SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ไฟฟา
ไฟฟากับการดําเนินชีวิตของคนไทย
         ไฟฟ า เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ยิ่ ง ต อ การดํ า เนิ น ชี วิ ต และการดํ า เนิ น กิ จ กรรมต า งๆ ทั้ ง ใน
ภาคอุตสาหกรรม ภาคครัวเรือน และภาคการเกษตร ลวนตองใชพลังงานไฟฟาแทบทั้งสิ้น
         จากปริมาณความตองการใชไฟฟาของประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นปละ 1,400 เมกะวัตต และ
ในอนาคตจะมี เ พิ่ ม ขึ้ น เปน ป ล ะ 17,000 เมกะวั ต ต หรือ อาจอธิบ ายง า ยๆ ได ว า ประเทศไทย
จําเปนตองมีโรงไฟฟาใหมใหเกิดขึ้นอยางนอยปละ 2 โรง




                                               กราฟแนวโนมความตองการใชไฟฟาทีเพิ่มขึ้น
                                                                               ่
                                หนวย : เมกะวัตต
         ความต องการไฟฟ า




                              20000
                              15000
                              10000
                              5000
                                  0
                                   48
                                   49
                                   50
                                   51
                                   52
                                   53
                                   54
                                   55
                                   56
                                   57
                                   58
                                   59
                                 25
                                 25
                                 25
                                 25
                                 25
                                 25
                                 25
                                 25
                                 25
                                 25
                                 25
                                 25




    ที่มา : สํานักยุทธศาสตร กระทรวงพลังงาน                       ป



                                                                                                                   1
การใชไฟฟาแยกตามกลุมผูใช
       ผู ใ ช ไ ฟฟ า ในประเทศไทยแบ ง เป น กลุ ม ใหญ ๆ ได แ ก กลุ ม บ า นและที่ อ ยู อ าศั ย ธุ ร กิ จ
อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และอื่น ๆ

       จากรายงานของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ระบุวาปริมาณการใชไฟฟาในป
2551 อยูที่ระดับ 136,025 กิกะวัตตชั่วโมง(GWh) แยกปริมาณการใชไฟฟา ตามประเภทของผูใช
ดังนี้
         • สาขาอุตสาหกรรม มีสัดสวนการใชมากที่สุด รอยละ 44.7 ของการใชทั้งประเทศ
           โดยมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นรอยละ 2.2 เมื่อเทียบกับป 2550
         • สาขาธุรกิจ มีสัดสวนการใชไฟฟา รอยละ 24.5 การใชไฟฟาเพิ่มขึ้น รอยละ 1.6
           เมื่อเทียบกับป 2550
         • สาขาบานและที่อยูอาศัย มีสัดสวนการใชไฟฟา รอยละ 21.4 การใชเพิ่มขึ้น
           รอยละ 4.1 เมื่อเทียบกับป 2550
         • สาขาเกษตรกรรมและอื่นๆ มีสัดสวนการใชไฟฟารวม รอยละ 9.3 โดยสาขา
           เกษตรกรรมมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้น รอยละ 3.7 และอื่นๆ มีการใชเพิ่มขึ้น รอยละ 3.7
           เมื่อเทียบกับป 2550

                     ปริมาณการใชไฟฟา แยกตามประเภทผูใชไฟฟา ป 2551

                                          ธุรกิจ
                                         24.5%
                                                                            บ านอยูอาศัย
                                                                                21.4%




                                                                             เกษตรกรรม
                                                                               และอื่นๆ
                                                                                9.3%
                                  อุต สาหกรรม
                                     44.7%


                          ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน




                                                                                                               2
ปริมาณการใชไฟฟาแยกตามกลุมผูใช
                                                                         หนวย : กิกะวัตต-ชั่วโมง

                                                                        อัตราการเปลี่ยนแปลง
                ป                                                             (%)

                          2548        2549       2550        2551*      2550           2551*
 กลุมผูใช
     

 บานและที่อยูอาศัย      25,514      26,915      27,960      29,121     3.9             4.1

