SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
ปัญหาจากการพัฒนาอุตสาหกรรมทีมาบตาพุดและ
                            ่
 กระบวนการกาหนดแนวทางการพัฒนาในอนาคต
                                      ศุภกิจ นันทะวรการ
                                   มูลนิธินโยบายสุ ขภาวะ

   การลงพื้นที่มาบตาพุดของนักศึกษา คณะบริ หารธุรกิจฯ มธ.
   วันที่ 26 กันยายน 2553 ห้องประชุม เทศบาลเมืองมาบตาพุด
ระยองกับการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด
                                   ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมภายในจ ังหว ัดระยอง ณ ราคาคงที่ ปี พ.ศ. 2531


          ฿250,000




          ฿200,000




          ฿150,000


ล้านบาท                                                                                                          การค ้าและบริการ
                                                                                                                 อุตสาหกรรมและเหมืองแร่
          ฿100,000                                                                                               เกษตร




           ฿50,000




               ฿0
                     2524   2526   2528   2530   2532   2534   2536    2538   2540   2542   2544   2546   2548
                                                                  ปี
นิคมอุตสาหกรรมทีใหญ่ ทสุดในประเทศไทย
                    ่     ี่




3
การขยายพืนทีอุตสาหกรรม (สีม่วง) เข้ าไปสู่ พนทีกนชนและเขตชุมชน
         ้ ่                                ื้ ่ ั

                       1                                 2




                                           3
พืนที่อตสาหกรรมตามผังเมืองฯ ฉบับปัจจุบน
     ้ ุ                                 ั
ซึ่งทับซ้อนกับพืนที่ชมชนต่างๆ (ภาพโดยประมาณ)
                ้ ุ
บริษัทคอนซัลแทนท์ ออฟ เทคโนโลยี จำกัด, 2553   26
การจัดทาพืนทีกนชน (Buffer Zone) ในต่ างประเทศ
          ้ ่ั
ปัญหาผังเมือง
กฎหมายควบคุมอาคาร: สถานที่ผลิตวัตถุอนตรายต้องไม่ อยู่ในระยะ
                                       ั
 100 เมตรจากสาธารณสถาน เช่น วัด โรงเรี ยน โรงพยาบาล
อุตสาหกรรมมาบตาพุด มีการใช้
ไวนิ ล คลอไรด์ 610,000 ตันต่อปี
เบนซีน ซึ่งเป็ นผลิตภัณฑ์ขนต้น
                           ั้
 มากกว่า 300,000 ตันต่อปี
เอทิ ลีน ไดคลอไรด์ (EDC)
 มากกว่า 250,000 ตันต่อปี
ใช้ตวทาละลาย เช่น เฮกแซน
      ั
 มากกว่า 2,000,000 ลิตรต่อปี
สารอินทรียระเหย
              ์                      สารก่อ ผลกระทบต่อสุขภาพหากได้รบสารดังกล่าว
                                                                              ั
         ง่าย                        มะเร็ง*
  เบนซีน                              กลุ่ม 1 ทาลายไขกระดูก เม็ดเลือดแดงแตก โรคโลหิตจาง
                                                  กดระบบประสาทส่วนกลาง
  ไวนีลเอทิลน
            ี                        กลุม 2A อันตรายต่อระบบประสาท หลอดเลือด กระเพาะ
                                        ่
                                                  อาหาร เพิมความเสียงมะเร็งเม็ดเลือดขาว
                                                           ่       ่
  เอทธิลน ไดคลอไรด์
         ี                           กลุม 2B เพิมความเสียงต่อการเกิดมะเร็ง
                                          ่     ่        ่
  1,1 - ไดคลอโรเอทธิ                  กลุม 3 อันตรายต่อตับ ไต และตัวอ่อน (fetus)
                                            ่
     ลีน
  ไวนีลคลอไรด์                        กลุม 1 อันตรายต่อตับ ระบบประสาท เพิมความเสียงมะเร็ง
                                         ่                               ่       ่
*IARC: International Agency for Research on Cancer ได้จาแนกประเภทสารทีก่อให้เกิดมะเร็งเป็ น 4 กลุม ดังนี้
                                                                            ่                        ่
กลุม 1
    ่        เป็ นสารก่อมะเร็งแก่มนุ ษย์ (carcinogenic to humans)
กลุม 2A
      ่      เป็ นสารทีเป็นไปได้มากว่าจะก่อมะเร็งในมนุ ษย์ (probably carcinogenic to humans)
                       ่
กลุม 2B ่    เป็ นสารทีอาจก่อมะเร็งในมนุ ษย์ (possibly carcinogenic to humans)
                         ่
ทีมา: ดัดแปลงจาก “สารอินทรียระเหยง่าย (Volatile Organic Substances) ในน้ าใต้ดน” [http://infofile.pcd.go.th/haz/haz_VOCs.pdf]
  ่                           ์                                                 ิ
ความล่าช้าและช่องโหว่ของการตัดสินใจเรื่อง
ศักยภาพการรองรับมลพิษ (Carrying Capacity)
    มติ คกก.สวล.แห่งชาติ       การดาเนินการจริง โครงการที่อนุมติ
                                                              ั
       ครังที่ ๔/๒๕๔๑
          ้                                         เพิ่มขึน
                                                           ้
 ให้ประเมินผลกระทบคุณภาพ ๒๕๔๑ - ๔๓ วาง             อย่างน้อย ๑๑
 อากาศ ให้แล้วเสร็จใน ๖ เดือน แนวทางการศึกษา         โครงการ
 ให้การนิคมฯดาเนินการ          ๒๕๔๔ - ๔๕ จัดจ้าง   ประมาณ ๕๐
 มาตรการต่างๆ ให้แล้วเสร็จ     และดาเนินการศึกษา    โครงการ
 ภายใน ๑ ปี
 ให้ กท.วิทย์ฯ ประเมินภาพรวม   ๒๕๔๖ -ปัจจุบน
                                           ั       ประมาณ ๑๐๐
 ของศักยภาพการรองรับมลพิษ      ปรับแก้ผล             โครงการ
                               การศึกษา
การเมืองเรื่องมลพิษ
...สิบปี แล้ว ยังสรุปไม่ได้ ยังต้องศึกษาเพิ่มเติมอีก...
    มติ คกก.สวล.แห่งชาติ
                                  การดาเนินการจริง
         ม.ค. ๒๕๕๐
   แบบจาลองยังไม่มความ  กนอ. กาลังเก็บข้อมูล คาดว่า จะ
                    ี
   ถูกต้องและแม่นยา        แล้วเสร็จในเดือน ก.ย. ๒๕๕๑
   ให้ การนิคมอุตสาหกรรม  หลังจากนัน จะส่งข้อมูลให้กรม
                                     ้
   ฯ ปรับปรุงข้อมูลนาเข้า  ควบคุมมลพิษ วิเคราะห์แบบจาลอง
   ภายใน ๑ ปี              ซึงยังไม่ทราบว่า จะสรุปผลได้เมือไร
                             ่                           ่
ข้ อมูลผลการศึกษาจากงานวิจยล่าสุ ด
                          ั
 - มีโลหะหนักปนเปื้ อนในอาหารทะเล (สุ นนทา โอศิริ, 2552)
                                             ั
   - โลหะหนักมีผลต่อการพัฒนาของทารกในครรภ์ โดยการ
      ่
   อยูอาศัยใกล้-ไกลจากนิคมอุตสาหกรรม มีความแตกต่าง
   ของปั ญหาอย่างชัดเจน (นันทวรรณ วิจิตรวาทการ, 2553)
                                          ั
   - ข้อเสนอของ คกก.สี่ ฝ่าย ให้มีพ้ืนที่กนชน 2,000 เมตร
   - แต่อุตสาหกรรมขยายมาจนติดชิดกับหลายชุมชน
   - มีความเสี่ ยงและได้รับผลกระทบจากอุบติภยสารเคมีอีก
                                            ั ั
...จากเศรษฐกิจสามขา สู่เศรษฐกิจขาเดียว...
            ผล ิตภ ัณฑ ์มวลรวมจ ังหว ัดป 2524 (ทราคาคงทป 2531) - ล ้านบาท
                                        ี       ี่     ี่ ี




