SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
อ่านออกเสียง เขียนคำา
โคลง
เนื้อหา/สาระสำาคัญ
1. หลักการอ่านออกเสียง
2. การอ่านความเรียง
3. หลักการอ่านทำานองเสนาะ
4. การอ่านทร้อยกรอง ประเภทโคลง
5. หลักการแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลง
กิจกรรมการเรียนรู้
 ชั่วโมงที่ ๑-๓ หลักการอ่านบทร้อยแก้ว
ฝึกอ่านออกเสียง ร ล และคำาควบกลำ้า
ฝึกอ่านความเรียง
 ชั่วโมงที่ ๔-๖ หลักการอ่านบทร้อยกรอง
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทโคลง
 ชั่วโมงที่ ๗-๘ หลักการแต่งคำาประพันธ์ประเภทโคลง
ฝึกแต่งคำาประพันธ์ประเภทโคลง
หลักฐานแสดงผลการเรียน
ชิ้นงาน / ภาระงาน
ชิ้นงาน
ผลงานการแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลง
ภาระงาน
๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วประเภทความเรียง
๒. อ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทโคลง
๓. แต่งบทร้อยกรองประเภทโคลง
User
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
อ่านออกเสียง เขียนคำาโคลง
ความหมายของการอ่าน
คือการแปลความหมายของตัวอักษรที่ร้อยเรียงเป็นถ้อยคำา เป็น
เรื่องราว ที่มองเห็นจาก สื่อต่าง ๆ เช่น วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์
หนังสือ ตำารา หรือเอกสารทางวิชาการ เป็นต้น
ประเภทของการอ่าน
๑.จำาแนกตามลักษณะการใช้เสียง กับการไม่ใช้เสียง ได้แก่
๑.๑ การอ่านในใจ
๑.๒ การอ่านออกเสียง
๒.จำาแนกตามเจตนาของการอ่าน ได้แก่
๒.๑ การอ่านเพื่อค้นคว้าหาความรู้
๒.๒ การอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน
๒.๓ การอ่านเพื่อจรรโลงใจ
๓.จำาแนกตามลักษณะการคิด ได้แก่
๓.๑ การอ่านเอาเรื่อง
๓.๒ การอ่านจับใจความสำาคัญ
๓.๓ การอ่านวิเคราะห์ประเมินค่า
การอ่านออกเสียง
คือการถ่ายทอดเรื่องราว หรือถ้อยคำาที่เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้
ด้วยการเปล่งเสียงให้ผู้รับสารได้ยินได้ฟัง เพื่อให้เกิดความรู้ ความ
เข้าใจ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรือได้ข้อคิด คติเตือนใจ ซึ่งสามารถ
อ่านได้ ๒ รูปแบบ คือ อ่านออกเสียงแบบปกติธรรมดา กับอ่านเป็นทำานอง
เสนาะ
ประเภทของการอ่านออกเสียง
๑. การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว มีรูปแบบการอ่านแบบปกติ
ธรรมดา
๒. การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง สามารถอ่านได้ทั้งแบบปกติ
ธรรมดา กับเป็นทำาทองเสนาะ
หลักทั่วไปในการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
๑. อ่านออกเสียงสะกดคำาให้ถูกต้อง
21
User
๒. อ่านออกเสียง ตัว ร ล ให้ถูกต้อง
๓. อ่านคำาควบกลำ้าให้ถูกต้อง
๔. อ่านออกเสียงคำาที่ใช้ตัว “ฤ” ให้ถูกต้อง
๕. อ่านออกเสียงคำาพ้องรูปให้ถูกต้อง
๖. อ่านคำาย่อและเครื่องหมายต่าง ๆ ให้ถูกต้อง
๗. อ่านแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง เพื่อให้ได้ความหมายตรงตาม
เจตนาของผู้อ่าน
๘. อ่านโดยเน้นเสียงหนักเบา ใส่อารมณ์ในการอ่านให้เหมาะสม
กับเนื้อหา
๙. อ่านได้อย่างคล่องแคล่ว ไม่ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตก อ่านหล่น
หรือเพิ่มเติมคำาขึ้นมา
๑๐. เปล่งเสียงให้ดังชัดเจน
21
User
แบบฝึกการอ่านออกเสียง
ชุดที่ ๑
ฝึกการอ่านออกเสียงสะกดคำา
คำา การอ่าน
ตามหลัก ตามความนิยม
๑.สตรี สัด-ตรี
๒.กุลสตรี กุน-ละ-สัด-ตรี
๓.ขัดสมาธิ ขัด-สะ-หมาด
๔.จักจั่น จัก-กะ-จั่น
๕.จัตุรัส จัด-ตุ-หรัด
๖.เจตคติ เจ-ตะ-คะ-ติ
๗.ชักเย่อ ชัก-กะ-เย่อ
๘.ตุ๊กตา ตุ๊ก-กะ-ตา
๙.ทิฐิ ทิด-ถิ
๑๐.เมรุ เมน
๑๑.เมรุมาศ เม-รุ-มาด
๑๒.อัฒจันทร์ อัด-ถะ-จัน
๑๓.สามัคคี สา-มัก-คี
๑๔.ปกติ ปะ-กะ-ติ ปก-กะ-ติ
๑๕.ภรรยา พัน-ยา พัน-ระ-ยา
๑๖.ภูมิลำาเนา พูม-ลำา-เนา พู-มิ-ลำา-เนา
๑๗.มกราคม มะ-กะ-รา-คม มก-กะ-รา-คม
๑๘.มูลค่า มูน-ละ-ค่า มูน-ค่า
๑๙.มูลนิธิ มูน-ละ-นิ-ทิ มูน-นิ-ทิ
๒๐.คมนาคม คะ-มะ-นา-คม คม-มะ-นา-คม
๒๑.คุณค่า คุน-ค่า คุน-นะ-ค่า
21
User
๒๒.คุณวุฒิ คุน-นะ-วุด-ทิ คุน-นะ-วุด
๒๓.คุณสมบัติ คุน-นะ-สม-บัด คุน-สม-บัด
๒๔.โภชนาการ โพ-ชะ-นา-กาน โพด-ชะ-นา-กาน
๒๕.สมรรถภาพ สะ-มัด-ถะ-พาบ สะ-หมัด-ถะ-พาบ
ชุดที่ ๒
ฝึกการอ่านออกเสียง ตัว
ร ล
โรงเรียน รุงรัง รำาไร รีบร้อน เรื่องราว รกร้าง รวดเร็ว
รวนเร รบเร้า รับรอง รัดรูป
เร่าร้อน โรคเรื้อน เรไร เรี่ยวแรง เรื้อรัง รบรา รวบรัด
เรียบร้อย รื่นรมย์ รวยริน
รุมล้อม รุ่นเล็ก เรียนลัด รักลูก รายล้อม รอยลบ โรงเหล้า
เรือลอย รถลาก ระลึก รักเล่น รำาลึก โรงเลื่อย ร้องลั่น
ราบลุ่ม รถเลื่อน เรียนเลิศ รอยล้อ รูปหล่อ เรียนเล่น
ลมแรง เล่นแร่ ลูกรัก ลงเรือ ลมรัก ล่องเรือ ลำาเรือ ล่วงรู้
ลอดรั้ว ลบรอย ล้างรูป ล้อมรอบ ลูกเรือ ลางร้าย
ลิดรอน ล้อรถ ลอบรัก เล่าเรียน หลายเรื่อง หลงรัก
๑. ที่โรงเลื่อยของเหล่าร้าย มีเหล้าโรงหลากหลายรส
๒. คนร้อยลิ้นร้องลำานำาเกี้ยวลูกเรือให้หลงรัก
๓. รุ่งโรจน์หลงรักรวยรื่นอย่างเหลือหลาย
๔. เพราะโรคร้ายรุมเร้าร่างกายเขาจึงโรยรา
๕. จงรีบเร่งทำางานอย่างรวดเร็วและให้เรียบร้อย
๖. สายลมเป็นหมอลำาเรื่องที่เลื่องลือไปทั้งลับแลเพราะมีลูกเล่น
เหลือหลาย
๗. คิดอยากรวยทางลัด ริไปลักรถ ผลสุดท้ายเลยถูกรวบ
๘. รังรองเป็นคนเรรวนไม่ค่อยจะเรียบร้อย รักง่ายหน่ายเร็ว
๙. เมื่อรู้เรื่องคนร้ายตำารวจก็รีบรุดไปหาร่องรอย
๑๐. เจ้ารวยไปทำารุ่มร่ามกับแม่เรไร กำานันเรืองเลยออกโรงขับไล่
21
User
โรงเรียนเรากำาลังเร่งยกฐานะ ถึงวาระได้รับรอง
มาตรฐาน
จะรีรออยู่อย่างไรมิได้การ เร่งเรียนรู้เร่งการ
งานให้เสร็จพลัน