 ธุรกิจ                   30,164      31,702      32,839      33,394     3.6             1.6

 อุตสาหกรรม               53,894      56,995      59,436      60,793     4.3             2.2

 เกษตรกรรม                    250         240          268      278     11.5             3.7

 อื่นๆ                    10,815      11,385      11,989      12,439     5.3             3.7

          รวม            120,637     127,237     132,492     136,025     4.1             2.5
         ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน


การใชไฟฟาแยกตามภูมิภาค ป 2551
  • การใชไฟฟาในเขตนครหลวง อยูที่ระดับ 42,245 กิกะวัตต-ชั่วโมง เพิ่มขึ้นรอยละ 0.5
    เมื่อเทียบกับป 2550
  • การใชไฟฟาในเขตภูมิภาค อยูที่ระดับ 90,944 กิกะวัตต-ชั่วโมง เพิ่มขึ้นรอยละ 3.6
    เมื่อเทียบกับป 2550
  • ลูกคาตรงการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) อยูที่ระดับ 2,836 กิกะวัตต-
    ชั่วโมง เพิ่มขึ้นรอยละ 4.9 เมื่อเทียบกับป 2550

                           ปริมาณการใชไฟฟาแยกตามภูมิภาค ป 2551


                                                                     เขตนครหลวง
                                                                        31%




                 เขตภูมิภาค
                   67%
                                                                 ลูกคาตรง
                                                                    กฟผ.
                                                                     2%

                ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
                                                                                                3
ปริมาณการใชไฟฟาแยกตามภูมิภาค
                                                                                                 หนวย : กิกะวัตต-ชัวโมง
                                                                                                                     ่


               ป                                                                          อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)
                       2547           2548            2549           2550    2551*

  ภูมิภาค                                                                              2548 2549 2550 2551*

    นครหลวง           39,120          40,111        41,482 42,035 42,245                   2.5       3.4       1.3       0.5

     ภูมิภาค          73,078          78,118        83,268 87,755 90,944                   6.9       6.6       5.4       3.6

 ลูกคาตรง EGAT        2,128           2,409          2,487          2,702    2,836     13.2         3.2       8.6       4.9

       รวม            114,326 120,637 127,237 132,492136,025 5.5                                     5.5       4.1       2.5


                                                                                                                     * เบื้องตน

        ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน


Peak Load
        พีคโลด (PEAK LOAD) คือ ปริมาณไฟฟาที่ตองการใชสูงสุด
                                              

       โดยในป 2551 ประเทศไทยมีความตองการไฟฟาสูงสุด ในวันที่ 21 เมษายน 2551 ที่
ระดับ 22,568 เมกะวัตต ซึ่งต่ํากวาความตองการไฟฟาสูงสุดของป 2550 ซึ่งอยูที่ระดับ 22,586
เมกะวัตต ลดลงรอยละ 8.0
                               ความตองการพลังไฟฟาสูงสุดของ กฟผ.
                                    (Peak Demand of EGAT)


   เมกะวัตต(MW)
    24,000

                                                24 เมษายน 2550 (22,586 MW)
                                                21 เมษายน 2551 (22,568 MW)
    22,000



    20,000




    18,000



    16,000



    14,000
               ม.ค.   ก.พ.    มี.ค.     เม.ย.      พ.ค.      มิ.ย.    ก.ค.   ส.ค.   ก.ย.      ต.ค.      พ.ย.    ธ.ค.

                               2545        2546           2547       2548    2549     2550       2551
                                                                                                                          4
                ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
ชวงเวลาที่ใชไฟฟาสูงสุดอยูที่เวลาประมาณ 14.00 – 20.00 น. ซึ่งความตองการใชไฟฟา
                                     
ของผูใชไฟฟาแตละกลุมจะมีความแตกตางกันไป ตัวอยางเชน บานเรือน ธุรกิจขนาดเล็ก ธุรกิจ
บางประเภท เชน โรงแรม ใชไฟมากชวงหัวค่ํา โรงงานขนาดใหญใชไฟสม่ําเสมอตลอดทั้งวัน ธุรกิจ
ขนาดใหญใชไฟมากชวงบาย