    3,309
    36%
                                                       3,249
                                                       35%
                                                                 พ.ศ.๒๕๒๔
                                                                                   เกษตร
                                                                                   อุตสาหกรรมและเหมืองแร่
                                                                                   การคาและบริการ
                                                                                        ้




                              2,640
                              29%
                                                                 ผล ิตภ ัณฑ ์มวลรวมจ ังหว ัด ป 2549 (ทราคาคงทป 2531)-ล ้านบาท
                                                                                              ี       ี่     ี่ ี




                                                                                                                  พ.ศ.๒๕๔๙
                                                                                    5,979
                                                                                     3%
                                                                40,842
                                                                 18%




                                                                                                                                เกษตร
                                                                                                                                อุตสาหกรรมและเหมืองแร่
                                                                                                                                การคาและบริการ
                                                                                                                                     ้




                                                                                                 185,066
                                                                                                  79%
เศรษฐกิจขาเดียวยังลงไปไม่ถึงฐานราก
               ตัวชี้วด ั         ระยอง นครปฐม ทังประเทศ
                                                 ้
ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัวปี 2547     691,093 121,381 101,304
(บาท/คน/ปี )
รายได้ต่อครัวเรือน (บาท/เดือน)    21,083 20,478    14,778
ครัวเรือนที่มีหนี้ สิน (ร้อยละ)    66.0    65.2     66.4
สัดส่วนคนจน (ร้อยละ)               5.60    2.36    11.25
อัตราการว่างงาน (ร้อยละ)           1.8     0.5      1.3
อันดับความก้าวหน้ าของด้านรายได้    24      12        -
ภาษี ที่หายไป
การลงทุนด้านสังคมมีเพียงน้ อยนิด
                        ้ ่                              ั
                       สดสว นของผลิตภ ัณฑ์มวลรวมภาคสงคมต่อ
                ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมจ ังหว ัดของจ ังหว ัดระยองและนครปฐม

         7.00

         6.00

         5.00

         4.00
ร้อยละ




                                                                             ระยอง
         3.00                                                                นครปฐม

         2.00

         1.00

          -
                2541   2542   2543   2544        2545   2546   2547   2548
                                            ปี
เด็กระยองคืออนาคตของระยอง
                      ตัวชี้วด
                             ั                   ระยอง   นครปฐม ทังประเทศ
                                                                  ้
อัตราเด็กที่มาทาคลอดต่อประชากรแสนคน
                                                ๔,๗๔๓.๗๐ ๗๙.๕๘   ๑,๙๓๒.๖๔
(๑๕-๑๙ ปี )
อัตราเด็กอายุตากว่า ๑๘ ปี ถูกล่วงละเมิดทางเพศ
               ่
                                                 ๔๘.๓๙   ๑๗.๑๑    ๓๑.๓๒
(ต่อประชากรแสนคน)
ร้อยละของเด็กที่มีเพศสัมพันธ์แล้ว (อาชีวะ)       ๔๘.๙๖   ๑๑.๙๘    ๒๗.๗๔
ร้อยละของเด็กคิดทาศัลยกรรม (ม.ปลาย)              ๑๗.๐๙    ๙.๘๖    ๑๖.๘๘
อัตราเด็กพยายามฆ่าตัวตาย (ต่อประชากรแสนคน)      ๒๙๙.๖๑   ๓๔.๓๑    ๓๓.๙๘
อัตราเด็กติดเชื้อ HIV (ต่อประชากรแสนคน)          ๒๑.๔๖    ๐.๘๗     ๙.๘๒
อัตราเด็กได้รบผลกระทบจาก HIV
             ั
                                                 ๔๑.๔๙    ๗.๙๑    ๓๙.๒๖
(ต่อประชากรแสนคน)
อัตราเด็กที่เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์
                                                 ๖๓.๖๑    ๖.๘๕    ๒๘.๕๙
(ต่อประชากรแสนคน)
ทางเลือกอนาคตระยอง

ทิศทางการพัฒนาในอนาคต?
แผนพัฒนาในสายตาของรัฐ

แผนแม่บทอุตสาหกรรมปิโตรเคมีระยะที่ 3
          พ.ศ. 2547 - 2561
แผนแม่บทอุตสาหกรรมปิโตรเคมีระยะที่ ๓
พ.ศ. 2547 - 2561
การก่อสร้างโรงงานปิโตรเคมีขนาดใหญ่ ๕๖ โครงการ
ขยายพืนที่อตสาหกรรมในพืนที่มาบตาพุดและใกล้เคียง
       ้ ุ                   ้
 ๓,๐๐๐ ไร่
การลงทุน ๔๐๐,๐๐๐ ล้านบาท
คาดว่าจะสร้างรายได้เพิ่มขึนปี ละ ๒๖๐,๐๐๐ ล้านบาท
                           ้
คาดว่าจะเกิดการจ้างงาน ๑๖๒,๔๐๐ คน
การเกษตร: ไม่ตายแต่ไม่โต
                   ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมจ ังหว ัดระยองด้านการเพาะปลูและประมง ณ ราคาคงทีปี 2531
                                                                                  ่

          ฿4,500


          ฿4,000


          ฿3,500


          ฿3,000


          ฿2,500
ล้านบาท




                                                                                            เพาะปลูกพืช
                                                                                            ประมง
          ฿2,000


          ฿1,500


          ฿1,000


           ฿500


             ฿0
                24

                25

                26

                27

                28

                29

                30

                31

                32

                33

                34

                35

                36

                37

                38

                39

                40

                41

                42

                43

                44

                45

                46

                47

                48

                49
              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25

              25
                                                   ปี
อุตสาหกรรมต้ องพึงพาการนาเข้ าสู ง
                 ่
ลงทุน 100 ล้ านบาท จ่ ายนาเข้ าจากต่ างประเทศ 40-50 ล้ านบาท
                                            สัดส่วนวัตถุดิบนาเข้า (%)