การเล่าเรียนมากมวลล้วนหลายหลาก เรียนไม่ยากพูดฟัง
ทั้งอ่านเขียน
ครูรับรองไม่ลีลาถ้าพากเพียร จักเป็นเธียรคนเทิด
ประเสริฐเอย
ชุดที่ ๓ ฝึกอ่านคำา
ควบกลำ้า
 พรั่งพร้อม เพราะใคร กลั่นกรอง ครองแครง ขรุขระ
พระสงฆ์ ตั้งตรง ครั้งคราว
 กราบกราน โปรดปราน ปรักปรำา ปรับปรุง ครื้นเครง
เคร่งครัด ครอบครัว
ปลอดโปร่ง กลบเกลื่อน กลมกลิ้ง เกลี้ยกล่อม เกลียว
คลื่น คลาดเคลื่อน
 ปล่อยปลา เปลี่ยนแปลง คลุกคลาน เพลิดเพลิน
คล่องแคล่ว
 แกว่งไกว เก็บกวาด กว้างกว่า
 ขัดขวาง คว้าขวาน ขวนขวาย
 วัวควาย เคว้งคว้าง ควาญช้าง ความแค้น ขวัญ
หาย ทันควัน
ชุดที่ ๔ ฝึกอ่านความ
เรียง
ไหวพริบ-สิ่งอันเป็นที่ต้องการในทุก
กรณี
ละเอียด ศิลาน้อย
21
User
ในการเผชิญปัญหา ไม่ว่าปัญหาใด ๆ การเดินหน้าเข้าใส่อย่าง
ตรง ๆ บางทีนอกจากไม่ได้ผลแล้วยังต้องเจ็บตัวฟรีอีกด้วย ในบางกรณี
หรือส่วนมากแล้ว การใช้ไหวพริบเข้าจัดการอย่างมียุทธวิธีที่ดีจะ
อำานวยผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจเสมอ ๆ แต่ที่แน่ ๆ เราต้องไม่เข้าจัดการกับ
ปัญหาต่าง ๆ ด้วยอารมณ์ด้วยอำานาจของโทสะ ต้องละมุนละม่อมและ
แยบคาย ดังประสบการณ์ของอาจารย์บังเกอิเป็นกรณีตัวอย่างหนึ่ง
การเทศนาของอาจารย์บังเกอิมีผู้เข้าฟังมากมาย ไม่เฉพาะแต่
นักศึกษาเซนเท่านั้น หากแต่มีผู้ฟังมาจากทุกระดับชั้นยศและทุกนิกาย
ท่านไม่เคยยกเอาข้อความในพระสูตรมาอ้าง อีกทั้งไม่ยอมถกเถียงเชิง
วิชาการอะไรกับใครด้วย ตรงกันข้าม ถ้อยคำาของท่านพูดออกมาตรง ๆ
จากใจของท่านสู่ใจของผู้ฟังทั้งหลายโดยตรงการที่อาจารย์บังเกอิมีผู้ฟัง
เทศน์มาก ๆ เช่นนี้ทำาให้พระนิกายนิชิเรนโกรธมาก พระนิชิเรนผู้สำาคัญ
ตน (คิดถึงแต่ตนเอง เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง) จึงได้มาที่วัดของอาจารย์
บังเกอิ ตั้งใจจะมาโต้วาทะกับอาจารย์บังเกอิให้จงได้
“เฮ้ อาจารย์เซน!” เขาตะโกนเรียก “รอเดี๋ยว คนที่เขาเลื่อมใสแก
เขาจะเชื่อฟังแกทุกอย่าง แต่คนอย่างฉันไม่เลื่อมใสแกเลย แกจะทำาให้
ฉันเชื่อฟังแกได้ไหม?”
“เข้ามาที่ข้าง ๆ ฉันซิ แล้วฉันจะแสดงให้ท่านดู” อาจารย์บังเกอิก
ล่าวขึ้น
อาจารย์บังเกอิยิ้มแล้วพูดขึ้น “เข้ามายืนทางซ้ายของฉันซิ” พระรูป
นั้นก็ปฏิบัติตาม
“ไม่เอา” อาจารย์บังเกอิกล่าวขึ้น “เราจะพูดคุยกันได้ดีกว่านี้ถ้า
ท่านอยู่ด้านขวามือของฉัน ก้าวมายืนที่นี่ดีกว่า”
พระรูปนั้นก้าวเดินอ้อมมายืนที่ด้านขวามือของท่านอาจารย์อย่าง
กระหยิ่มใจ
“ท่านเห็นแล้วใช่ไหม” อาจารย์บังเกอิกล่าวสรุป “ท่านเชื่อฟังฉัน
และฉันก็คิดว่าท่านเป็นคนสุภาพมากคนหนึ่ง เอาละ ทีนี้นั่งลงฟังฉันได้
แล้ว”
การปฏิบัติธรรมก็เหมือนกับการทำางานอื่น ๆ โดยทั่ว ๆ ไปนั่นแหละ
เวลาใดที่ใจเราตกเราก็ต้อง “ยก” ใจของเราขึ้นมาบ้าง และเวลาใดที่ใจ
เราฟุ้งซ่านมากเกินไปเราก็ต้องรู้จักข่มมันลงเสียบ้าง ทั้งนี้ก็ต้องด้วย “ไหว
พริบ” ทั้งนั้น
การอ่านออกเสียงบทร้อย
กรอง
21
User
ความหมาย
การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง หมายถึง การอ่านงานประพันธ์
ประเภท โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และร่าย ให้เป็นทำานองปกติธรรมดา
หรือให้เป็นท่วงทำานองคล้ายบทเพลงหรือบทสวดมนต์ ซึ่งเรียกการอ่าน
ประเภทนี้ว่า “ ”การอ่านทำานองเสนาะ คือเป็นการอ่านให้เป็นทำานองที่
ไพเราะ มีการเอื้อนเสียงสั้น ยาว สูง หรือตำ่า เป็นจังหวะ ลีลา และ
ท่วงทำานองไปตามลักษณะบังคับของบทประพันธ์ ผู้อ่านต้องรู้จักวิธีการ
ทอดเสียง เอื้อนเสียง มีลูกเล่น ลูกเก็บอย่างเป็นศิลปะ
หลักการอ่านทำานองเสนาะ
๑. อ่านให้ถูกอักขรวิธี
๑.๑ ไม่อ่านผิดสระ ผิดพยัญชนะ หรือผิดวรรณยุกต์
๑.๒ อ่านออกเสียงพยัญชนะ จ/ฉ/ช/ถ/ท/ช/ศ/ษ/ส/ร ให้ชัดเจน
๑.๓ ควรออกเสียงคำาควบกลำ้า และอ่านออกเสียง ร ล ให้ชัดเจน
๒. อ่านให้ถูกจังหวะ
๒.๑ ควรรู้จักฉันทลักษณ์ของคำาประพันธ์ที่จะอ่าน
๒.๒ การอ่านทำานองเสนาะจะเร่งจังหวะเร็วขึ้นเมื่ออ่านบทที่เกี่ยว
กับการโกรธและลดจังหวะ ช้าลงเมื่ออ่านบทที่เกี่ยวกับความรัก
หรือความเศร้า ความเจ็บปวด
๓. อ่านให้มีทำานอง
๓.๑ ควรรู้จักลีลาที่เป็นไปตามจังหวะหรือทำานองการออกเสียงของ
คำาประพันธ์แต่ละประเภท
๓.๒ ควรอ่านทำานองคำาประพันธ์ให้พอเหมาะกับเสียงตน
๔. อ่านให้มีเสียงดัง
๔.๑ ควรอ่านทำานองเสนาะให้มีเสียงดังพอที่จะได้ยินทั่วกัน
๔.๒ ควรรู้จักอ่านให้ดังฟังให้ชัดเจน ให้เสียงสัมผัส จังหวะและ
ทำานองที่อ่านกระทบหูและใจ
๕. อ่านให้มีอารมณ์
๕.๑ ควรเข้าให้ถึงรสและตีความให้ได้ว่าเป็นรสรัก โศก ตื่นเต้น
คึกคัก หรือเกลียดชัง แล้วอ่านให้นำ้าเสียง สอดคล้องกับรสหรืออารมณ์
นั้นๆ
๕.๒ ควรอ่านบทวรรณคดีให้มีสำาเนียง อารมณ์ หรือความรู้สึกที่แท้
จริงของกวี เพื่อให้ผู้ฟัง เข้าใจเนื้อเรื่องและรู้สึกเพลิดเพลินไปด้วย
21
User
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรอง
ประเภทโคลง
โคลงโลกนิติ
ผู้แต่ง: สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาเดชาดิศร
ปลาร้าพันห่อด้วย ใบคา
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุ้ง
คือคนหมู่ไปหา คบเพื่อน พาลนา
ได้แต่รายร้ายฟุ้ง เฟื่องให้เสียพงศ์
นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เลื้อยบ่ทำาเดโช แช่มช้า
พิษน้อยหยิ่งโยโส แมลงป่อง
ชูแต่หางเองอ้า อวดอ้างฤทธี
เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์
เสียศักดิ์สู้ประสงค์ สิ่งรู้
เสียรู้เร่งดำารงความสัตย์ ไว้นา
เสียสัตย์อย่าเสียสู้ ชีพม้วยมรณา
พระสมุทรสุดลึกล้น คณนา
สายดิ่งทิ้งทอดมา หยั่งได้
เขาสูงอาจวัดวา กำาหนด
จิตมนุษย์นี้ไซร้ ยากแท้หยั่งถึง
ก้านบัวบอกลึกตื้นชลธาร