       ปริมาณการใชไฟฟาของทั้งประเทศไมไดคงที่ตลอดทั้งวัน ดังนั้น ปริมาณไฟฟาที่ใช
สูงสุด หรือ พีคโลด จะเปนตัวกําหนดกําลังการผลิตไฟฟาและการสรางโรงไฟฟาของ
ประเทศ เพื่อใหมีกําลังไฟฟาเพียงพอ แมในเวลาที่ตองการใชไฟฟาสูงสุด
                                                 

                                       ลักษณะการใชไฟฟา

              โรงงานอุตสาหกรรม




                                                                          ที่อยูอาศัย




           ที่มา: การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

                                                                                          5
ปริมาณไฟฟาสํารอง
        ไฟฟาสํารอง คือปริมาณไฟฟาที่วางแผนการผลิตใหมากกวาปริมาณความตองการใชใน
เวลาปกติจํานวนหนึ่ง เนื่องจากการกอสรางโรงไฟฟาตองใชเวลานาน และปริมาณความตองการ
ใชไฟฟาของประเทศคาดการณไดยาก ถามีปริมาณไฟฟาสํารองไมเพียงพอกับความตองการ
อาจสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศได เชน โรงงานอุตสาหกรรมตองหยุดการผลิต เพราะ
ไมมีไฟฟาใช เปนตน

        การทํานายปริมาณไฟฟาสํารองนี้ ตองใชขอมูล เกี่ยวกับความตองการไฟฟาในอดีต และ
ปจจุบัน กําลังการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาตางๆ ที่มีอยูในประเทศ การหยุดซอมของโรงไฟฟา
และระยะเวลาในการกอสรางโรงไฟฟาใหม มาใชคํานวณ เพื่อคาดการณปริมาณไฟฟาที่ตองการ
ผลิตไดทั้งหมด




                                                   ปริมาณไฟฟาสํารอง




                 กําลังการผลิตติดตั้ง                         ความตองการไฟฟาสูงสุด

        ที่มา: การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย




                                                                                       6
ในป 2550 ประเทศไทยมีกําลังการผลิตสํารองไฟฟาต่ําสุดอยูที่ระดับ รอยละ 20.4




 ที่มา : วารสารนโยบายพลังงานฉบับที่ 79



ผูผลิตไฟฟาในประเทศไทยและกําลังผลิต
                  กําลังการผลิตไฟฟาป 2551 แยกตามประเภทผูผลิต



                                                       IPP 12,151 MW (41%)



           กฟผ. 15,021 MW (50%)




                                                              SPP 2,079 MW (7%)




                                                       นําเขาและแลกเปลี่ยน 640 MW (2%)


                                    รวม 29,892 MW

                    ที่มา: สํานักนโยบายและแผนพลังงาน



                                                                                          7
ในป 2551 โรงไฟฟาในประเทศไทยมีกําลังการผลิตติดตั้ง รวมทั้งสิ้น 29,892 เมกะวัตต
 โดยแบงตามประเภทผูผลิตไฟฟาไดดังนี้

        1) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เปนเจาของระบบผลิตไฟฟาที่มีกําลัง
 ผลิตรวมประมาณครึ่งหนึ่ง (รอยละ50) ของกําลังผลิตทั้งหมด รวมทั้งเปนเจาของระบบสายสงดวย
 โดยในป 2551 กฟผ. มีกําลังผลิต 15,021 เมกะวัตต




                   การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.)เปนเจาของโรงไฟฟาหลักๆ และ
                                        ระบบสายสงของประเทศ
                               ( ภาพ : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย)




         กฟผ. จะขายไฟฟาใหกับการไฟฟาฝายจําหนาย ซึ่งมี 2 ราย คือ การไฟฟานครหลวง
 (กฟน.) รับผิดชอบการจําหนายไฟฟาใหแกผูบริโภคในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล และการไฟฟา
 สวนภูมิภาค (กฟภ.) รับผิดชอบการจําหนายไฟฟาใหแก ผูบริโภคในสวนที่เหลือของประเทศ




การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย           การไฟฟานครหลวง                     การไฟฟาสวนภูมภาค
                                                                                           ิ
            (กฟผ.)                           (กฟน.)                               (กฟภ.)




