SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร 6
ปการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคไบโพลาร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นายศัจกร สุติวงษ์ เลขที่ 1ชั้น ม.6ห้อง5
2.นายพัทธดนย์ ซ่ามยอง เลขที่ 38ชั้น ม.6ห้อง5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
2
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปการศึกษา
2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายศัจกร สุติวงษ์ เลขที่1 2.นายพัทธดนย์ ซ่ามยอง เลขที่ 38
3
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคไบโพลาร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Bipolar
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายศัจกร สุติวงษ์ นายพัทธดนย์ ซ่ามยอง
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เป็นโรคที่มีอาการผิดปกติที่สาคัญทางอารมณ์ 2 แบบ คือ ภาวะแมเนีย และภาวะ ซึมเศร้า จึงเคยถูกเรียกว่า
Manic- depressive disorder ความเจ็บป่วยทางอารมณ์ทั้ง 2 แบบนั้นรุนแรง ไม่ใช่อารมณ์ปกติ แต่เป็นการ
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจนรบกวน การทางานของจิตใจและความสามารถด้านต่าง ๆ และมีการเปลี่ยนแปลงทาง
ชีวภาพของสมอง ภาวะโรคจะครอบงาบุคคลนั้น จนทาให้สูญเสียความเป็นคนเดิมไป
ภาวะซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ทั้งใน โรคไบโพล่าร์ และโรคอารมณ์เศร้า (Major depressive disorder หรือ Unipolar
depression) แต่ในโรคไบโพล่าร์จะรุนแรงกว่า มีการสูญเสียความสามารถในการทางาน สังคม และครอบครัว
ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นเหตุที่ทาให้ผู้ทาโครงงานเลือกหัวข้อนี้เพราะสามารถให้ผู้ที่ต้องการศึกษาได้ศึกษาแล้วจะรู้
อาการของโรคไบโพลาร์
4
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาอาการของโรคไบโพลาร์
2.เพื่อทราบวิธีการลดอัตราเสี่ยงของโรคไบโพลาร์
3.เพื่อศึกษาผลเสียของโรคไบโพลาร์
4.เพื่อศึกษาวิธีรักษาอาการไบโพลาร์
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาอาการของโรคไบโพลาร์และศึกษาการลดอัตราเสี่ยง ผลเสีย และวิธีรักษาอาการของไบโพลาร์โดยมี
ข้อจากัดคือไม่สามารถทดลองด้วยตนเองได้เลยต้องศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
หลักการและทฤษฎี
นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ และผศ. นพ.สเปญ อุ่นอนงค์ได้อธิบายเกี่ยวกับอาการไบโพลาร์ว่า คนที่มีอาการ
ไบโพลาร์นั้น จะอารมณ์ดีในลักษณะที่ผิดปกติ เรียกว่า mania หมายถึงอารมณ์ดีมากเกินกว่าปกติที่ควรจะเป็น
และมักจะไม่มีเหตุผลหรือไม่สมเหตุสมผล ช่วงที่มีอารมณ์ดีจะช่างพูดช่างคุย คุยได้ไม่หยุด และไม่ชอบให้ใครมา
ขัดจะเกิดอารมณ์หงุดหงิด บางคนอารมณ์ดีจนกระทั่งตัดสินใจในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง แต่ถ้าอารมณ์ร้ายขึ้นมาเมื่อไร ก็
ถึงขั้นใช้อารมณ์ก้าวร้าวได้ เรียกว่าเปลี่ยนไปเป็นคนละคน ซึ่งอาจทาให้มีปัญหากระทบกระเทือนต่อหน้าที่การ
งาน และการใช้ชีวิตประจาวันได้เลย ผู้ป่วยบางคนจะมีปัญหาไม่ยอมหลับยอมนอน ตอนกลางคืน อยากเที่ยว
กลางคืน ใช้จ่ายเงินมาก มีอารมณ์ทางเพศมากขึ้น สาส่อนทางเพศ ถ้าอาการนี้เริ่มเป็นมาตั้งแต่ช่วงวัยรุ่น อาจทา
ให้ผู้ป่วยไม่มีสมาธิในการเรียน ผลการเรียนตกลง มีปัญหาทางพฤติกรรม ทะเลาะกับเพื่อนฝูง ครูอาจารย์ รู้สึก
อยากไปเที่ยวกลางคืน ออกไปเตร็ดเตร่ ซึ่งถ้าพ่อแม่ไม่ได้ดูแลเอาใจใส่ลูกอย่างใกล้ชิดก็จะไม่รู้สึกถึงความผิดปกติ
เลย อย่างไรก็ตาม อาการของโรคไบโพลาร์ไม่จาเป็นต้องสลับกับช่วงซึมเศร้า บางคนเป็นโรคนี้อยู่ช่วงหนึ่ง อาจจะ
ประมาณ 4-6 เดือนก็สามารถกลับคืนเป็นปกติได้เองโดยไม่ต้องรักษา ทาให้คนรอบข้างไม่รู้สึกว่าเป็นปัญหาถ้าไม่
สังเกตอย่างใกล้ชิด เมื่อเป็นปกติแล้วเขาจะดาเนินชีวิตได้ปกติ พอถึงช่วงหนึ่งจะรื่นเริงอีก หรืออาจจะสลับไปขั้ว
ตรงข้าม เป็นแบบซึมเศร้า อาการก็จะเริ่มตั้งแต่แยกตัว เบื่อหน่าย ไม่อยากทาอะไร กินไม่ได้ นอนไม่หลับ เบื่อ ๆ
เข้าก็รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่า ที่สาคัญที่สุดคือการฆ่าตัวตาย
วิธีการรักษา 1. ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางานได้อย่างปกติ เรียกชื่อ
กลุ่มยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัวที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการ
นี้ได้ ช่วงระยะการรักษาช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมาเป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรืออย่างช้า
1 เดือน หลังจากนั้นจะเป็นการรักษาต่อเนื่อง อาจต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับอาการคนไข้
เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจมาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด
5
2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็น
ระยะเวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็น ๆ หาย ๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้ องกันได้ทั้งอาการ mania และอาการ
ซึมเศร้า ยาอื่น ๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate
3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine และ
ziprasidone อย่างไรก็ตาม สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็
ต้องดาเนินชีวิตในทางสายกลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธี
แก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่าใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อโครงงาน
2.วางแผนการดาเนินงานศึกษข้อมูล
3.ทาแบบโครงงาน
4.นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
ใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอาการไบโพลาร์
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / คณะ
ผู้จัดทา
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
/ / / / คณะ
ผู้จัดทา
3 จัดทาโครงร่าง / / / / / คณะ
6
งาน ผู้จัดทา
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
/ / / / / คณะ
ผู้จัดทา
5 ปรับปรุงทดสอบ / / คณะ
ผู้จัดทา
6 การทา
เอกสารรายงาน
/ / / คณะ
ผู้จัดทา
7 ประเมินผลงาน / / คณะ
ผู้จัดทา
8 นาเสนอโครงงาน / / คณะ
ผู้จัดทา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คาดว่าจะสามารถให้ความรู้แก่คนที่อยากศึกษาอาการของโรคไบโพลาร์ ผลเสียของอาการไบโพลาร์และวิธีรักษา
อาการของโรคไบโพลาร์
สถานที่ดาเนินการ
บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชีววิทยาและสุขศึกษา
7
แหล่งอ้างอิง
https://maiengja125yrc.blogspot.com/2018/02/blog-
post_6.html?spref=fb
สืบค้น เมื่อ28มกราคม 2561
https://www.sanook.com/health/2501/สืบค้น เมื่อ28มกราคม
2561
http://www.manarom.com/article-detail.php?id=94สืบค้น เมื่อ
28มกราคม 2561