มรรยาทส่อสันดาน ชาติเชื้อ
โฉดฉลาดเพราะคำาขาน ควรทราบ
หย่อมญ่าเหี่ยวแห้งเรื้อ บอกร้ายแสลงดิน
21
User
โคลงสี่สุภาพ
ความหมายของโคลง
โคลง เป็นคำาประพันธ์แบบโบราณของไทย มีลักษณะบังคับคำาเอก
คำาโท นิยมเล่นคำาสัมผัสอักษรเพื่อเน้นความหมายและความไพเราะ ซึ่ง
แต่งกันแพร่หลายมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน
ในการแต่งคำาประพันธ์ ทุกชนิด สิ่งที่ผู้แต่งควรให้ความสำาคัญได้แก่
คำาสัมผัส และฉันทลักษณ์หรือลักษณะบังคับของคำาประพันธ์ชนิดนั้น ๆ
ลักษณะของคำาสัมผัส
สัมผัส คือคำาลักษณะบังคับในด้านเสียงของถ้อยคำา และตำาแหน่งที่
อยู่ในวรรค ระหว่างวรรค หรือระหว่างบทของคำา แบ่งออกเป็น ๒
ประเภท คือ
ก. สัมผัสเกี่ยวกับเสียงของคำา แบ่งออกเป็น ๒ คือ
๑. สัมผัสสระ คือคำาที่มีเสียงสระคล้องจองกัน ประสมด้วยสระ
เดียวกัน ถ้าเป็นคำาที่มีตัวสะกดต้องเป็นตัวสะกดในมาตราเดียวกัน
ตัวอย่างเช่น
มี : ดี ใจ : ใส
บ้าน : นาน แก้ว : แมว
๒. สัมผัสอักษร คือคำาที่มีเสียงพยัญชนะเหมือนกันหรือคล้ายคลึง
กัน ตัวอย่างคำาที่มีเสียงเหมือนกันหรือคล้ายกัน เช่น
เสียง /ค/ ได้แก่ตัวอักษร ข ค ฆ เสียง /ย/ ได้แก่ตัว
อักษร ย ญ
เสียง /ช/ ได้แก่ตัวอักษร ช ฌ เสียง /ด/ ได้แก่ตัว
อักษร ด ฎ
เสียง /ซ/ ได้แก่ตัวอักษร ซ ษ ศ ส เสียง /ต/
ได้แก่ตัวอักษร ต ฏ
เสียง /ท/ ได้แก่ตัวอักษร ถ ฐ ฑ ฒ ท ธ เสียง /น/ ได้แก่ตัว
อักษร น ณ
เสียง /พ/ ได้แก่ตัวอักษร พ ผ ภ เสียง /ล/ ได้แก่ตัว
อักษร ล ฬ
21
User
เสียง /ฟ/ ได้แก่ตัวอักษร ฝ ฟ เสียง /ฮ/ ได้แก่ตัว
อักษร ห ฮ
ตัวอย่างเช่น
ข้าว : คน ช้าง : ชอบ
ญาติ : ย้าย ท้อง : ถิ่น
ข. สัมผัสเกี่ยวกับตำาแหน่งของคำา แบ่งออกเป็น 2 คือ
๑. สัมผัสนอก คือสัมผัสที่อยู่ระหว่างวรรค หรือนอกวรรค หรือ
ระหว่างบท คำาที่มาสัมผัสจะต้องเป็นคำาสัมผัสสระ ตัวอย่าง
เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์
เสียศักดิ์สู้ประสงค์ สิ่งรู้
เสียรู้เร่งดำารง ความสัตย์ ไว้นา
เสียสัตย์อย่าเสียสู้ ชีพม้วยมรณา
๒. สัมผัสใน คือสัมผัสที่อยู่ภายในวรรค คำาที่มาสัมผัสจะเป็นคำา
สัมผัสสระหรือสัมผัสอักษรก็ได้ สัมผัสในไม่ใช่สัมผัสบังคับ แต่จะช่วยให้
บทร้อยกรองมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น ตัวอย่าง
ใครรานใครรุกด้าว แดนไทย
ไทยรบจนสุดใจ ขาดดิ้น
เสียเนื้อเลือดหลั่งไหล ยอมสละ สิ้นแล
เสียชีพไป่เสียสิ้น ชื่อก้องเกียรติงาม
ฉันทลักษณ์ของโคลงสี่สุภาพ
คณะ บทหนึ่งมี ๔ บาท บาทหนึ่งมี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕
พยางค์ วรรคหนังมี ๒ พยางค์ ยกเว้นบาทที่ ๔ วรรคหลังมี ๔ พยางค์
วรรคหลังบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ สามารถเติมคำาสร้อยได้อีก ๒
พยางค์
สัมผัส
๑. คำาสุดท้ายของวรรคหลัง บาทที่ ๑ สัมผัสพยางค์สุดท้ายของ
วรรคหน้า บาทที่ ๒ และ ๓
๒. คำาสุดท้ายของวรรคหลัง บาทที่ ๒ สัมผัสพยางค์สุดท้ายของ
วรรคหน้า บาทที่ ๔
คำาเอกคำาโท
คำาเอก คือคำาที่มีรูปวรรณยุกต์เอกกำากับ หรืออาจใช้คำาตายแทน
ได้ โคลงสี่สุภาพบังคำาเอก ๗ แห่ง ตัวอย่างเช่น
21
User
ต่าง แด่ แม่ นก บาตร ชอบ
คำาเอกโทษ คือคำาที่โดยปกติใช้วรรณยุกต์อื่นแต่ทำาให้มีรูป
วรรณยุกต์เอกในความหมายคำาเดิม ใช้เพื่อให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
เช่น
คอยถ้า เป็น คอยท่า
ขี้เถ้า เป็น ขี้เท่า
เสื้อผ้า เป็น เสื้อพ่า
คำาโท คำารูปวรรณยุกต์โทกำากับ โคลงสี่สุภาพบังคำาเอก ๔ แห่ง
ตัวอย่างเช่น น้า น้อง สู้ ให้ ฟ้า แก้ว หญ้า
คำาโทโทษ คือคำาที่โดยปกติใช้วรรณยุกต์อื่นแต่ทำาให้มีรูป
วรรณยุกต์โทในความหมายคำาเดิม ใช้เพื่อให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
เช่น
ฉันรักย่า เป็น ฉันรักหญ้า
ของมีค่า เป็น ของมีข้า
น่ารัก เป็น หน้ารัก
คำาสร้อย
คำาสร้อย ใช้เติมต่อในวรรคหลังบาที่ ๑ และ ๓ ซึ่งจะเติม
หรือไม่ก็ได้ ไม่บังคับ ใช้ในกรณีที่ถ้อยคำาไม่จบกระแสความหรือ
เน้นยำ้าให้เกิดอารมณ์ เช่น แลนา ฤาพ่อ นาแม่ตัวอย่างเช่น
หากสยามยังอยู่ยั้ง ยืนยง
เราก็เหมือนอยู่คง ชีพด้วย
หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ได้ฤา
เราก็เหมือนมอดม้วย หมดสิ้นสกุลไทย
แผนผังโคลงสี่สุภาพ
O O O เอก โท O O (O O)
O เอก O O O O O
O O เอก O O เอก โท (O O)
21
User
O เอก O O โท เอก โท O O
ตัวอย่าง
ให้ท่านท่านจักให้ ตอบสนอง
นบท่านท่านจักปอง นอบไหว้
รักท่านท่านควรครอง ความรัก เรานา
สามสิ่งนี้เว้นไว้ แต่ผู้ทรชน
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
ใบงานที่ ๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
๑. การอ่าน
คือ...................................................................................................
....................................................
.......................................................................................................
.........................................................................๒. การอ่านแบ่งตาม
ลักษณะการใช้ และไม่ใช้เสียง มี ๒ ชนิด
คือ.........................................................................
21
User
.......................................................................................................
..........................................................................๓. การอ่านแบ่งตาม
เจตนาในการอ่าน มี ๓ ชนิด
คือ...........................................................................................