                                                                                            8
2) ผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญ (Independent Power Producer : IPP) มีกําลังการ
ผลิตติดตั้งรวม 12,151 เมกะวัตต หรือรอยละ 41 ของกําลังการผลิตทั้งประเทศ จะจําหนายไฟฟา
ใหแกการไฟฟาทั้ง 3 แหง คือ กฟผ. กฟน.และกฟภ. ภายใตสัญญารับซื้อไฟฟา นอกจากนี้ ยัง
สามารถจําหนายไฟฟาใหแกผูใชไฟฟาที่อยูในบริเวณใกลเคียงผูผลิตไฟฟาเอกชนรายนั้นๆ ดวย



                                                              โรงไฟฟา BLCP เปนโรงไฟฟาIPP
                                                              ตั้งอยูที่ อ.มาบตาพุด จ.ระยอง ใช
                                                              ถานหินเปนเชื้อเพลิง




                                                              โรงไฟฟาบริษัท ไตร เอนเนอจี้ จํากัด
                                                              เปนโรงไฟฟาIPP ตั้งอยูที่ อ.เมือง จ.
                                                              ราชบุรี ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง
                                                              เปนโรงไฟฟาพลังความรอนรวม
                                                              ( ภาพ : leopetrochem.com )




         3) ผูผลิตไฟฟารายเล็ก (Small Power Producer :SPP) คือ เอกชนผูผลิตไฟฟาราย
เล็ก ที่มีปริมาณพลังไฟฟารับซื้อ 10 – 90 เมกะวัตต และผูผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก (Very
Small Power Producer : VSPP) มีปริมาณพลังไฟฟารับซื้อ 10 เมกะวัตต ในป 2551 มีปริมาณ
พลังไฟฟารับซื้อรวมไมเกิน 2,079 เมกะวัตต คิดเปนรอยละ 7 ของกําลังการผลิตทั้งประเทศ




                                                                                               9
โรงไฟฟาดานชาง ไบโอเอ็นเนอรยี่ เปนโรงไฟฟาSPPที่   โรงไฟฟาสุรินทร เปนโรงไฟฟาVSPP ใชชานออย
   ใชชานออยเปนเชื้อเพลิง ขายไฟฟาเขาระบบ 27 MW       เปนเชื้อเพลิง ขายไฟฟาเขาระบบ 8 MW ตั้งอยูที่
        ตั้งอยูที่อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี                อําเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร



       4) นํ า เข า จากสาธารณรั ฐ ประชาชนลาวและไฟฟ า แลกเปลี่ ย นกั บ ประเทศ
มาเลเซีย รวมกําลังผลิต 640 เมกะวัตต หรือรอยละ 2 ของกําลังการผลิตรวมของประเทศ




                                                               ประเทศไทยนําเขาไฟฟาที่
                                                               ผลิตจากเขื่อนในสปป.ลาว




                                                                                               10
ประเภทโรงไฟฟา
      โรงไฟฟาสามารถแยกประเภทตามลักษณะกระบวนการผลิต ไดดังนี้

     1. โรงไฟฟาพลังน้ํา เปนการนําทรัพยากรน้ํามาใชใหเกิดประโยชนในการผลิตไฟฟา
โดยอาศัยความเร็วและแรงดันสูงมาหมุนกังหันน้ํา มี 3 แบบ ดังนี้
          (1) แบบอ า งเก็ บน้ํ า คือ การใชแ รงดัน น้ํา ที่มีระดับตางกั นไปขับเคลื่ อ นกัง หัน น้ํา
              (Turbine) และเครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator)
          (2) แบบสูบน้ํากลับ คือ การใชประโยชนจากพลังงานไฟฟาที่เหลือในชวงที่ความ
              ตองการใชไฟฟาต่ําไปสูบน้ําที่ปลอยจากอางน้ํามาแลวกลับขึ้นไปเก็บไวในอาง
              เพื่อใชผลิตไฟฟาในชวงที่มีความตองการใชไฟฟา
          (3) แบบน้ําไหลกลับ คือ การใชน้ําที่ไหลตามลําน้ําธรรมชาติมาหมุนเครื่องกังหันน้ํา
              และเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ติดตั้งอยูที่ระดับที่ต่ํากวา โรงไฟฟาแบบนี้สวนใหญจะมี
              กําลังผลิตไมสูง โดยขึ้นอยูกับปริมาณที่น้ําไหลตามธรรมชาติ