  อุตสาหกรรมการกลันน้ามันสาเร็จรูป
                     ่                                50.7
  อุตสาหกรรมเคมีภณฑ์
                   ั                                  39.6
  อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้ าและส่วนประกอบ             64.2
  อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เหล็กและเหล็กกล้า                40.7
  อุตสาหกรรมพลาสติก                                   25.8
  อุตสาหกรรมไม้และเฟอร์นิเจอร์                        30.5
  อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง                              22.1
  อุตสาหกรรมอาหารทะเลกระปองและแปรรูป
                              ๋                       23.4
อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี สร้ างงานในสั ดส่ วนทีน้อย
                                           ่
                 ปิ โตรเคมี ลงทุน 100 ล้านบาท จ้ างงานประมาณ 2 คน
                 อาหาร ลงทุน 100 ล้านบาท จ้ างงานประมาณ 220 คน
               เฟอร์ นิเจอร์ ลงทุน 100 ล้านบาท จ้ างงานประมาณ 370 คน
                                       อตราการจางงานต่อเง ินลงทุนหนงลานบาทในจ ังหว ัดระยอง
                                        ั      ้                   ึ่ ้
              เครืองแต่งกาย
                  ่
  เฟอร์น ิเ จอร์และเครืองเรือน
                       ่
                    เครืองดืม
                        ่   ่
                       อาหาร
                  เครืองหนั ง
                      ่
                       ิ่
                     ส งพิมพ์
อุต สาหกรรมไมและผลิต ภั ณฑ์
             ้
          อุต สาหกรรมเกษตร
                          ยาง
                    พลาสติก
                       ไฟฟ้ า
             ผลิต ภั ณฑ์โลหะ
                         ิ่
                       ส งทอ
                เครืองจั กรกล
                    ่
                       ขนส่ง
      กระดาษและผลิต ภั ณฑ์
                      อโลหะ
                         อืนๆ
                           ่
                        โลหะ
                          เคมี
     ปิ โตรเคมีและผลิต ภั ณฑ์
                                 0.0         2.0        4.0         6.0        8.0           10.0   12.0
ทางเลือก
วิสยทัศน์ การพัฒนาของชาวระยอง
   ั
วิสยทัศน์ การพัฒนาของระยอง
   ั
การสารวจความคิดเห็นของประชาชน ๑,๒๐๐ คนใน ๓๕๐
 หมู่บานทัวจังหวัดระยอง โดย ผศ.ดร.ชัยยนต์ ประดิษฐ์ศิลป์
      ้ ่
 และคณะ มหาวิทยาลัยบูรพา เมื่อเดือนกันยายน ๒๕๕๐
การปลอดจากมลพิ ษอุตสาหกรรม
การทาการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ความสัมพันธ์ทางสังคมแบบไปมาหาสู่กน   ั
การฟื้ นฟูภมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถ่ิ นมาใช้ในการพัฒนา
            ู
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ บนฐานของการอนุรกษ์ธรรมชาติ
                                         ั
ทางเลือกนโยบายการพัฒนาอื่นๆ?

การจัดทา
แผนแม่บทอุตสาหกรรมปิโตรเคมีระยะที่ 4
โดยกระทรวงพลังงานและสถาบันปิโตรเลียมฯ
แต่ยงไม่มีการเปิดเผยข้อมูลต่อสังคม
    ั
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 หมวดสิ ทธิชุมชน มาตรา 67
 รับรองสิ ทธิ ในสิ่ งแวดล้อมที่ดี ไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ
 และสิ ทธิ ในการมีส่วนร่ วมอนุรักษ์ บารุ งรักษา และได้
 ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
 ยึดหลักการป้ องกันไว้ก่อน (Precautionary Principle) ให้
 รอบคอบ รอบด้าน และมีส่วนร่ วม ไม่ใช่ดาเนินการไปก่อน
 แล้วมาแก้ไข เยียวยา ชดเชยภายหลัง
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 หมวดสิ ทธิชุมชน มาตรา 67
 โครงการที่อาจกระทบรุ นแรง จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้
 ดาเนินการครบ 3 กลไก ก่อนดาเนินการ
   ประเมินผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ
   รับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผูมีส่วนได้เสี ย
                                         ้
   ให้องค์การอิสระด้านสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ ให้
    ความเห็นประกอบ
สาระของรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 67
 ให้มีการพิจารณาโครงการอย่างรอบคอบและรอบด้าน
 ข้อกาหนดให้ศึกษา EIA-HIA + การรับฟังความเห็น + การให้
 ความเห็นประกอบขององค์การอิสระ
 สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน
 ข้อกาหนดให้รบฟังความคิดเห็น Public Scoping & Public
                ั
 Review , องค์การอิสระฯ , หน่ วยงานอนุญาต
 ให้มีระบบถ่วงดุลการตัดสินใจ
 ความเห็นประกอบของ องค์การอิสระ สวล.-สุขภาพ
องค์ การอิสระด้ านสิ่ งแวดล้ อมและสุ ขภาพ (เฉพาะกาล)
 ให้ความเห็นประกอบ ทั้งความจาเป็ นของโครงการ การวิเคราะห์
 ผลกระทบ การป้ องกันผลกระทบและการติดตามตรวจสอบ
 ทางเลือกในการดาเนินการ
 เน้นฐานข้อมูลและความรู้ทางวิชาการ และเปิ ดการมีส่วนร่ วมของ
 ทุกภาคส่ วน
 ทางานเป็ นเครื อข่ายกับสถาบันวิชาการ, NGOs, ประชาสังคม, และ
 ชุมชนทัวประเทศ
         ่
 เพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม และการสร้างความเชื่อมันกันในสังคม
                                                 ่
การกาหนดโครงการทีอาจกระทบรุนแรง
                   ่
        ตามมาตรา 67 วรรคสอง
 คกก.สี่ ฝ่าย ศึกษาทางวิชาการและสร้างกระบวนการมี
 ส่ วนร่ วม จนได้ขอเสนอ 18 ประเภทโครงการ
                   ้
 รัฐบาลตัดสิ นใจกาหนด 11 ประเภทโครงการ
 โดยกาหนดตามข้อเสนอของ คกก.สี่ ฝ่าย 1 ประเภท
 โครงการ ส่ วนอีก 10 ประเภทโครงการ มีการปรับเปลี่ยน
 รายละเอียดเงื่อนไขต่างๆ
ปัญหาของประกาศกระทรวงทรัพยากรฯ วันที่ 31
    สิ งหาคม 2553 อาจไม่ ชอบด้ วยกฎหมายได้
 ความแตกต่างในสาระสาคัญระหว่าง มติคณะกรรมการ
 สิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ กับ ประกาศกระทรวงทรัพยากรฯ รวมทั้ง
 การออกประกาศฯ ทั้งที่ยงไม่มีการรับรองมติอย่างเป็ นทางการ
                          ั
 ตามมาตรา 46 ของ พ.ร.บ. สิ่ งแวดล้อมฯ พ.ศ.2535 ระบุให้
 รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อม
 แห่งชาติ มีอานาจในการประกาศ
 จึงส่ งผลให้ประกาศฯ เมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2553 อาจไม่ชอบ
 ด้วยกฎหมายได้
ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด
                             ่
 1. สิ ทธิชุมชนเป็ นหลัก โดยต้ องปองกันและคุ้มครองไว้ ก่อน
                                    ้
       ไม่ ใช่ เยียวยาแก้ ไขภายหลัง
 คาพิพากษา ศาลปกครองกลาง 2 กันยายน 2553
 ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่มาบตาพุด มีมา
    อย่างต่อเนื่องและหลากหลาย เกิดจากการพัฒนาด้าน
    อุตสาหกรรม โดยไม่คานึงถึงต้นทุนและการจัดการด้าน
    ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม และไม่ให้ความสาคัญกับ
    ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ของประชาชนในพื้นที่ซ่ ึ งได้ร้อง
    ขอตลอดมา
คาพิพากษาศาลปกครองกลาง 2 กันยายน 2553
                                              ่
 “ขีดความสามารถของพื้นที่ในการรองรับการอยูอาศัยของ
     คนและกิจกรรมต่อเนื่องอื่นๆ ไม่ใช่แค่ขีดความสามารถ
     รองรับอุตสาหกรรมหรื อเรื่ องของอากาศเท่านั้น”
 “หลักการ 80 : 20 จึงเหมาะสมสาหรับใช้ลดมลพิษอากาศที่
             ่ ้
     เป็ นอยูให้นอยลง ไม่เหมาะสมสาหรับลดมลพิษอากาศ
     เพื่อจะเพิ่มอุตสาหกรรมเข้าไปในพื้นที่มากขึ้น”
ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด
                             ่
 2. โครงการต่ างๆ ทีมาบตาพุด ดาเนินการตามมาตรา 67
                    ่
      วรรคสองให้ ครบถ้ วน ก่ อนดาเนินการ
 ภาคเอกชนทาตามข้อตกลงที่ให้ไว้ใน คกก.สี่ ฝ่าย
 รัฐบาลใช้อานาจตามเขตควบคุมมลพิษ เพื่อเป็ นฐานทาง
      กฎหมายรองรับการดาเนินการดังกล่าว
ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด
                             ่
 3. ป้ องกันความเสี่ ยง ความอันตราย และผลกระทบทีสาคัญ  ่
       ของโครงการอย่ างรอบคอบ รอบด้ าน
  - สารเคมีที่ไม่ใช่สารก่อมะเร็ ง แต่รั่วแล้วทาให้ตายเลย เช่น
       ไฮโดรเจนไซยาไนด์ และสารอื่นๆ
  - ระบบการป้ องกันและรับมืออุบติภย ั ั
  - การแย่งน้ า
  - ผลกระทบที่สาคัญอื่นๆ
ตัวอย่างรูปแบบการเปิดเผยข้อมูล
สารเคมีที่ใช้                                  ผลิตภัณฑ์จากโรงงาน
     C4 , PY Gas,                                ‟ เบนซีน 470,000 ตัน
     ฯลฯ                                            ไซลีน 600,000 ตัน
                           PTT , SCG
ปัจจัยอื่นๆ ที่ใช้ใน                           มลพิษจากโรงงาน
   โรงงาน                                          ‟   อากาศ
     ปริมาณน้า,       ความเสี่ยงอุบติภย
                                     ั ั           ‟   สารอินทรียระเหย
                                                                 ์
     พลังงาน, ฯลฯ      „ การขนส่ง                      น้า
                                   มาตรการป้ องกัน ‟
                       „ การระเบิด
                                   „ มลพิษ         ‟   กากของเสียอันตราย
                       „ การรัวไหล
                               ่
                                   „ อุบติภย
                                        ั ั        ‟   ฯลฯ
                       „ อื่นๆ
                                   „ ฯลฯ
ตัวอย่าง การเข้าถึงข้อมูลการปล่อยมลพิษจาก
แต่ละโรงงาน http://www.epa.gov/triexplorer/
ตัวอย่าง การเข้าถึงข้อมูลมลพิษจากแต่ละโรงงาน
http://www.cec.org/naatlas/prtr/
ตัวอย่าง การเข้าถึงข้อมูลการปล่อยมลพิษในพืนที่
                                           ้
 http://www.epa.gov/tri/