.......................................................................................................
..........................................................................๔. การอ่านแบ่งตาม
ลักษณะการคิด มี ๓ ชนิด
คือ..................................................................................................
.......................................................................................................
..........................................................................๕. การอ่านออกเสียง
คือ...................................................................................................
.......................................
.......................................................................................................
..........................................................................
๖. การอ่านออกเสียงมี......................ประเภท
คือ...................................................................................................
.......................................................................................................
..........................................................................
๗. หลักทั่วไปในการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว มีดังนี้
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
21
User
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
................................................................
คะแนนที่ได้....................................... ผู้
ตรวจ.........................................................
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
กิจกรรมที่ ๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
๑. แบบฝึกชุดที่ ๑ อ่านได้ถูกต้อง คำา ได้คะแนน
๒. แบบฝึกชุดที่ ๒ อ่านได้ถูกต้อง คำา ได้คะแนน
๓. แบบฝึกชุดที่ ๓ อ่านได้ถูกต้อง คำา ได้คะแนน
๔. แบบฝึกชุดที่ ๔ อ่านความเรียง
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม
(๕
ดีมาก
(๔คะแ
ดี
(๓คะแ
พอใช้
(๒คะแ
ปรับป
รุง
21
User
คะแน
น)
นน) นน) นน) (๑คะแ
นน)
๑.เสียงดังฟังชัดเจน
๒.อ่านสะกดคำาถูกต้อง
๓.ออกเสียงตัว ร ล และคำา
ควบกลำ้าถูกต้อง
๔.เน้นเสียงหนัก เบา และ
แบ่งวรรคตอนถูกต้อง
๕.อ่านได้คล่องแคล่ว ไม่
อ่านตกหล่น หรือเพิ่มเติม
คำา
หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕
คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ
คุณภาพ
เกณฑ์ระดับคุณภาพ
ลำา
ดับ
คะแนน ระดับ
คุณภาพ
๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง
๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้
๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี
๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก
๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม
21
User
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
ใบงานที่ ๒ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
๑. การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
คือ...................................................................................................
.................
.......................................................................................................
..........................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
21
User
...............๒. การอ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธี มี
ดังนี้.................................................................................................
...............
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.............................................๓. การอ่านให้ถูกจังหวะ มี
ดังนี้.................................................................................................
..............................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.............................................๔. การอ่านให้ถูกทำานอง มี
ดังนี้.................................................................................................
..............................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.............................................๕. การอ่านให้มีเสียงดัง มี
ดังนี้.................................................................................................
.................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.............................................๖. การอ่านให้มีอารมณ์ มี
ดังนี้.................................................................................................
.................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
21
User
.......................................................................................................
.............
. คะแนนที่ได้....................................... ผู้
ตรวจ.........................................................
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
กิจกรรมที่ ๒ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ
๑. โคลงบทที่ ๑
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม
(๕คะแ
นน)
ดีมาก
(๔คะแ
นน)
ดี
(๓คะแ
นน)
พอใช้
(๒คะแ
นน)
ปรับป
รุง
(๑คะแ
นน)
๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล
และคำาควบกลำ้าถูกต้อง
๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ
ท่วงทำานอง
๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง
ฟังชัด
๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ
อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่
อ่าน
๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง
คล่องแคล่ว ไม่
ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น
21
User
หรือเพิ่มเติมคำา
หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕
คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ
คุณภาพ
เกณฑ์ระดับคุณภาพ
ลำา
ดับ
คะแนน ระดับ
คุณภาพ
๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง
๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้
๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี
๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก
๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
กิจกรรมที่ ๓ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ
๑. โคลงบทที่ ๒
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม
(๕คะแ
นน)
ดีมาก
(๔คะแ
นน)
ดี
(๓คะแ
นน)
พอใช้
(๒คะแ
นน)
ปรับป
รุง
(๑คะแ
นน)
๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล
และคำาควบกลำ้าถูกต้อง
๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ
ท่วงทำานอง
21
User
๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง
ฟังชัด
๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ
อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่
อ่าน
๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง
คล่องแคล่ว ไม่
ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น
หรือเพิ่มเติมคำา
หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕
คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ
คุณภาพ
เกณฑ์ระดับคุณภาพ
ลำา
ดับ
คะแนน ระดับ
คุณภาพ
๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง
๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้
๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี
๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก
๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
กิจกรรมที่ ๔ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ
๑. โคลงบทที่ ๓
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
21
User
ดีเยี่ยม
(๕คะแ
นน)
ดีมาก
(๔คะแ
นน)
ดี
(๓คะแ
นน)
พอใช้
(๒คะแ
นน)
ปรับป
รุง
(๑คะแ
นน)
๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล
และคำาควบกลำ้าถูกต้อง
๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ
ท่วงทำานอง
๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง
ฟังชัด
๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ
อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่
อ่าน
๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง
คล่องแคล่ว ไม่
ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น
หรือเพิ่มเติมคำา
หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕
คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ
คุณภาพ
เกณฑ์ระดับคุณภาพ
ลำา
ดับ
คะแนน ระดับ
คุณภาพ
๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง
๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้
๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี
๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก
21
User
๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
กิจกรรมที่ ๕ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ
๑. โคลงบทที่ ๔
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม
(๕คะแ
นน)
ดีมาก
(๔คะแ
นน)
ดี
(๓คะแ
นน)
พอใช้
(๒คะแ
นน)
ปรับป
รุง
(๑คะแ
นน)
๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล
และคำาควบกลำ้าถูกต้อง
๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ
ท่วงทำานอง
๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง
ฟังชัด
๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ
อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่
อ่าน
๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง
คล่องแคล่ว ไม่
ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น
หรือเพิ่มเติมคำา
หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕
คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ
คุณภาพ
21
User
เกณฑ์ระดับคุณภาพ
ลำา
ดับ
คะแนน ระดับ
คุณภาพ
๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง
๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้
๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี
๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก
๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
กิจกรรมที่ ๖ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ
๑. โคลงบทที่ ๕
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม
(๕คะแ
นน)
ดีมาก
(๔คะแ
นน)
ดี
(๓คะแ
นน)
พอใช้
(๒คะแ
นน)
ปรับป
รุง
(๑คะแ
นน)
๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล
และคำาควบกลำ้าถูกต้อง
๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ
ท่วงทำานอง
๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง
ฟังชัด
๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ
อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่
อ่าน
๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง
คล่องแคล่ว ไม่
21
User
ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น
หรือเพิ่มเติมคำา
หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕
คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ
คุณภาพ
เกณฑ์ระดับคุณภาพ
ลำา
ดับ
คะแนน ระดับ
คุณภาพ
๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง
๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้
๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี
๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก
๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
ใบงานที่ ๓ คำาประพันธ์ประเภท โคลงสี่สุภาพ
๑. ความหมายของโคลง
คือ...................................................................................................
.................................
.......................................................................................................
..........................................................................
๒. ลักษณะการสัมผัส มี...............แบบ
คือ...................................................................................................
..........
21
User
๓. สัมผัสสระ
คือ...................................................................................................
..................................................
๔. สัมผัสอักษร
คือ...................................................................................................
................................................
๕. สัมผัสนอก
คือ...................................................................................................
................................................
๖. สัมผัสใน
คือ...................................................................................................
....................................................
๗. คณะของโคลง มี
ดังนี้.................................................................................................
........................................
.......................................................................................................
..........................................................................๘.สัมผัสของโคลง มี
ดังนี้.................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
............................................... ๙.คำาเอก
คือ...................................................................................................
..........................................................๑๐.คำาเอกโทษ
คือ...................................................................................................
................................................๑๑.คำาโท
คือ...................................................................................................
........................................................๑๒.คำาโทโทษ
คือ...................................................................................................
.................................................๑๓.คำาสร้อย
คือ...................................................................................................
...................................................๑๔.แผนผังของโคลง มี
21
User
ดังนี้.................................................................................................
....................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
................ ๕.ตัวอย่างโคลงสี่
สุภาพ...............................................................................................
.............................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
................
. คะแนนที่ได้....................................... ผู้
ตรวจ.........................................................
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข
ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................
กิจกรรมที่ ๕ ฝึกแต่งคำาประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ
๑. ฉันอยากเขียนเรื่องเกี่ยวกับ
๒. ฉันรวบรวมข้อมูลได้ดังนี้
21
User
๓. ฉันนำามาร้อยเรียง เป็นโคลงสี่สุภาพ ได้ดังนี้
ชื่อ
เรื่อง.....................................................
คะแนนที่ได้....................................... ผู้
ตรวจ.........................................................