                                           หลักการผลิตไฟฟาพลังน้า
                                                                 ํ




                                     ( ภาพ : www.energymanagertraining.com )


                                                                                                  11
โรงไฟฟาพลังน้ําเขื่อนภูมพล    ิ
                                                                       เขื่อนภูมิพล เปนเขื่อนอเนกประสงค
                                                             แหงแรกของประเทศไทย และสรางเปนเขื่อน
                                                             คอนกรีตโคงเพียงแหงเดียวของประเทศ สราง
                                                             ปดลําน้ําปง ที่อําเภอสามเงา จังหวัดตาก
                                                             นอกจากใชประโยชนดานผลิตไฟฟาแลว ยังใช
                                                             ประโยชนดานชลประทาน บรรเทาอุทกภัย เปน
                                                                           
                                                             แหลงประมงและแหลงทองเที่ยว




                                                             โรงไฟฟาพลังน้ําเขื่อนปากมูล
                                                                       เขื่อนปากมูล เปนเขื่อนทดน้ํา ไมใช
                                                             เขื่อนเก็บกักน้า เนื่องจากมีความสูงเพียง 17
                                                                             ํ
                                                             เมตร สรางปดกั้นแมน้ํามูลทีอําเภอโขงเจียม
                                                                                          ่
                                                             จังหวัดอุบลราชธานี ผลิตไฟฟาเพื่อชวยเสริม
                                                             ความมันคงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                     ่

( ภาพ : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย )



      2. โรงไฟฟาพลังงานธรรมชาติ ไดแก พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม และ
พลังงานความรอนใตพิภพ เปนตน




                                     กังหันลม แหลมพรหมเทพ         โรงไฟฟาพลังความรอนใตพิภพฝาง
   เซลลแสงอาทิตยผาบอง
                                             จ.ภูเก็ต                       จ.เชียงใหม
       จ.แมฮองสอน
                                           ( ภาพ : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย)
                                                                                           12
3. โรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิง
         - โรงไฟฟาพลังไอน้ํา เปนการแปรสภาพพลังงานเชื้อเพลิงไปเปนพลังงานไฟฟาโดยใช
ไอน้ําเปนตัวกลาง ปจจุบันประเทศไทยใชกาซธรรมชาติ ถานลิกไนต และน้ํามันเตา เปนเชื้อเพลิง
ตมน้ําในหมอน้ํา (Boiler) จนกลายเปนไอน้ํา แลวสงไอน้ําไปขับดันกังหันไอน้ํา (Steam Turbine)
ซึ่งมีเพลาตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟาเพื่อผลิตไฟฟาตอไป

              สําหรับในตางประเทศ นอกจากเชื้อเพลิงที่ประเทศไทยใชอยู ยังมีการใชเชื้อเพลิง
นิวเคลียร ถานหินคุณภาพดี เชน แอนทราไซต และบิทมินัส เปนตน
                                                  ู
                              การทํางานของโรงไฟฟาพลังไอน้ํา




                    ( ภาพ : www.std.kku.ac.th )


      - โรงไฟฟาพลังความรอน ใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติ หรือน้ํามันดีเซลมาสันดาปกับ
อากาศที่มีความดันสูง ทําใหเกิดพลังงานความรอนมาใชขับเคลื่อนเครื่องกําเนิดไฟฟา โรงไฟฟา
ประเภทนี้ ไดแก
                 • โรงไฟฟากังหันกาซ ใชกาซธรรมชาติ หรือน้ํามันดีเซลมาสันดาปกับอากาศที่
                   มีความดั นสูง ทําใหเกิดพลังงานความรอนมาใช ขับเคลื่อนเครื่องกําเนิ ด
                   ไฟฟาของโรงไฟฟาตอไป