แสดงประเภทอุตสาหกรรม ประเภทสารเคมี และพืนที่ต่างๆ ได้
                                        ้
ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด
                             ่
 4. การแก้ ไขในเชิงพืนที่
                     ้
  - การจัดทาและการตัดสิ นใจผังเมืองฉบับใหม่
            ั
  - พื้นที่กนชน (Buffer Zone) เช่น 2,000 เมตร
  - แนวป้ องกัน (Protection Strip) เช่น 50 เมตร
การกาหนดระยะพืนที่แนวกันชนจากต่ างประเทศ
              ้

ระดับ                      ประเภทอุ ตสาหกรรม                              ระยะแนวกันชน
                                                                              (เมตร)
  6      อุตสาหกรรมกลัน น้ า มัน อุตสาหกรรมปโตรเคมีและอุตสาหกรรม
                         ่                       ิ                               2000
         เคมีขนาดใหญ่ โรงถลุงเหล็ก อุตสาหกรรมเส้น ใยสังเคราะห์
         อุตสาหกรรมผลิตวัตถุระเบิด เตาปฏิ กรณ์นิ วเคลียร์ อุตสาหกรรม
         โลหะผสม การผลิตยาปราบศัตรู พืช อุตสาหกรรมต่อเรื อขนาด
         ใหญ่ การผลิตกาวจากสัตว์ สนามบิน
  5      โรงแยกก๊าซธรรมชาติ อุตสาหกรรมเหล็กและโลหะ                               1000
         อุตสาหกรรมยานยนต์ การผลิตเครื่ องจักรขนาดใหญ่
         อุตสาหกรรมเคมีบางประเภท อุตสาหกรรมเยือและกระดาษขนาด
                                                       ่
         ใหญ่ อุตสาหกรรมปูน ซี เ มนต์ โรงงานน้ า ตาล การผลิตสังกะสี
                                      ่ ่
         การผลิตเส้น ใย asbestos อูตอเรื อเล็ก อุตสาหกรรมการจัดการของ
         เสี ยขนาดใหญ่ อุตสาหกรรมอาหารและผลิตน้ า มัน
  4      อุตสาหกรรมสิ่ งทอ อุตสาหกรรมแก้ว การผลิตสิ น ค้าเครื่ องโลหะ             500
         และหนัง การผลิตอุปกรณ์ไฟฟา และวัสดุกอสร้าง
                                          ้          ่
  3                                    ่
         อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุกอสร้างขนาดเล็ก การผลิตสบู่ การผลิต                150
         ชิ้ น ส่ วนยานยนต์ ยาสู บ อุตสาหกรรมอาหาร
  2      อุตสาหกรรมผลิตรองเท้า การผลิตเสื้ อผ้าสาเร็ จรู ป งานไม้ งาน             50
         พิ มพ์ การทาเบเกอรี่
  1      งานบริ การหรื อการผลิตสิ น ค้าขนาดเล็กทีไม่ส่งผลกระทบต่อ
                                                   ่                               0
         สิ่ งแวดล้อม

หมายเหตุ
1. ดัดแปลงจาก Mass, F.B. Town and Urban Planning. In Suess, M.J. and Craxford, S.R. (eds.) Manual
on Urban Air Quality Management. WHO Regional Office for Europe. 1976.
2. ระยะแนวกัน ชน หมายถึงระยะห่ างระหว่ างอุตสาหกรรมกับชุ มชน
บริษัทคอนซัลแทนท์ ออฟ เทคโนโลยี จำกัด, 2553
บริษัทคอนซัลแทนท์ ออฟ เทคโนโลยี จำกัด, 2553
พืนทีกนชนเร่ งด่ วนที่จาเป็ นต้ องกาหนดและดาเนินการให้ เกิดขึนจริง
   ้ ่ั                                                       ้
แนวที่ 1 ตากวน กรอกยายชา
แนวที่ 2 เมืองมาบตาพุด
แนวที่ 3 มาบข่ า บ้ านบน
แนวที่ 4 เมืองใหม่ ห้ วยโป่ ง
แนวที่ 5 เนินกระปรอก
    และพืนที่อนๆ
             ้ ื่
ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด
                             ่
 5. การปรับปรุงเพิมเติม โครงการทีอาจกระทบรุนแรง
                   ่              ่
     อย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง
  - บทบาทหน้าที่ขององค์การอิสระด้านสิ่ งแวดล้อมและ
      สุ ขภาพ (กอสส.) ในการเสนอปรับปรุ งเพิมเติม
                                           ่
  - ผลของอนุกรรมการวินิจฉัย ต้องมีระบบในการปรับปรุ ง
      เพิมเติมโครงการที่อาจกระทบรุ นแรง
         ่
  - ต้องทบทวนอย่างน้อยทุก 2 ปี
่
                          “ยืนอยูคนละมุม ความรู้คนละชุด”
           ชาวบ้าน 1                                         นักวิชาการ 1

       ชาวบ้าน 2                                             นักวิชาการ 2
                               พื้นที่แห่งการเรี ยนรู ้
                                       ร่ วมกัน

                                                           ภาคประชาสังคม
           หน่วยงานรัฐ
                                                          องค์กรพัฒนาเอกชน
         เจ้ าหน้ าทีปกครอง
                     ่
                                      ภาคธุรกิจ                        #
ที่มา: วัชราภรณ์ วัฒนขา
“ถ้าการค้าขายทาให้โลกหมุน
การยืนยันที่จะเก็บกันบางสิ่ งไว้ในใจ และ„ไม่ขาย‟
      ก็น่าจะทาให้โลกดารงอยูอย่างสมดุล”
                                ่

           (ไม่มีโทรศัพท์และเครื่ องปรับอากาศ, วรพจน์ พันธุ์พงศ์)


                                                           #

More Related Content

What's hot

01.การกระจายเชื้อเพลิงและแผนpdp
01.การกระจายเชื้อเพลิงและแผนpdp01.การกระจายเชื้อเพลิงและแผนpdp
01.การกระจายเชื้อเพลิงและแผนpdpKobwit Piriyawat
 
Code of conduct_regulators 1
Code of conduct_regulators 1Code of conduct_regulators 1
Code of conduct_regulators 1Kan Yuenyong
 
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปรความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปรMary Prath, home!
 