More Related Content

What's hot

2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawisthayawistha
 
2558 project-com605
2558 project-com6052558 project-com605
2558 project-com605eve2312
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1Nuttida Meepo
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Raull Moksaeng
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30ssuserb03cca
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานN'Nat S'Sasitron
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันOporfunJubJub
 
Aratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolAratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolTangJetsada
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรมThanakorn Intrarat
 

What's hot (20)

Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha
 
5
55
5
 
Jj
JjJj
Jj
 
2558 project-com605
2558 project-com6052558 project-com605
2558 project-com605
 
2560 project 2
2560 project 22560 project 2
2560 project 2
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.
 
Work
WorkWork
Work
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
2561 project 04
2561 project 042561 project 04
2561 project 04
 
Aratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolAratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkol
 
ห้องน้ำ
ห้องน้ำห้องน้ำ
ห้องน้ำ
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
Work1
Work1Work1
Work1
 

Similar to Bipolar

2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5Chanin Monkai
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project jetaimej_
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sorrawit Skuljareun
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดApiwitKaewko
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดApiwitKaewko
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)rungthiwa_
 
ตอง
ตองตอง
ตองxQler
 
ล้างจานสุดคูล
ล้างจานสุดคูลล้างจานสุดคูล
ล้างจานสุดคูลThin Kanshaman
 
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยการเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยFigo Surakiart
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมVitchda Samaket
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์NatpaphatYRC
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานjutamart muemsittiprae
 
Thai Unemployed
Thai UnemployedThai Unemployed
Thai Unemployedsiradamew
 
โครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นโครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นchris stephen
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 

Similar to Bipolar (20)

2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Cumkeaw
CumkeawCumkeaw
Cumkeaw
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูด
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูด
 
ล้างจานสุดคูล
ล้างจานสุดคูลล้างจานสุดคูล
ล้างจานสุดคูล
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
 
ตอง
ตองตอง
ตอง
 
ล้างจานสุดคูล
ล้างจานสุดคูลล้างจานสุดคูล
ล้างจานสุดคูล
 
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยการเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Thai Unemployed
Thai UnemployedThai Unemployed
Thai Unemployed
 
โครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นโครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้น
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 