                                                                                              13
การทํางานของโรงไฟฟากังหันกาซ




                         ( ภาพ : www.std.kku.ac.th )

• โรงไฟฟาพลังความรอนรวม เปนโรงไฟฟาที่ประกอบดวยโรงไฟฟา 2 ระบบ
  รวมกัน คือ โรงไฟฟากังหันแกสและโรงไฟฟากังหันไอน้ํา โดยนําความรอน
  จากไอเสียที่ออกจากเครื่องกังหันแกสซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึงประมาณ 550 องศา
  เซลเซียส มาใชแทนเชื้อเพลิงในการตมน้ําของโรงไฟฟากังหันไอน้ํา เพื่อใชไอ
  เสียใหเกิดประโยชน

• โรงไฟฟาดีเซล เปนโรงไฟฟาพลังความรอนอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งใชน้ํามันเปน
  เชื้อเพลิง มีหลักการทํางานเหมือนกับเครื่องยนตในรถยนตทั่วไป โดยอาศัย
  หลักการสันดาปของน้ํามันดีเซลที่ถูกฉีดเขาไปในกระบอกสูบของเครื่องยนต
  ที่ถูกอัดอากาศจนมีอุณหภูมิสูง ซึ่งเราเรียกวาจังหวะอัด ในขณะเดียวกัน
  น้ํามันดีเซลที่ถูกฉีดเขาไปจะเกิด
  การสั น ดาปกั บ ความร อ นและ
  เกิดระเบิด ดันใหลูกสูบเคลื่อนที่
  ลงไปหมุนเพลาขอเหวี่ยงซึ่งตอ
  กับเพลาของเครื่องยนต ทําให
  เพลาของเครื่องยนตหมุน เครื่อง
  กําเนิดไฟฟาซึ่งเชื่อมตอกับเพลา
  ของเครื่ อ งยนต ก็ จ ะหมุ น ตาม            เครื่องยนตในโรงไฟฟาดีเซล
  และผลิตไฟฟาออกมา                          ( ภาพ : www.std.kku.ac.th)


                                                                        14
ตัวอยางโรงไฟฟาที่อยูในความรับผิดชอบของ กฟผ.




    โรงไฟฟาน้ําพอง เปนโรงไฟฟาพลัง                  โรงไฟฟาบางปะกง เปนโรงไฟฟาพลัง
  ความรอนรวมที่ใชกาซธรรมชาติเปน                   ความรอนรวมที่ใชกาซธรรมชาติเปน
เชื้อเพลิง ตั้งอยูที่ อ.น้ําพอง จ.ขอนแกน               เชื้อเพลิง ตั้งอยูที่ อ.บางปะกง
                                                                   จ.ฉะเชิงเทรา




โรงไฟฟาแมเมาะ เปนโรงไฟฟาพลัง                      โรงไฟฟาวังนอย เปนโรงไฟฟาพลัง
 ความรอนที่ใชลิกไนตเปนเชื้อเพลิง                  ความรอนรวมที่ใชกาซธรรมชาติเปน
   ตั้งอยูที่ อ.แมเมาะ จ.ลําปาง                    เชื้อเพลิง ตั้งอยูที่ อ.วังนอย จ.อยุธยา
  ( ภาพ : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย)




          ( ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย)                                               15
เชื้อเพลิงที่ใชในการผลิตไฟฟา
        ประเทศไทยมีการใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาหลายประเภทในสัดสวนที่แตกตางกัน ซึง่
ปจจุบันประเทศไทยพึงพากาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟาสูงมาก จากขอมูลของสํานักงาน
                    ่
นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน พบวา การผลิตพลังงานไฟฟาในป
2551 ทั้งหมด 148,790 กิกะวัตตช่วโมง (GWh ) เมื่อแยกตามประเภทเชื้อเพลิงมีสัดสวนกาซ
                                 ั
ธรรมชาติถึง รอยละ 70 รองลงมาเปนถานหิน และลิกไนต รอยละ 20 พลังน้ํา รอยละ 5 รับซื้อ
จากตางประเทศ รอยละ 2 พลังงานหมุนเวียน รอยละ 2 และน้ํามัน รอยละ 1