What's hot (10)

Plan rpsi 11_mar2013
Plan rpsi 11_mar2013Plan rpsi 11_mar2013
Plan rpsi 11_mar2013
 
Po345 (final)
Po345 (final)Po345 (final)
Po345 (final)
 
01.การกระจายเชื้อเพลิงและแผนpdp
01.การกระจายเชื้อเพลิงและแผนpdp01.การกระจายเชื้อเพลิงและแผนpdp
01.การกระจายเชื้อเพลิงและแผนpdp
 
Rpsi plan 22_mar2013
Rpsi plan 22_mar2013Rpsi plan 22_mar2013
Rpsi plan 22_mar2013
 
Thai Government Website Standard
Thai Government Website StandardThai Government Website Standard
Thai Government Website Standard
 
Code of conduct_regulators 1
Code of conduct_regulators 1Code of conduct_regulators 1
Code of conduct_regulators 1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Plan mar2013 2
Plan mar2013 2Plan mar2013 2
Plan mar2013 2
 
How to Deal with Global Warming?
How to Deal with Global Warming?How to Deal with Global Warming?
How to Deal with Global Warming?
 
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปรความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
 

Similar to Problems and Problem-Solving in Mab Ta Phut

การทำ Ehia (เหมืองแร่)
การทำ Ehia (เหมืองแร่)การทำ Ehia (เหมืองแร่)
การทำ Ehia (เหมืองแร่)AmPere Si Si
 
ICT2020 Presentation For NITC
ICT2020 Presentation For  NITCICT2020 Presentation For  NITC
ICT2020 Presentation For NITCICT2020
 
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบยสรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบยwutichai
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบันมาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบันThailand Board of Investment North America
 
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยคณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยPoramate Minsiri
 
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมChacrit Sitdhiwej
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมChacrit Sitdhiwej
 
Newsletter 08
Newsletter 08Newsletter 08
Newsletter 08nnnstda
 

Similar to Problems and Problem-Solving in Mab Ta Phut (20)

Industry 2020
Industry 2020 Industry 2020
Industry 2020
 
การทำ Ehia (เหมืองแร่)
การทำ Ehia (เหมืองแร่)การทำ Ehia (เหมืองแร่)
การทำ Ehia (เหมืองแร่)
 
ICT2020 Presentation For NITC
ICT2020 Presentation For  NITCICT2020 Presentation For  NITC
ICT2020 Presentation For NITC
 
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบยสรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบันมาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
 
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยคณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
 
Timeline NSTDA 20 Year
Timeline NSTDA 20 YearTimeline NSTDA 20 Year
Timeline NSTDA 20 Year
 
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
 
Ku 56
Ku 56Ku 56
Ku 56
 
Newsletter 08
Newsletter 08Newsletter 08
Newsletter 08
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
Digital economy
Digital economyDigital economy
Digital economy
 
Digital economy
Digital economyDigital economy
Digital economy
 
Digital economy
Digital economyDigital economy
Digital economy
 

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Problems and Problem-Solving in Mab Ta Phut