21

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3Kansinee Kosirojhiran
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 

Similar to ม.5 เทอม 1 หน่วย 1

แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1Teacher Sophonnawit
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 Amm Orawanp
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) Kun Cool Look Natt
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
เน็ตพูด
เน็ตพูดเน็ตพูด
เน็ตพูดpanneem
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichailittle-pig
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษsakaratyo
 

Similar to ม.5 เทอม 1 หน่วย 1 (20)

แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
เน็ตพูด
เน็ตพูดเน็ตพูด
เน็ตพูด
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
10
1010
10
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichai
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
Thai 1-3
Thai 1-3Thai 1-3
Thai 1-3
 
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
 

ม.5 เทอม 1 หน่วย 1

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ อ่านออกเสียง เขียนคำา โคลง เนื้อหา/สาระสำาคัญ 1. หลักการอ่านออกเสียง 2. การอ่านความเรียง 3. หลักการอ่านทำานองเสนาะ 4. การอ่านทร้อยกรอง ประเภทโคลง 5. หลักการแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลง กิจกรรมการเรียนรู้  ชั่วโมงที่ ๑-๓ หลักการอ่านบทร้อยแก้ว ฝึกอ่านออกเสียง ร ล และคำาควบกลำ้า ฝึกอ่านความเรียง  ชั่วโมงที่ ๔-๖ หลักการอ่านบทร้อยกรอง ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทโคลง  ชั่วโมงที่ ๗-๘ หลักการแต่งคำาประพันธ์ประเภทโคลง ฝึกแต่งคำาประพันธ์ประเภทโคลง หลักฐานแสดงผลการเรียน ชิ้นงาน / ภาระงาน ชิ้นงาน ผลงานการแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลง ภาระงาน ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วประเภทความเรียง ๒. อ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทโคลง ๓. แต่งบทร้อยกรองประเภทโคลง
  • 2. User หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ อ่านออกเสียง เขียนคำาโคลง ความหมายของการอ่าน คือการแปลความหมายของตัวอักษรที่ร้อยเรียงเป็นถ้อยคำา เป็น เรื่องราว ที่มองเห็นจาก สื่อต่าง ๆ เช่น วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ หนังสือ ตำารา หรือเอกสารทางวิชาการ เป็นต้น ประเภทของการอ่าน ๑.จำาแนกตามลักษณะการใช้เสียง กับการไม่ใช้เสียง ได้แก่ ๑.๑ การอ่านในใจ ๑.๒ การอ่านออกเสียง ๒.จำาแนกตามเจตนาของการอ่าน ได้แก่ ๒.๑ การอ่านเพื่อค้นคว้าหาความรู้ ๒.๒ การอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน ๒.๓ การอ่านเพื่อจรรโลงใจ ๓.จำาแนกตามลักษณะการคิด ได้แก่ ๓.๑ การอ่านเอาเรื่อง ๓.๒ การอ่านจับใจความสำาคัญ ๓.๓ การอ่านวิเคราะห์ประเมินค่า การอ่านออกเสียง คือการถ่ายทอดเรื่องราว หรือถ้อยคำาที่เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้ ด้วยการเปล่งเสียงให้ผู้รับสารได้ยินได้ฟัง เพื่อให้เกิดความรู้ ความ เข้าใจ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรือได้ข้อคิด คติเตือนใจ ซึ่งสามารถ อ่านได้ ๒ รูปแบบ คือ อ่านออกเสียงแบบปกติธรรมดา กับอ่านเป็นทำานอง เสนาะ ประเภทของการอ่านออกเสียง ๑. การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว มีรูปแบบการอ่านแบบปกติ ธรรมดา ๒. การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง สามารถอ่านได้ทั้งแบบปกติ ธรรมดา กับเป็นทำาทองเสนาะ หลักทั่วไปในการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ๑. อ่านออกเสียงสะกดคำาให้ถูกต้อง 21
  • 3. User ๒. อ่านออกเสียง ตัว ร ล ให้ถูกต้อง ๓. อ่านคำาควบกลำ้าให้ถูกต้อง ๔. อ่านออกเสียงคำาที่ใช้ตัว “ฤ” ให้ถูกต้อง ๕. อ่านออกเสียงคำาพ้องรูปให้ถูกต้อง ๖. อ่านคำาย่อและเครื่องหมายต่าง ๆ ให้ถูกต้อง ๗. อ่านแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง เพื่อให้ได้ความหมายตรงตาม เจตนาของผู้อ่าน ๘. อ่านโดยเน้นเสียงหนักเบา ใส่อารมณ์ในการอ่านให้เหมาะสม กับเนื้อหา ๙. อ่านได้อย่างคล่องแคล่ว ไม่ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตก อ่านหล่น หรือเพิ่มเติมคำาขึ้นมา ๑๐. เปล่งเสียงให้ดังชัดเจน 21
  • 4. User แบบฝึกการอ่านออกเสียง ชุดที่ ๑ ฝึกการอ่านออกเสียงสะกดคำา คำา การอ่าน ตามหลัก ตามความนิยม ๑.สตรี สัด-ตรี ๒.กุลสตรี กุน-ละ-สัด-ตรี ๓.ขัดสมาธิ ขัด-สะ-หมาด ๔.จักจั่น จัก-กะ-จั่น ๕.จัตุรัส จัด-ตุ-หรัด ๖.เจตคติ เจ-ตะ-คะ-ติ ๗.ชักเย่อ ชัก-กะ-เย่อ ๘.ตุ๊กตา ตุ๊ก-กะ-ตา ๙.ทิฐิ ทิด-ถิ ๑๐.เมรุ เมน ๑๑.เมรุมาศ เม-รุ-มาด ๑๒.อัฒจันทร์ อัด-ถะ-จัน ๑๓.สามัคคี สา-มัก-คี ๑๔.ปกติ ปะ-กะ-ติ ปก-กะ-ติ ๑๕.ภรรยา พัน-ยา พัน-ระ-ยา ๑๖.ภูมิลำาเนา พูม-ลำา-เนา พู-มิ-ลำา-เนา ๑๗.มกราคม มะ-กะ-รา-คม มก-กะ-รา-คม ๑๘.มูลค่า มูน-ละ-ค่า มูน-ค่า ๑๙.มูลนิธิ มูน-ละ-นิ-ทิ มูน-นิ-ทิ ๒๐.คมนาคม คะ-มะ-นา-คม คม-มะ-นา-คม ๒๑.คุณค่า คุน-ค่า คุน-นะ-ค่า 21
  • 5. User ๒๒.คุณวุฒิ คุน-นะ-วุด-ทิ คุน-นะ-วุด ๒๓.คุณสมบัติ คุน-นะ-สม-บัด คุน-สม-บัด ๒๔.โภชนาการ โพ-ชะ-นา-กาน โพด-ชะ-นา-กาน ๒๕.สมรรถภาพ สะ-มัด-ถะ-พาบ สะ-หมัด-ถะ-พาบ ชุดที่ ๒ ฝึกการอ่านออกเสียง ตัว ร ล โรงเรียน รุงรัง รำาไร รีบร้อน เรื่องราว รกร้าง รวดเร็ว รวนเร รบเร้า รับรอง รัดรูป เร่าร้อน โรคเรื้อน เรไร เรี่ยวแรง เรื้อรัง รบรา รวบรัด เรียบร้อย รื่นรมย์ รวยริน รุมล้อม รุ่นเล็ก เรียนลัด รักลูก รายล้อม รอยลบ โรงเหล้า เรือลอย รถลาก ระลึก รักเล่น รำาลึก โรงเลื่อย ร้องลั่น ราบลุ่ม รถเลื่อน เรียนเลิศ รอยล้อ รูปหล่อ เรียนเล่น ลมแรง เล่นแร่ ลูกรัก ลงเรือ ลมรัก ล่องเรือ ลำาเรือ ล่วงรู้ ลอดรั้ว ลบรอย ล้างรูป ล้อมรอบ ลูกเรือ ลางร้าย ลิดรอน ล้อรถ ลอบรัก เล่าเรียน หลายเรื่อง หลงรัก ๑. ที่โรงเลื่อยของเหล่าร้าย มีเหล้าโรงหลากหลายรส ๒. คนร้อยลิ้นร้องลำานำาเกี้ยวลูกเรือให้หลงรัก ๓. รุ่งโรจน์หลงรักรวยรื่นอย่างเหลือหลาย ๔. เพราะโรคร้ายรุมเร้าร่างกายเขาจึงโรยรา ๕. จงรีบเร่งทำางานอย่างรวดเร็วและให้เรียบร้อย ๖. สายลมเป็นหมอลำาเรื่องที่เลื่องลือไปทั้งลับแลเพราะมีลูกเล่น เหลือหลาย ๗. คิดอยากรวยทางลัด ริไปลักรถ ผลสุดท้ายเลยถูกรวบ ๘. รังรองเป็นคนเรรวนไม่ค่อยจะเรียบร้อย รักง่ายหน่ายเร็ว ๙. เมื่อรู้เรื่องคนร้ายตำารวจก็รีบรุดไปหาร่องรอย ๑๐. เจ้ารวยไปทำารุ่มร่ามกับแม่เรไร กำานันเรืองเลยออกโรงขับไล่ 21
  • 6. User โรงเรียนเรากำาลังเร่งยกฐานะ ถึงวาระได้รับรอง มาตรฐาน จะรีรออยู่อย่างไรมิได้การ เร่งเรียนรู้เร่งการ งานให้เสร็จพลัน การเล่าเรียนมากมวลล้วนหลายหลาก เรียนไม่ยากพูดฟัง ทั้งอ่านเขียน ครูรับรองไม่ลีลาถ้าพากเพียร จักเป็นเธียรคนเทิด ประเสริฐเอย ชุดที่ ๓ ฝึกอ่านคำา ควบกลำ้า  พรั่งพร้อม เพราะใคร กลั่นกรอง ครองแครง ขรุขระ พระสงฆ์ ตั้งตรง ครั้งคราว  กราบกราน โปรดปราน ปรักปรำา ปรับปรุง ครื้นเครง เคร่งครัด ครอบครัว ปลอดโปร่ง กลบเกลื่อน กลมกลิ้ง เกลี้ยกล่อม เกลียว คลื่น คลาดเคลื่อน  ปล่อยปลา เปลี่ยนแปลง คลุกคลาน เพลิดเพลิน คล่องแคล่ว  แกว่งไกว เก็บกวาด กว้างกว่า  ขัดขวาง คว้าขวาน ขวนขวาย  วัวควาย เคว้งคว้าง ควาญช้าง ความแค้น ขวัญ หาย ทันควัน ชุดที่ ๔ ฝึกอ่านความ เรียง ไหวพริบ-สิ่งอันเป็นที่ต้องการในทุก กรณี ละเอียด ศิลาน้อย 21