Bipolar

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 6 ปการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคไบโพลาร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นายศัจกร สุติวงษ์ เลขที่ 1ชั้น ม.6ห้อง5 2.นายพัทธดนย์ ซ่ามยอง เลขที่ 38ชั้น ม.6ห้อง5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
  • 2. 2 ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายศัจกร สุติวงษ์ เลขที่1 2.นายพัทธดนย์ ซ่ามยอง เลขที่ 38
  • 3. 3 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคไบโพลาร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Bipolar ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายศัจกร สุติวงษ์ นายพัทธดนย์ ซ่ามยอง ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เป็นโรคที่มีอาการผิดปกติที่สาคัญทางอารมณ์ 2 แบบ คือ ภาวะแมเนีย และภาวะ ซึมเศร้า จึงเคยถูกเรียกว่า Manic- depressive disorder ความเจ็บป่วยทางอารมณ์ทั้ง 2 แบบนั้นรุนแรง ไม่ใช่อารมณ์ปกติ แต่เป็นการ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจนรบกวน การทางานของจิตใจและความสามารถด้านต่าง ๆ และมีการเปลี่ยนแปลงทาง ชีวภาพของสมอง ภาวะโรคจะครอบงาบุคคลนั้น จนทาให้สูญเสียความเป็นคนเดิมไป ภาวะซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ทั้งใน โรคไบโพล่าร์ และโรคอารมณ์เศร้า (Major depressive disorder หรือ Unipolar depression) แต่ในโรคไบโพล่าร์จะรุนแรงกว่า มีการสูญเสียความสามารถในการทางาน สังคม และครอบครัว ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นเหตุที่ทาให้ผู้ทาโครงงานเลือกหัวข้อนี้เพราะสามารถให้ผู้ที่ต้องการศึกษาได้ศึกษาแล้วจะรู้ อาการของโรคไบโพลาร์
  • 4. 4 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาอาการของโรคไบโพลาร์ 2.เพื่อทราบวิธีการลดอัตราเสี่ยงของโรคไบโพลาร์ 3.เพื่อศึกษาผลเสียของโรคไบโพลาร์ 4.เพื่อศึกษาวิธีรักษาอาการไบโพลาร์ ขอบเขตโครงงาน ศึกษาอาการของโรคไบโพลาร์และศึกษาการลดอัตราเสี่ยง ผลเสีย และวิธีรักษาอาการของไบโพลาร์โดยมี ข้อจากัดคือไม่สามารถทดลองด้วยตนเองได้เลยต้องศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต หลักการและทฤษฎี นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ และผศ. นพ.สเปญ อุ่นอนงค์ได้อธิบายเกี่ยวกับอาการไบโพลาร์ว่า คนที่มีอาการ ไบโพลาร์นั้น จะอารมณ์ดีในลักษณะที่ผิดปกติ เรียกว่า mania หมายถึงอารมณ์ดีมากเกินกว่าปกติที่ควรจะเป็น และมักจะไม่มีเหตุผลหรือไม่สมเหตุสมผล ช่วงที่มีอารมณ์ดีจะช่างพูดช่างคุย คุยได้ไม่หยุด และไม่ชอบให้ใครมา ขัดจะเกิดอารมณ์หงุดหงิด บางคนอารมณ์ดีจนกระทั่งตัดสินใจในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง แต่ถ้าอารมณ์ร้ายขึ้นมาเมื่อไร ก็ ถึงขั้นใช้อารมณ์ก้าวร้าวได้ เรียกว่าเปลี่ยนไปเป็นคนละคน ซึ่งอาจทาให้มีปัญหากระทบกระเทือนต่อหน้าที่การ งาน และการใช้ชีวิตประจาวันได้เลย ผู้ป่วยบางคนจะมีปัญหาไม่ยอมหลับยอมนอน ตอนกลางคืน อยากเที่ยว กลางคืน ใช้จ่ายเงินมาก มีอารมณ์ทางเพศมากขึ้น สาส่อนทางเพศ ถ้าอาการนี้เริ่มเป็นมาตั้งแต่ช่วงวัยรุ่น อาจทา ให้ผู้ป่วยไม่มีสมาธิในการเรียน ผลการเรียนตกลง มีปัญหาทางพฤติกรรม ทะเลาะกับเพื่อนฝูง ครูอาจารย์ รู้สึก อยากไปเที่ยวกลางคืน ออกไปเตร็ดเตร่ ซึ่งถ้าพ่อแม่ไม่ได้ดูแลเอาใจใส่ลูกอย่างใกล้ชิดก็จะไม่รู้สึกถึงความผิดปกติ เลย อย่างไรก็ตาม อาการของโรคไบโพลาร์ไม่จาเป็นต้องสลับกับช่วงซึมเศร้า บางคนเป็นโรคนี้อยู่ช่วงหนึ่ง อาจจะ ประมาณ 4-6 เดือนก็สามารถกลับคืนเป็นปกติได้เองโดยไม่ต้องรักษา ทาให้คนรอบข้างไม่รู้สึกว่าเป็นปัญหาถ้าไม่ สังเกตอย่างใกล้ชิด เมื่อเป็นปกติแล้วเขาจะดาเนินชีวิตได้ปกติ พอถึงช่วงหนึ่งจะรื่นเริงอีก หรืออาจจะสลับไปขั้ว ตรงข้าม เป็นแบบซึมเศร้า อาการก็จะเริ่มตั้งแต่แยกตัว เบื่อหน่าย ไม่อยากทาอะไร กินไม่ได้ นอนไม่หลับ เบื่อ ๆ เข้าก็รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่า ที่สาคัญที่สุดคือการฆ่าตัวตาย วิธีการรักษา 1. ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางานได้อย่างปกติ เรียกชื่อ กลุ่มยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัวที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการ นี้ได้ ช่วงระยะการรักษาช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมาเป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรืออย่างช้า 1 เดือน หลังจากนั้นจะเป็นการรักษาต่อเนื่อง อาจต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับอาการคนไข้ เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจมาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด
  • 5. 5 2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็น ระยะเวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็น ๆ หาย ๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้ องกันได้ทั้งอาการ mania และอาการ ซึมเศร้า ยาอื่น ๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate 3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine และ ziprasidone อย่างไรก็ตาม สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ ต้องดาเนินชีวิตในทางสายกลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธี แก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่าใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อโครงงาน 2.วางแผนการดาเนินงานศึกษข้อมูล 3.ทาแบบโครงงาน 4.นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอาการไบโพลาร์ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / คณะ ผู้จัดทา 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล / / / / คณะ ผู้จัดทา 3 จัดทาโครงร่าง / / / / / คณะ
  • 6. 6 งาน ผู้จัดทา 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน / / / / / คณะ ผู้จัดทา 5 ปรับปรุงทดสอบ / / คณะ ผู้จัดทา 6 การทา เอกสารรายงาน / / / คณะ ผู้จัดทา 7 ประเมินผลงาน / / คณะ ผู้จัดทา 8 นาเสนอโครงงาน / / คณะ ผู้จัดทา ผลที่คาดว่าจะได้รับ คาดว่าจะสามารถให้ความรู้แก่คนที่อยากศึกษาอาการของโรคไบโพลาร์ ผลเสียของอาการไบโพลาร์และวิธีรักษา อาการของโรคไบโพลาร์ สถานที่ดาเนินการ บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชีววิทยาและสุขศึกษา
  • 7. 7 แหล่งอ้างอิง https://maiengja125yrc.blogspot.com/2018/02/blog- post_6.html?spref=fb สืบค้น เมื่อ28มกราคม 2561 https://www.sanook.com/health/2501/สืบค้น เมื่อ28มกราคม 2561 http://www.manarom.com/article-detail.php?id=94สืบค้น เมื่อ 28มกราคม 2561