  • 1. ปัญหาจากการพัฒนาอุตสาหกรรมทีมาบตาพุดและ ่ กระบวนการกาหนดแนวทางการพัฒนาในอนาคต ศุภกิจ นันทะวรการ มูลนิธินโยบายสุ ขภาวะ การลงพื้นที่มาบตาพุดของนักศึกษา คณะบริ หารธุรกิจฯ มธ. วันที่ 26 กันยายน 2553 ห้องประชุม เทศบาลเมืองมาบตาพุด
  • 2. ระยองกับการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมภายในจ ังหว ัดระยอง ณ ราคาคงที่ ปี พ.ศ. 2531 ฿250,000 ฿200,000 ฿150,000 ล้านบาท การค ้าและบริการ อุตสาหกรรมและเหมืองแร่ ฿100,000 เกษตร ฿50,000 ฿0 2524 2526 2528 2530 2532 2534 2536 2538 2540 2542 2544 2546 2548 ปี
  • 4. การขยายพืนทีอุตสาหกรรม (สีม่วง) เข้ าไปสู่ พนทีกนชนและเขตชุมชน ้ ่ ื้ ่ ั 1 2 3
  • 5. พืนที่อตสาหกรรมตามผังเมืองฯ ฉบับปัจจุบน ้ ุ ั ซึ่งทับซ้อนกับพืนที่ชมชนต่างๆ (ภาพโดยประมาณ) ้ ุ
  • 7. การจัดทาพืนทีกนชน (Buffer Zone) ในต่ างประเทศ ้ ่ั
  • 9. อุตสาหกรรมมาบตาพุด มีการใช้ ไวนิ ล คลอไรด์ 610,000 ตันต่อปี เบนซีน ซึ่งเป็ นผลิตภัณฑ์ขนต้น ั้ มากกว่า 300,000 ตันต่อปี เอทิ ลีน ไดคลอไรด์ (EDC) มากกว่า 250,000 ตันต่อปี ใช้ตวทาละลาย เช่น เฮกแซน ั มากกว่า 2,000,000 ลิตรต่อปี
  • 10. สารอินทรียระเหย ์ สารก่อ ผลกระทบต่อสุขภาพหากได้รบสารดังกล่าว ั ง่าย มะเร็ง* เบนซีน กลุ่ม 1 ทาลายไขกระดูก เม็ดเลือดแดงแตก โรคโลหิตจาง กดระบบประสาทส่วนกลาง ไวนีลเอทิลน ี กลุม 2A อันตรายต่อระบบประสาท หลอดเลือด กระเพาะ ่ อาหาร เพิมความเสียงมะเร็งเม็ดเลือดขาว ่ ่ เอทธิลน ไดคลอไรด์ ี กลุม 2B เพิมความเสียงต่อการเกิดมะเร็ง ่ ่ ่ 1,1 - ไดคลอโรเอทธิ กลุม 3 อันตรายต่อตับ ไต และตัวอ่อน (fetus) ่ ลีน ไวนีลคลอไรด์ กลุม 1 อันตรายต่อตับ ระบบประสาท เพิมความเสียงมะเร็ง ่ ่ ่ *IARC: International Agency for Research on Cancer ได้จาแนกประเภทสารทีก่อให้เกิดมะเร็งเป็ น 4 กลุม ดังนี้ ่ ่ กลุม 1 ่ เป็ นสารก่อมะเร็งแก่มนุ ษย์ (carcinogenic to humans) กลุม 2A ่ เป็ นสารทีเป็นไปได้มากว่าจะก่อมะเร็งในมนุ ษย์ (probably carcinogenic to humans) ่ กลุม 2B ่ เป็ นสารทีอาจก่อมะเร็งในมนุ ษย์ (possibly carcinogenic to humans) ่ ทีมา: ดัดแปลงจาก “สารอินทรียระเหยง่าย (Volatile Organic Substances) ในน้ าใต้ดน” [http://infofile.pcd.go.th/haz/haz_VOCs.pdf] ่ ์ ิ
  • 11.
  • 12. ความล่าช้าและช่องโหว่ของการตัดสินใจเรื่อง ศักยภาพการรองรับมลพิษ (Carrying Capacity) มติ คกก.สวล.แห่งชาติ การดาเนินการจริง โครงการที่อนุมติ ั ครังที่ ๔/๒๕๔๑ ้ เพิ่มขึน ้ ให้ประเมินผลกระทบคุณภาพ ๒๕๔๑ - ๔๓ วาง อย่างน้อย ๑๑ อากาศ ให้แล้วเสร็จใน ๖ เดือน แนวทางการศึกษา โครงการ ให้การนิคมฯดาเนินการ ๒๕๔๔ - ๔๕ จัดจ้าง ประมาณ ๕๐ มาตรการต่างๆ ให้แล้วเสร็จ และดาเนินการศึกษา โครงการ ภายใน ๑ ปี ให้ กท.วิทย์ฯ ประเมินภาพรวม ๒๕๔๖ -ปัจจุบน ั ประมาณ ๑๐๐ ของศักยภาพการรองรับมลพิษ ปรับแก้ผล โครงการ การศึกษา
  • 13. การเมืองเรื่องมลพิษ ...สิบปี แล้ว ยังสรุปไม่ได้ ยังต้องศึกษาเพิ่มเติมอีก... มติ คกก.สวล.แห่งชาติ การดาเนินการจริง ม.ค. ๒๕๕๐ แบบจาลองยังไม่มความ  กนอ. กาลังเก็บข้อมูล คาดว่า จะ ี ถูกต้องและแม่นยา แล้วเสร็จในเดือน ก.ย. ๒๕๕๑ ให้ การนิคมอุตสาหกรรม  หลังจากนัน จะส่งข้อมูลให้กรม ้ ฯ ปรับปรุงข้อมูลนาเข้า ควบคุมมลพิษ วิเคราะห์แบบจาลอง ภายใน ๑ ปี ซึงยังไม่ทราบว่า จะสรุปผลได้เมือไร ่ ่
  • 14. ข้ อมูลผลการศึกษาจากงานวิจยล่าสุ ด ั - มีโลหะหนักปนเปื้ อนในอาหารทะเล (สุ นนทา โอศิริ, 2552) ั - โลหะหนักมีผลต่อการพัฒนาของทารกในครรภ์ โดยการ ่ อยูอาศัยใกล้-ไกลจากนิคมอุตสาหกรรม มีความแตกต่าง ของปั ญหาอย่างชัดเจน (นันทวรรณ วิจิตรวาทการ, 2553) ั - ข้อเสนอของ คกก.สี่ ฝ่าย ให้มีพ้ืนที่กนชน 2,000 เมตร - แต่อุตสาหกรรมขยายมาจนติดชิดกับหลายชุมชน - มีความเสี่ ยงและได้รับผลกระทบจากอุบติภยสารเคมีอีก ั ั
  • 15. ...จากเศรษฐกิจสามขา สู่เศรษฐกิจขาเดียว... ผล ิตภ ัณฑ ์มวลรวมจ ังหว ัดป 2524 (ทราคาคงทป 2531) - ล ้านบาท ี ี่ ี่ ี 3,309 36% 3,249 35% พ.ศ.๒๕๒๔ เกษตร อุตสาหกรรมและเหมืองแร่ การคาและบริการ ้ 2,640 29% ผล ิตภ ัณฑ ์มวลรวมจ ังหว ัด ป 2549 (ทราคาคงทป 2531)-ล ้านบาท ี ี่ ี่ ี พ.ศ.๒๕๔๙ 5,979 3% 40,842 18% เกษตร อุตสาหกรรมและเหมืองแร่ การคาและบริการ ้ 185,066 79%
  • 16. เศรษฐกิจขาเดียวยังลงไปไม่ถึงฐานราก ตัวชี้วด ั ระยอง นครปฐม ทังประเทศ ้ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัวปี 2547 691,093 121,381 101,304 (บาท/คน/ปี ) รายได้ต่อครัวเรือน (บาท/เดือน) 21,083 20,478 14,778 ครัวเรือนที่มีหนี้ สิน (ร้อยละ) 66.0 65.2 66.4 สัดส่วนคนจน (ร้อยละ) 5.60 2.36 11.25 อัตราการว่างงาน (ร้อยละ) 1.8 0.5 1.3 อันดับความก้าวหน้ าของด้านรายได้ 24 12 -
  • 18. การลงทุนด้านสังคมมีเพียงน้ อยนิด ้ ่ ั สดสว นของผลิตภ ัณฑ์มวลรวมภาคสงคมต่อ ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมจ ังหว ัดของจ ังหว ัดระยองและนครปฐม 7.00 6.00 5.00 4.00 ร้อยละ ระยอง 3.00 นครปฐม 2.00 1.00 - 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 ปี
  • 19. เด็กระยองคืออนาคตของระยอง ตัวชี้วด ั ระยอง นครปฐม ทังประเทศ ้ อัตราเด็กที่มาทาคลอดต่อประชากรแสนคน ๔,๗๔๓.๗๐ ๗๙.๕๘ ๑,๙๓๒.๖๔ (๑๕-๑๙ ปี ) อัตราเด็กอายุตากว่า ๑๘ ปี ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ่ ๔๘.๓๙ ๑๗.๑๑ ๓๑.๓๒ (ต่อประชากรแสนคน) ร้อยละของเด็กที่มีเพศสัมพันธ์แล้ว (อาชีวะ) ๔๘.๙๖ ๑๑.๙๘ ๒๗.๗๔ ร้อยละของเด็กคิดทาศัลยกรรม (ม.ปลาย) ๑๗.๐๙ ๙.๘๖ ๑๖.๘๘ อัตราเด็กพยายามฆ่าตัวตาย (ต่อประชากรแสนคน) ๒๙๙.๖๑ ๓๔.๓๑ ๓๓.๙๘ อัตราเด็กติดเชื้อ HIV (ต่อประชากรแสนคน) ๒๑.๔๖ ๐.๘๗ ๙.๘๒ อัตราเด็กได้รบผลกระทบจาก HIV ั ๔๑.๔๙ ๗.๙๑ ๓๙.๒๖ (ต่อประชากรแสนคน) อัตราเด็กที่เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์ ๖๓.๖๑ ๖.๘๕ ๒๘.๕๙ (ต่อประชากรแสนคน)