  • 7. User ในการเผชิญปัญหา ไม่ว่าปัญหาใด ๆ การเดินหน้าเข้าใส่อย่าง ตรง ๆ บางทีนอกจากไม่ได้ผลแล้วยังต้องเจ็บตัวฟรีอีกด้วย ในบางกรณี หรือส่วนมากแล้ว การใช้ไหวพริบเข้าจัดการอย่างมียุทธวิธีที่ดีจะ อำานวยผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจเสมอ ๆ แต่ที่แน่ ๆ เราต้องไม่เข้าจัดการกับ ปัญหาต่าง ๆ ด้วยอารมณ์ด้วยอำานาจของโทสะ ต้องละมุนละม่อมและ แยบคาย ดังประสบการณ์ของอาจารย์บังเกอิเป็นกรณีตัวอย่างหนึ่ง การเทศนาของอาจารย์บังเกอิมีผู้เข้าฟังมากมาย ไม่เฉพาะแต่ นักศึกษาเซนเท่านั้น หากแต่มีผู้ฟังมาจากทุกระดับชั้นยศและทุกนิกาย ท่านไม่เคยยกเอาข้อความในพระสูตรมาอ้าง อีกทั้งไม่ยอมถกเถียงเชิง วิชาการอะไรกับใครด้วย ตรงกันข้าม ถ้อยคำาของท่านพูดออกมาตรง ๆ จากใจของท่านสู่ใจของผู้ฟังทั้งหลายโดยตรงการที่อาจารย์บังเกอิมีผู้ฟัง เทศน์มาก ๆ เช่นนี้ทำาให้พระนิกายนิชิเรนโกรธมาก พระนิชิเรนผู้สำาคัญ ตน (คิดถึงแต่ตนเอง เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง) จึงได้มาที่วัดของอาจารย์ บังเกอิ ตั้งใจจะมาโต้วาทะกับอาจารย์บังเกอิให้จงได้ “เฮ้ อาจารย์เซน!” เขาตะโกนเรียก “รอเดี๋ยว คนที่เขาเลื่อมใสแก เขาจะเชื่อฟังแกทุกอย่าง แต่คนอย่างฉันไม่เลื่อมใสแกเลย แกจะทำาให้ ฉันเชื่อฟังแกได้ไหม?” “เข้ามาที่ข้าง ๆ ฉันซิ แล้วฉันจะแสดงให้ท่านดู” อาจารย์บังเกอิก ล่าวขึ้น อาจารย์บังเกอิยิ้มแล้วพูดขึ้น “เข้ามายืนทางซ้ายของฉันซิ” พระรูป นั้นก็ปฏิบัติตาม “ไม่เอา” อาจารย์บังเกอิกล่าวขึ้น “เราจะพูดคุยกันได้ดีกว่านี้ถ้า ท่านอยู่ด้านขวามือของฉัน ก้าวมายืนที่นี่ดีกว่า” พระรูปนั้นก้าวเดินอ้อมมายืนที่ด้านขวามือของท่านอาจารย์อย่าง กระหยิ่มใจ “ท่านเห็นแล้วใช่ไหม” อาจารย์บังเกอิกล่าวสรุป “ท่านเชื่อฟังฉัน และฉันก็คิดว่าท่านเป็นคนสุภาพมากคนหนึ่ง เอาละ ทีนี้นั่งลงฟังฉันได้ แล้ว” การปฏิบัติธรรมก็เหมือนกับการทำางานอื่น ๆ โดยทั่ว ๆ ไปนั่นแหละ เวลาใดที่ใจเราตกเราก็ต้อง “ยก” ใจของเราขึ้นมาบ้าง และเวลาใดที่ใจ เราฟุ้งซ่านมากเกินไปเราก็ต้องรู้จักข่มมันลงเสียบ้าง ทั้งนี้ก็ต้องด้วย “ไหว พริบ” ทั้งนั้น การอ่านออกเสียงบทร้อย กรอง 21
  • 8. User ความหมาย การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง หมายถึง การอ่านงานประพันธ์ ประเภท โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และร่าย ให้เป็นทำานองปกติธรรมดา หรือให้เป็นท่วงทำานองคล้ายบทเพลงหรือบทสวดมนต์ ซึ่งเรียกการอ่าน ประเภทนี้ว่า “ ”การอ่านทำานองเสนาะ คือเป็นการอ่านให้เป็นทำานองที่ ไพเราะ มีการเอื้อนเสียงสั้น ยาว สูง หรือตำ่า เป็นจังหวะ ลีลา และ ท่วงทำานองไปตามลักษณะบังคับของบทประพันธ์ ผู้อ่านต้องรู้จักวิธีการ ทอดเสียง เอื้อนเสียง มีลูกเล่น ลูกเก็บอย่างเป็นศิลปะ หลักการอ่านทำานองเสนาะ ๑. อ่านให้ถูกอักขรวิธี ๑.๑ ไม่อ่านผิดสระ ผิดพยัญชนะ หรือผิดวรรณยุกต์ ๑.๒ อ่านออกเสียงพยัญชนะ จ/ฉ/ช/ถ/ท/ช/ศ/ษ/ส/ร ให้ชัดเจน ๑.๓ ควรออกเสียงคำาควบกลำ้า และอ่านออกเสียง ร ล ให้ชัดเจน ๒. อ่านให้ถูกจังหวะ ๒.๑ ควรรู้จักฉันทลักษณ์ของคำาประพันธ์ที่จะอ่าน ๒.๒ การอ่านทำานองเสนาะจะเร่งจังหวะเร็วขึ้นเมื่ออ่านบทที่เกี่ยว กับการโกรธและลดจังหวะ ช้าลงเมื่ออ่านบทที่เกี่ยวกับความรัก หรือความเศร้า ความเจ็บปวด ๓. อ่านให้มีทำานอง ๓.๑ ควรรู้จักลีลาที่เป็นไปตามจังหวะหรือทำานองการออกเสียงของ คำาประพันธ์แต่ละประเภท ๓.๒ ควรอ่านทำานองคำาประพันธ์ให้พอเหมาะกับเสียงตน ๔. อ่านให้มีเสียงดัง ๔.๑ ควรอ่านทำานองเสนาะให้มีเสียงดังพอที่จะได้ยินทั่วกัน ๔.๒ ควรรู้จักอ่านให้ดังฟังให้ชัดเจน ให้เสียงสัมผัส จังหวะและ ทำานองที่อ่านกระทบหูและใจ ๕. อ่านให้มีอารมณ์ ๕.๑ ควรเข้าให้ถึงรสและตีความให้ได้ว่าเป็นรสรัก โศก ตื่นเต้น คึกคัก หรือเกลียดชัง แล้วอ่านให้นำ้าเสียง สอดคล้องกับรสหรืออารมณ์ นั้นๆ ๕.๒ ควรอ่านบทวรรณคดีให้มีสำาเนียง อารมณ์ หรือความรู้สึกที่แท้ จริงของกวี เพื่อให้ผู้ฟัง เข้าใจเนื้อเรื่องและรู้สึกเพลิดเพลินไปด้วย 21
  • 9. User แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรอง ประเภทโคลง โคลงโลกนิติ ผู้แต่ง: สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร ปลาร้าพันห่อด้วย ใบคา ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุ้ง คือคนหมู่ไปหา คบเพื่อน พาลนา ได้แต่รายร้ายฟุ้ง เฟื่องให้เสียพงศ์ นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย เลื้อยบ่ทำาเดโช แช่มช้า พิษน้อยหยิ่งโยโส แมลงป่อง ชูแต่หางเองอ้า อวดอ้างฤทธี เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์ เสียศักดิ์สู้ประสงค์ สิ่งรู้ เสียรู้เร่งดำารงความสัตย์ ไว้นา เสียสัตย์อย่าเสียสู้ ชีพม้วยมรณา พระสมุทรสุดลึกล้น คณนา สายดิ่งทิ้งทอดมา หยั่งได้ เขาสูงอาจวัดวา กำาหนด จิตมนุษย์นี้ไซร้ ยากแท้หยั่งถึง ก้านบัวบอกลึกตื้นชลธาร มรรยาทส่อสันดาน ชาติเชื้อ โฉดฉลาดเพราะคำาขาน ควรทราบ หย่อมญ่าเหี่ยวแห้งเรื้อ บอกร้ายแสลงดิน 21
  • 10. User โคลงสี่สุภาพ ความหมายของโคลง โคลง เป็นคำาประพันธ์แบบโบราณของไทย มีลักษณะบังคับคำาเอก คำาโท นิยมเล่นคำาสัมผัสอักษรเพื่อเน้นความหมายและความไพเราะ ซึ่ง แต่งกันแพร่หลายมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน ในการแต่งคำาประพันธ์ ทุกชนิด สิ่งที่ผู้แต่งควรให้ความสำาคัญได้แก่ คำาสัมผัส และฉันทลักษณ์หรือลักษณะบังคับของคำาประพันธ์ชนิดนั้น ๆ ลักษณะของคำาสัมผัส สัมผัส คือคำาลักษณะบังคับในด้านเสียงของถ้อยคำา และตำาแหน่งที่ อยู่ในวรรค ระหว่างวรรค หรือระหว่างบทของคำา แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ก. สัมผัสเกี่ยวกับเสียงของคำา แบ่งออกเป็น ๒ คือ ๑. สัมผัสสระ คือคำาที่มีเสียงสระคล้องจองกัน ประสมด้วยสระ เดียวกัน ถ้าเป็นคำาที่มีตัวสะกดต้องเป็นตัวสะกดในมาตราเดียวกัน ตัวอย่างเช่น มี : ดี ใจ : ใส บ้าน : นาน แก้ว : แมว ๒. สัมผัสอักษร คือคำาที่มีเสียงพยัญชนะเหมือนกันหรือคล้ายคลึง กัน ตัวอย่างคำาที่มีเสียงเหมือนกันหรือคล้ายกัน เช่น เสียง /ค/ ได้แก่ตัวอักษร ข ค ฆ เสียง /ย/ ได้แก่ตัว อักษร ย ญ เสียง /ช/ ได้แก่ตัวอักษร ช ฌ เสียง /ด/ ได้แก่ตัว อักษร ด ฎ เสียง /ซ/ ได้แก่ตัวอักษร ซ ษ ศ ส เสียง /ต/ ได้แก่ตัวอักษร ต ฏ เสียง /ท/ ได้แก่ตัวอักษร ถ ฐ ฑ ฒ ท ธ เสียง /น/ ได้แก่ตัว อักษร น ณ เสียง /พ/ ได้แก่ตัวอักษร พ ผ ภ เสียง /ล/ ได้แก่ตัว อักษร ล ฬ 21
  • 11. User เสียง /ฟ/ ได้แก่ตัวอักษร ฝ ฟ เสียง /ฮ/ ได้แก่ตัว อักษร ห ฮ ตัวอย่างเช่น ข้าว : คน ช้าง : ชอบ ญาติ : ย้าย ท้อง : ถิ่น ข. สัมผัสเกี่ยวกับตำาแหน่งของคำา แบ่งออกเป็น 2 คือ ๑. สัมผัสนอก คือสัมผัสที่อยู่ระหว่างวรรค หรือนอกวรรค หรือ ระหว่างบท คำาที่มาสัมผัสจะต้องเป็นคำาสัมผัสสระ ตัวอย่าง เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์ เสียศักดิ์สู้ประสงค์ สิ่งรู้ เสียรู้เร่งดำารง ความสัตย์ ไว้นา เสียสัตย์อย่าเสียสู้ ชีพม้วยมรณา ๒. สัมผัสใน คือสัมผัสที่อยู่ภายในวรรค คำาที่มาสัมผัสจะเป็นคำา สัมผัสสระหรือสัมผัสอักษรก็ได้ สัมผัสในไม่ใช่สัมผัสบังคับ แต่จะช่วยให้ บทร้อยกรองมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น ตัวอย่าง ใครรานใครรุกด้าว แดนไทย ไทยรบจนสุดใจ ขาดดิ้น เสียเนื้อเลือดหลั่งไหล ยอมสละ สิ้นแล เสียชีพไป่เสียสิ้น ชื่อก้องเกียรติงาม ฉันทลักษณ์ของโคลงสี่สุภาพ คณะ บทหนึ่งมี ๔ บาท บาทหนึ่งมี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ พยางค์ วรรคหนังมี ๒ พยางค์ ยกเว้นบาทที่ ๔ วรรคหลังมี ๔ พยางค์ วรรคหลังบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ สามารถเติมคำาสร้อยได้อีก ๒ พยางค์ สัมผัส ๑. คำาสุดท้ายของวรรคหลัง บาทที่ ๑ สัมผัสพยางค์สุดท้ายของ วรรคหน้า บาทที่ ๒ และ ๓ ๒. คำาสุดท้ายของวรรคหลัง บาทที่ ๒ สัมผัสพยางค์สุดท้ายของ วรรคหน้า บาทที่ ๔ คำาเอกคำาโท คำาเอก คือคำาที่มีรูปวรรณยุกต์เอกกำากับ หรืออาจใช้คำาตายแทน ได้ โคลงสี่สุภาพบังคำาเอก ๗ แห่ง ตัวอย่างเช่น 21
  • 12. User ต่าง แด่ แม่ นก บาตร ชอบ คำาเอกโทษ คือคำาที่โดยปกติใช้วรรณยุกต์อื่นแต่ทำาให้มีรูป วรรณยุกต์เอกในความหมายคำาเดิม ใช้เพื่อให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ เช่น คอยถ้า เป็น คอยท่า ขี้เถ้า เป็น ขี้เท่า เสื้อผ้า เป็น เสื้อพ่า คำาโท คำารูปวรรณยุกต์โทกำากับ โคลงสี่สุภาพบังคำาเอก ๔ แห่ง ตัวอย่างเช่น น้า น้อง สู้ ให้ ฟ้า แก้ว หญ้า คำาโทโทษ คือคำาที่โดยปกติใช้วรรณยุกต์อื่นแต่ทำาให้มีรูป วรรณยุกต์โทในความหมายคำาเดิม ใช้เพื่อให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ เช่น ฉันรักย่า เป็น ฉันรักหญ้า ของมีค่า เป็น ของมีข้า น่ารัก เป็น หน้ารัก คำาสร้อย คำาสร้อย ใช้เติมต่อในวรรคหลังบาที่ ๑ และ ๓ ซึ่งจะเติม หรือไม่ก็ได้ ไม่บังคับ ใช้ในกรณีที่ถ้อยคำาไม่จบกระแสความหรือ เน้นยำ้าให้เกิดอารมณ์ เช่น แลนา ฤาพ่อ นาแม่ตัวอย่างเช่น หากสยามยังอยู่ยั้ง ยืนยง เราก็เหมือนอยู่คง ชีพด้วย หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ได้ฤา เราก็เหมือนมอดม้วย หมดสิ้นสกุลไทย แผนผังโคลงสี่สุภาพ O O O เอก โท O O (O O) O เอก O O O O O O O เอก O O เอก โท (O O) 21
  • 13. User O เอก O O โท เอก โท O O ตัวอย่าง ให้ท่านท่านจักให้ ตอบสนอง นบท่านท่านจักปอง นอบไหว้ รักท่านท่านควรครอง ความรัก เรานา สามสิ่งนี้เว้นไว้ แต่ผู้ทรชน ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ ใบงานที่ ๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ๑. การอ่าน คือ................................................................................................... .................................................... ....................................................................................................... .........................................................................๒. การอ่านแบ่งตาม ลักษณะการใช้ และไม่ใช้เสียง มี ๒ ชนิด คือ......................................................................... 21
