็นต์ ขณะที่ขายแก้วละ 3$ Microsoft : ร ว ม ล ง ทุ ม ใ น บ ริ ษั ท ที่ มี ส่ ว น ใ น ก า ร ท า ล า ย สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม บริษัท ผลิตย าข้ามชาติท าให้คนเข้าถึงย าราคาถูกย ากขึ้น และร่วมทุ นกับ บริษัท Abbott ที่เอายาต้านไวรัสรูปแบบเก่าที่โละจากยุโรปมาขายยังประเทศที่กาลังพัฒนาในราคาสูง TESCO : ซัพพลายเออร์ทั่วมุมโลกต้องลดต้นทุนการผลิตเพื่อที่จะยังคงป้อนสินค้าให้เทสโก้ได้ VICTORIA’S SECRET: ค น ง า น ที่ ถั ก เ สื้ อ ใ น ต้ อ ง ส่ ง ใ ห้ ก ลุ่ ม Clover Group ที่จะส่งต่อให้วิคตอเรียอีกทีนั้นซึ่งให้ค่าแรงที่ถูกมากจนทาให้คนงานต้องยอมลาออกและรับค่าตอบแทนที่ต่า กว่ากฎหมาย DISNEY : ซัพพลาย เออร์ของดิสนี่ในจีนให้ค่าแรงคนงานที่ต่ามากถึง 12.5฿ /ชั่วโมง และมีชั่วโมงการทางาน 12-14 ชั่วโมงต่อวัน MCDONALD’S : อ า ห า ร เ กื อ บ ทั้ ง ห ม ด มี น้ า มั น น้ า ต า ล แ ล ะ เ ก ลื อ สู ง เ นื้ อ สั ต ว์ ที่ ไ ด้ ก็ ม า จ า ก ก า ร ใ ห้ ฮ อ ร์ โ ม น ย า ป ฏิ ชี ว น ะ แ ล ะ ส า ร เ ค มี มีการลดต้นทุนโดยการจ้างพนักงานน้อยลงแต่เพิ่มชั่วโมลการทางานขึ้น KFC : ไก่ ที่ ได้ม าถู ก เลี้ย ง ในพื้ น ที่ แ ค บ ๆ แล ะถู ก ตัด ป าก เพื่ อจ ะได้ไม่ จิก กั น ไก่ถูกเลี้ยงให้อ้วนมากจนขารับน้าหนักไม่ได้ และเลี้ยงไก่ด้วยถั่วเหลืองที่ปลูกในพื้นที่บุกรุกป่าอเมซอน MCDONALD’S ก็เช่นกัน COCA COLA : โรงงานในอินเดียมีการสูบน้าจากแหล่งน้าใต้ดินซึ่งเป็นทรัพยากรส่วนรวมจนแห้งแล้วนากลับมาขายในราคา ที่แพงจนชาวอินเดียไม่สามารถซื้อกินได้ แต่ปัจจุบันโรงงานนี้ได้ปิดลงแล้ว