  • 22. แผนแม่บทอุตสาหกรรมปิโตรเคมีระยะที่ ๓ พ.ศ. 2547 - 2561 การก่อสร้างโรงงานปิโตรเคมีขนาดใหญ่ ๕๖ โครงการ ขยายพืนที่อตสาหกรรมในพืนที่มาบตาพุดและใกล้เคียง ้ ุ ้ ๓,๐๐๐ ไร่ การลงทุน ๔๐๐,๐๐๐ ล้านบาท คาดว่าจะสร้างรายได้เพิ่มขึนปี ละ ๒๖๐,๐๐๐ ล้านบาท ้ คาดว่าจะเกิดการจ้างงาน ๑๖๒,๔๐๐ คน
  • 23. การเกษตร: ไม่ตายแต่ไม่โต ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมจ ังหว ัดระยองด้านการเพาะปลูและประมง ณ ราคาคงทีปี 2531 ่ ฿4,500 ฿4,000 ฿3,500 ฿3,000 ฿2,500 ล้านบาท เพาะปลูกพืช ประมง ฿2,000 ฿1,500 ฿1,000 ฿500 ฿0 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 ปี
  • 24. อุตสาหกรรมต้ องพึงพาการนาเข้ าสู ง ่ ลงทุน 100 ล้ านบาท จ่ ายนาเข้ าจากต่ างประเทศ 40-50 ล้ านบาท สัดส่วนวัตถุดิบนาเข้า (%) อุตสาหกรรมการกลันน้ามันสาเร็จรูป ่ 50.7 อุตสาหกรรมเคมีภณฑ์ ั 39.6 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้ าและส่วนประกอบ 64.2 อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เหล็กและเหล็กกล้า 40.7 อุตสาหกรรมพลาสติก 25.8 อุตสาหกรรมไม้และเฟอร์นิเจอร์ 30.5 อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง 22.1 อุตสาหกรรมอาหารทะเลกระปองและแปรรูป ๋ 23.4
  • 25. อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี สร้ างงานในสั ดส่ วนทีน้อย ่ ปิ โตรเคมี ลงทุน 100 ล้านบาท จ้ างงานประมาณ 2 คน อาหาร ลงทุน 100 ล้านบาท จ้ างงานประมาณ 220 คน เฟอร์ นิเจอร์ ลงทุน 100 ล้านบาท จ้ างงานประมาณ 370 คน อตราการจางงานต่อเง ินลงทุนหนงลานบาทในจ ังหว ัดระยอง ั ้ ึ่ ้ เครืองแต่งกาย ่ เฟอร์น ิเ จอร์และเครืองเรือน ่ เครืองดืม ่ ่ อาหาร เครืองหนั ง ่ ิ่ ส งพิมพ์ อุต สาหกรรมไมและผลิต ภั ณฑ์ ้ อุต สาหกรรมเกษตร ยาง พลาสติก ไฟฟ้ า ผลิต ภั ณฑ์โลหะ ิ่ ส งทอ เครืองจั กรกล ่ ขนส่ง กระดาษและผลิต ภั ณฑ์ อโลหะ อืนๆ ่ โลหะ เคมี ปิ โตรเคมีและผลิต ภั ณฑ์ 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0
  • 27. วิสยทัศน์ การพัฒนาของระยอง ั การสารวจความคิดเห็นของประชาชน ๑,๒๐๐ คนใน ๓๕๐ หมู่บานทัวจังหวัดระยอง โดย ผศ.ดร.ชัยยนต์ ประดิษฐ์ศิลป์ ้ ่ และคณะ มหาวิทยาลัยบูรพา เมื่อเดือนกันยายน ๒๕๕๐ การปลอดจากมลพิ ษอุตสาหกรรม การทาการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ความสัมพันธ์ทางสังคมแบบไปมาหาสู่กน ั การฟื้ นฟูภมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถ่ิ นมาใช้ในการพัฒนา ู การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ บนฐานของการอนุรกษ์ธรรมชาติ ั
  • 29. รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 หมวดสิ ทธิชุมชน มาตรา 67  รับรองสิ ทธิ ในสิ่ งแวดล้อมที่ดี ไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ และสิ ทธิ ในการมีส่วนร่ วมอนุรักษ์ บารุ งรักษา และได้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ  ยึดหลักการป้ องกันไว้ก่อน (Precautionary Principle) ให้ รอบคอบ รอบด้าน และมีส่วนร่ วม ไม่ใช่ดาเนินการไปก่อน แล้วมาแก้ไข เยียวยา ชดเชยภายหลัง
  • 30. รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 หมวดสิ ทธิชุมชน มาตรา 67  โครงการที่อาจกระทบรุ นแรง จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ ดาเนินการครบ 3 กลไก ก่อนดาเนินการ  ประเมินผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ  รับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผูมีส่วนได้เสี ย ้  ให้องค์การอิสระด้านสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ ให้ ความเห็นประกอบ
  • 31. สาระของรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 67  ให้มีการพิจารณาโครงการอย่างรอบคอบและรอบด้าน  ข้อกาหนดให้ศึกษา EIA-HIA + การรับฟังความเห็น + การให้ ความเห็นประกอบขององค์การอิสระ  สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน  ข้อกาหนดให้รบฟังความคิดเห็น Public Scoping & Public ั Review , องค์การอิสระฯ , หน่ วยงานอนุญาต  ให้มีระบบถ่วงดุลการตัดสินใจ  ความเห็นประกอบของ องค์การอิสระ สวล.-สุขภาพ
  • 32. องค์ การอิสระด้ านสิ่ งแวดล้ อมและสุ ขภาพ (เฉพาะกาล)  ให้ความเห็นประกอบ ทั้งความจาเป็ นของโครงการ การวิเคราะห์ ผลกระทบ การป้ องกันผลกระทบและการติดตามตรวจสอบ ทางเลือกในการดาเนินการ  เน้นฐานข้อมูลและความรู้ทางวิชาการ และเปิ ดการมีส่วนร่ วมของ ทุกภาคส่ วน  ทางานเป็ นเครื อข่ายกับสถาบันวิชาการ, NGOs, ประชาสังคม, และ ชุมชนทัวประเทศ ่  เพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม และการสร้างความเชื่อมันกันในสังคม ่
  • 33. การกาหนดโครงการทีอาจกระทบรุนแรง ่ ตามมาตรา 67 วรรคสอง  คกก.สี่ ฝ่าย ศึกษาทางวิชาการและสร้างกระบวนการมี ส่ วนร่ วม จนได้ขอเสนอ 18 ประเภทโครงการ ้  รัฐบาลตัดสิ นใจกาหนด 11 ประเภทโครงการ  โดยกาหนดตามข้อเสนอของ คกก.สี่ ฝ่าย 1 ประเภท โครงการ ส่ วนอีก 10 ประเภทโครงการ มีการปรับเปลี่ยน รายละเอียดเงื่อนไขต่างๆ
  • 34. ปัญหาของประกาศกระทรวงทรัพยากรฯ วันที่ 31 สิ งหาคม 2553 อาจไม่ ชอบด้ วยกฎหมายได้  ความแตกต่างในสาระสาคัญระหว่าง มติคณะกรรมการ สิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ กับ ประกาศกระทรวงทรัพยากรฯ รวมทั้ง การออกประกาศฯ ทั้งที่ยงไม่มีการรับรองมติอย่างเป็ นทางการ ั  ตามมาตรา 46 ของ พ.ร.บ. สิ่ งแวดล้อมฯ พ.ศ.2535 ระบุให้ รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อม แห่งชาติ มีอานาจในการประกาศ  จึงส่ งผลให้ประกาศฯ เมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2553 อาจไม่ชอบ ด้วยกฎหมายได้