  • 14. User ....................................................................................................... ..........................................................................๓. การอ่านแบ่งตาม เจตนาในการอ่าน มี ๓ ชนิด คือ........................................................................................... ....................................................................................................... ..........................................................................๔. การอ่านแบ่งตาม ลักษณะการคิด มี ๓ ชนิด คือ.................................................................................................. ....................................................................................................... ..........................................................................๕. การอ่านออกเสียง คือ................................................................................................... ....................................... ....................................................................................................... .......................................................................... ๖. การอ่านออกเสียงมี......................ประเภท คือ................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................... ๗. หลักทั่วไปในการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว มีดังนี้ ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 21
  • 15. User ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ................................................................ คะแนนที่ได้....................................... ผู้ ตรวจ......................................................... ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ กิจกรรมที่ ๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ๑. แบบฝึกชุดที่ ๑ อ่านได้ถูกต้อง คำา ได้คะแนน ๒. แบบฝึกชุดที่ ๒ อ่านได้ถูกต้อง คำา ได้คะแนน ๓. แบบฝึกชุดที่ ๓ อ่านได้ถูกต้อง คำา ได้คะแนน ๔. แบบฝึกชุดที่ ๔ อ่านความเรียง รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (๕ ดีมาก (๔คะแ ดี (๓คะแ พอใช้ (๒คะแ ปรับป รุง 21
  • 16. User คะแน น) นน) นน) นน) (๑คะแ นน) ๑.เสียงดังฟังชัดเจน ๒.อ่านสะกดคำาถูกต้อง ๓.ออกเสียงตัว ร ล และคำา ควบกลำ้าถูกต้อง ๔.เน้นเสียงหนัก เบา และ แบ่งวรรคตอนถูกต้อง ๕.อ่านได้คล่องแคล่ว ไม่ อ่านตกหล่น หรือเพิ่มเติม คำา หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕ คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ คุณภาพ เกณฑ์ระดับคุณภาพ ลำา ดับ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง ๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้ ๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี ๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก ๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม 21
  • 17. User ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ ใบงานที่ ๒ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง ๑. การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง คือ................................................................................................... ................. ....................................................................................................... .......................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 21
  • 18. User ...............๒. การอ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธี มี ดังนี้................................................................................................. ............... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .............................................๓. การอ่านให้ถูกจังหวะ มี ดังนี้................................................................................................. .............................. ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .............................................๔. การอ่านให้ถูกทำานอง มี ดังนี้................................................................................................. .............................. ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .............................................๕. การอ่านให้มีเสียงดัง มี ดังนี้................................................................................................. ................................. ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .............................................๖. การอ่านให้มีอารมณ์ มี ดังนี้................................................................................................. ................................. ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 21
  • 19. User ....................................................................................................... ............. . คะแนนที่ได้....................................... ผู้ ตรวจ......................................................... ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ กิจกรรมที่ ๒ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ ๑. โคลงบทที่ ๑ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (๕คะแ นน) ดีมาก (๔คะแ นน) ดี (๓คะแ นน) พอใช้ (๒คะแ นน) ปรับป รุง (๑คะแ นน) ๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล และคำาควบกลำ้าถูกต้อง ๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ ท่วงทำานอง ๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง ฟังชัด ๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่ อ่าน ๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง คล่องแคล่ว ไม่ ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น 21
  • 20. User หรือเพิ่มเติมคำา หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕ คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ คุณภาพ เกณฑ์ระดับคุณภาพ ลำา ดับ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง ๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้ ๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี ๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก ๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ กิจกรรมที่ ๓ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ ๑. โคลงบทที่ ๒ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (๕คะแ นน) ดีมาก (๔คะแ นน) ดี (๓คะแ นน) พอใช้ (๒คะแ นน) ปรับป รุง (๑คะแ นน) ๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล และคำาควบกลำ้าถูกต้อง ๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ ท่วงทำานอง 21
  • 21. User ๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง ฟังชัด ๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่ อ่าน ๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง คล่องแคล่ว ไม่ ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น หรือเพิ่มเติมคำา หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕ คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ คุณภาพ เกณฑ์ระดับคุณภาพ ลำา ดับ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง ๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้ ๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี ๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก ๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ กิจกรรมที่ ๔ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ ๑. โคลงบทที่ ๓ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 21