  • 35. ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด ่ 1. สิ ทธิชุมชนเป็ นหลัก โดยต้ องปองกันและคุ้มครองไว้ ก่อน ้ ไม่ ใช่ เยียวยาแก้ ไขภายหลัง คาพิพากษา ศาลปกครองกลาง 2 กันยายน 2553 ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่มาบตาพุด มีมา อย่างต่อเนื่องและหลากหลาย เกิดจากการพัฒนาด้าน อุตสาหกรรม โดยไม่คานึงถึงต้นทุนและการจัดการด้าน ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม และไม่ให้ความสาคัญกับ ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ของประชาชนในพื้นที่ซ่ ึ งได้ร้อง ขอตลอดมา
  • 36. คาพิพากษาศาลปกครองกลาง 2 กันยายน 2553 ่ “ขีดความสามารถของพื้นที่ในการรองรับการอยูอาศัยของ คนและกิจกรรมต่อเนื่องอื่นๆ ไม่ใช่แค่ขีดความสามารถ รองรับอุตสาหกรรมหรื อเรื่ องของอากาศเท่านั้น” “หลักการ 80 : 20 จึงเหมาะสมสาหรับใช้ลดมลพิษอากาศที่ ่ ้ เป็ นอยูให้นอยลง ไม่เหมาะสมสาหรับลดมลพิษอากาศ เพื่อจะเพิ่มอุตสาหกรรมเข้าไปในพื้นที่มากขึ้น”
  • 37. ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด ่ 2. โครงการต่ างๆ ทีมาบตาพุด ดาเนินการตามมาตรา 67 ่ วรรคสองให้ ครบถ้ วน ก่ อนดาเนินการ ภาคเอกชนทาตามข้อตกลงที่ให้ไว้ใน คกก.สี่ ฝ่าย รัฐบาลใช้อานาจตามเขตควบคุมมลพิษ เพื่อเป็ นฐานทาง กฎหมายรองรับการดาเนินการดังกล่าว
  • 38. ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด ่ 3. ป้ องกันความเสี่ ยง ความอันตราย และผลกระทบทีสาคัญ ่ ของโครงการอย่ างรอบคอบ รอบด้ าน - สารเคมีที่ไม่ใช่สารก่อมะเร็ ง แต่รั่วแล้วทาให้ตายเลย เช่น ไฮโดรเจนไซยาไนด์ และสารอื่นๆ - ระบบการป้ องกันและรับมืออุบติภย ั ั - การแย่งน้ า - ผลกระทบที่สาคัญอื่นๆ
  • 39. ตัวอย่างรูปแบบการเปิดเผยข้อมูล สารเคมีที่ใช้ ผลิตภัณฑ์จากโรงงาน  C4 , PY Gas, ‟ เบนซีน 470,000 ตัน ฯลฯ ไซลีน 600,000 ตัน PTT , SCG ปัจจัยอื่นๆ ที่ใช้ใน มลพิษจากโรงงาน โรงงาน ‟ อากาศ  ปริมาณน้า, ความเสี่ยงอุบติภย ั ั ‟ สารอินทรียระเหย ์ พลังงาน, ฯลฯ „ การขนส่ง น้า มาตรการป้ องกัน ‟ „ การระเบิด „ มลพิษ ‟ กากของเสียอันตราย „ การรัวไหล ่ „ อุบติภย ั ั ‟ ฯลฯ „ อื่นๆ „ ฯลฯ
  • 42. ตัวอย่าง การเข้าถึงข้อมูลการปล่อยมลพิษในพืนที่ ้ http://www.epa.gov/tri/ แสดงประเภทอุตสาหกรรม ประเภทสารเคมี และพืนที่ต่างๆ ได้ ้
  • 43. ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด ่ 4. การแก้ ไขในเชิงพืนที่ ้ - การจัดทาและการตัดสิ นใจผังเมืองฉบับใหม่ ั - พื้นที่กนชน (Buffer Zone) เช่น 2,000 เมตร - แนวป้ องกัน (Protection Strip) เช่น 50 เมตร
  • 44. การกาหนดระยะพืนที่แนวกันชนจากต่ างประเทศ ้ ระดับ ประเภทอุ ตสาหกรรม ระยะแนวกันชน (เมตร) 6 อุตสาหกรรมกลัน น้ า มัน อุตสาหกรรมปโตรเคมีและอุตสาหกรรม ่ ิ 2000 เคมีขนาดใหญ่ โรงถลุงเหล็ก อุตสาหกรรมเส้น ใยสังเคราะห์ อุตสาหกรรมผลิตวัตถุระเบิด เตาปฏิ กรณ์นิ วเคลียร์ อุตสาหกรรม โลหะผสม การผลิตยาปราบศัตรู พืช อุตสาหกรรมต่อเรื อขนาด ใหญ่ การผลิตกาวจากสัตว์ สนามบิน 5 โรงแยกก๊าซธรรมชาติ อุตสาหกรรมเหล็กและโลหะ 1000 อุตสาหกรรมยานยนต์ การผลิตเครื่ องจักรขนาดใหญ่ อุตสาหกรรมเคมีบางประเภท อุตสาหกรรมเยือและกระดาษขนาด ่ ใหญ่ อุตสาหกรรมปูน ซี เ มนต์ โรงงานน้ า ตาล การผลิตสังกะสี ่ ่ การผลิตเส้น ใย asbestos อูตอเรื อเล็ก อุตสาหกรรมการจัดการของ เสี ยขนาดใหญ่ อุตสาหกรรมอาหารและผลิตน้ า มัน 4 อุตสาหกรรมสิ่ งทอ อุตสาหกรรมแก้ว การผลิตสิ น ค้าเครื่ องโลหะ 500 และหนัง การผลิตอุปกรณ์ไฟฟา และวัสดุกอสร้าง ้ ่ 3 ่ อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุกอสร้างขนาดเล็ก การผลิตสบู่ การผลิต 150 ชิ้ น ส่ วนยานยนต์ ยาสู บ อุตสาหกรรมอาหาร 2 อุตสาหกรรมผลิตรองเท้า การผลิตเสื้ อผ้าสาเร็ จรู ป งานไม้ งาน 50 พิ มพ์ การทาเบเกอรี่ 1 งานบริ การหรื อการผลิตสิ น ค้าขนาดเล็กทีไม่ส่งผลกระทบต่อ ่ 0 สิ่ งแวดล้อม หมายเหตุ 1. ดัดแปลงจาก Mass, F.B. Town and Urban Planning. In Suess, M.J. and Craxford, S.R. (eds.) Manual on Urban Air Quality Management. WHO Regional Office for Europe. 1976. 2. ระยะแนวกัน ชน หมายถึงระยะห่ างระหว่ างอุตสาหกรรมกับชุ มชน
  • 47. พืนทีกนชนเร่ งด่ วนที่จาเป็ นต้ องกาหนดและดาเนินการให้ เกิดขึนจริง ้ ่ั ้ แนวที่ 1 ตากวน กรอกยายชา แนวที่ 2 เมืองมาบตาพุด แนวที่ 3 มาบข่ า บ้ านบน แนวที่ 4 เมืองใหม่ ห้ วยโป่ ง แนวที่ 5 เนินกระปรอก และพืนที่อนๆ ้ ื่
  • 48. ข้ อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทีมาบตาพุด ่ 5. การปรับปรุงเพิมเติม โครงการทีอาจกระทบรุนแรง ่ ่ อย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง - บทบาทหน้าที่ขององค์การอิสระด้านสิ่ งแวดล้อมและ สุ ขภาพ (กอสส.) ในการเสนอปรับปรุ งเพิมเติม ่ - ผลของอนุกรรมการวินิจฉัย ต้องมีระบบในการปรับปรุ ง เพิมเติมโครงการที่อาจกระทบรุ นแรง ่ - ต้องทบทวนอย่างน้อยทุก 2 ปี
  • 49. “ยืนอยูคนละมุม ความรู้คนละชุด” ชาวบ้าน 1 นักวิชาการ 1 ชาวบ้าน 2 นักวิชาการ 2 พื้นที่แห่งการเรี ยนรู ้ ร่ วมกัน ภาคประชาสังคม หน่วยงานรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน เจ้ าหน้ าทีปกครอง ่ ภาคธุรกิจ # ที่มา: วัชราภรณ์ วัฒนขา
  • 50. “ถ้าการค้าขายทาให้โลกหมุน การยืนยันที่จะเก็บกันบางสิ่ งไว้ในใจ และ„ไม่ขาย‟ ก็น่าจะทาให้โลกดารงอยูอย่างสมดุล” ่ (ไม่มีโทรศัพท์และเครื่ องปรับอากาศ, วรพจน์ พันธุ์พงศ์) #