  • 22. User ดีเยี่ยม (๕คะแ นน) ดีมาก (๔คะแ นน) ดี (๓คะแ นน) พอใช้ (๒คะแ นน) ปรับป รุง (๑คะแ นน) ๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล และคำาควบกลำ้าถูกต้อง ๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ ท่วงทำานอง ๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง ฟังชัด ๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่ อ่าน ๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง คล่องแคล่ว ไม่ ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น หรือเพิ่มเติมคำา หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕ คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ คุณภาพ เกณฑ์ระดับคุณภาพ ลำา ดับ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง ๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้ ๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี ๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก 21
  • 23. User ๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ กิจกรรมที่ ๕ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ ๑. โคลงบทที่ ๔ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (๕คะแ นน) ดีมาก (๔คะแ นน) ดี (๓คะแ นน) พอใช้ (๒คะแ นน) ปรับป รุง (๑คะแ นน) ๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล และคำาควบกลำ้าถูกต้อง ๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ ท่วงทำานอง ๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง ฟังชัด ๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่ อ่าน ๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง คล่องแคล่ว ไม่ ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น หรือเพิ่มเติมคำา หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕ คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ คุณภาพ 21
  • 24. User เกณฑ์ระดับคุณภาพ ลำา ดับ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง ๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้ ๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี ๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก ๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ กิจกรรมที่ ๖ การอ่านบทร้อยกรอง โคลงสี่สุภาพ ๑. โคลงบทที่ ๕ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (๕คะแ นน) ดีมาก (๔คะแ นน) ดี (๓คะแ นน) พอใช้ (๒คะแ นน) ปรับป รุง (๑คะแ นน) ๑.อ่านสะกดคำา อ่านคำาตัว ร ล และคำาควบกลำ้าถูกต้อง ๒.อ่านถูกต้องตามจังหวะและ ท่วงทำานอง ๓.นำ้าเสียงไพเราะและเสียงดัง ฟังชัด ๔.เปล่งนำ้าเสียงได้เหมาะสมกับ อารมณ์ของ บทร้อยกรองที่ อ่าน ๕.มีความมั่นใจ อ่านได้อย่าง คล่องแคล่ว ไม่ 21
  • 25. User ตะกุกตะกัก ไม่อ่านตกหล่น หรือเพิ่มเติมคำา หมายเหตุ : วิธีคิดคะแนนคือ รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด หารด้วย ๕ คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับ คุณภาพ เกณฑ์ระดับคุณภาพ ลำา ดับ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๑ ๑ – ๕ คะแนน ปรับปรุง ๒ ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้ ๓ ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี ๔ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดีมาก ๕ ๒๑ – ๒๕ คะแนน ดีเยี่ยม ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ ใบงานที่ ๓ คำาประพันธ์ประเภท โคลงสี่สุภาพ ๑. ความหมายของโคลง คือ................................................................................................... ................................. ....................................................................................................... .......................................................................... ๒. ลักษณะการสัมผัส มี...............แบบ คือ................................................................................................... .......... 21
  • 26. User ๓. สัมผัสสระ คือ................................................................................................... .................................................. ๔. สัมผัสอักษร คือ................................................................................................... ................................................ ๕. สัมผัสนอก คือ................................................................................................... ................................................ ๖. สัมผัสใน คือ................................................................................................... .................................................... ๗. คณะของโคลง มี ดังนี้................................................................................................. ........................................ ....................................................................................................... ..........................................................................๘.สัมผัสของโคลง มี ดังนี้................................................................................................. ....................................................................................................... ....................................................................................................... ............................................... ๙.คำาเอก คือ................................................................................................... ..........................................................๑๐.คำาเอกโทษ คือ................................................................................................... ................................................๑๑.คำาโท คือ................................................................................................... ........................................................๑๒.คำาโทโทษ คือ................................................................................................... .................................................๑๓.คำาสร้อย คือ................................................................................................... ...................................................๑๔.แผนผังของโคลง มี 21
  • 27. User ดังนี้................................................................................................. .................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ................ ๕.ตัวอย่างโคลงสี่ สุภาพ............................................................................................... ............................................. ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ................ . คะแนนที่ได้....................................... ผู้ ตรวจ......................................................... ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น........................เลข ที่............. วันที่ปฏิบัติ........................................ กิจกรรมที่ ๕ ฝึกแต่งคำาประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ ๑. ฉันอยากเขียนเรื่องเกี่ยวกับ ๒. ฉันรวบรวมข้อมูลได้ดังนี้ 21
  • 28. User ๓. ฉันนำามาร้อยเรียง เป็นโคลงสี่สุภาพ ได้ดังนี้ ชื่อ เรื่อง..................................................... คะแนนที่ได้....................................... ผู้ ตรวจ......................................................... 21