                        สัดสวนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาของไทย
                                                 ป 2551


                                            น้ํามัน
                                             1%
                  ลิกไนต/ถานหิน
                       20%




         พลังงานหมุนเวียน
               2%


               พลังงานน้ํา
                  5%
                    นําเขา
                     2%
                                                                 กาซธรรมชาติ
                                                                     70%



         ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน




                                                                                     16
โรงไฟฟา และกําลังผลิตติดตั้งที่ กฟผ.รับผิดชอบ




ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย




                                                                     17
โรงไฟฟา และกําลังผลิตติดตั้งที่ กฟผ.รับผิดชอบ (ตอ)




ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย



                                                                            18
การรับซื้อไฟฟาจากตางประเทศ จากผูผลิตไฟฟาอิสระ และผูผลิตไฟฟารายเล็ก




ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

                                                                                   19
โครงขายระบบผลิตไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย




ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
                                                             20

More Related Content

Viewers also liked

2sistemacirculatorio 140424114425-phpapp02
2sistemacirculatorio 140424114425-phpapp022sistemacirculatorio 140424114425-phpapp02
2sistemacirculatorio 140424114425-phpapp02Cintya Reyes
 
Vastgoedin Marokko E Zine Nov 2010
Vastgoedin Marokko E Zine Nov 2010Vastgoedin Marokko E Zine Nov 2010
Vastgoedin Marokko E Zine Nov 2010VastgoedinMarokko
 
Oinarrizko akotazioa-dbh3
Oinarrizko akotazioa-dbh3Oinarrizko akotazioa-dbh3
Oinarrizko akotazioa-dbh3Andere Garcia
 
Klima aldaketa osasuna
Klima aldaketa osasunaKlima aldaketa osasuna
Klima aldaketa osasunasanjoseweb
 
El tractament de les varietats dialectals pel professorat de català com a lle...
El tractament de les varietats dialectals pel professorat de català com a lle...El tractament de les varietats dialectals pel professorat de català com a lle...
El tractament de les varietats dialectals pel professorat de català com a lle...Sergi BarcelóTrigueros
 
Poemas Para Ti Camille Skaff
Poemas Para Ti   Camille SkaffPoemas Para Ti   Camille Skaff
Poemas Para Ti Camille SkaffCamille Skaff
 
Presentació d'ungles
Presentació d'ungles Presentació d'ungles
Presentació d'ungles andreaa335
 

Viewers also liked (9)

2sistemacirculatorio 140424114425-phpapp02
2sistemacirculatorio 140424114425-phpapp022sistemacirculatorio 140424114425-phpapp02
2sistemacirculatorio 140424114425-phpapp02
 
HISTORIA DEL INTERNET
HISTORIA DEL INTERNETHISTORIA DEL INTERNET
HISTORIA DEL INTERNET
 
Vastgoedin Marokko E Zine Nov 2010
Vastgoedin Marokko E Zine Nov 2010Vastgoedin Marokko E Zine Nov 2010
Vastgoedin Marokko E Zine Nov 2010
 
000
000000
000
 
Oinarrizko akotazioa-dbh3
Oinarrizko akotazioa-dbh3Oinarrizko akotazioa-dbh3
Oinarrizko akotazioa-dbh3
 
Klima aldaketa osasuna
Klima aldaketa osasunaKlima aldaketa osasuna
Klima aldaketa osasuna
 
El tractament de les varietats dialectals pel professorat de català com a lle...
El tractament de les varietats dialectals pel professorat de català com a lle...El tractament de les varietats dialectals pel professorat de català com a lle...
El tractament de les varietats dialectals pel professorat de català com a lle...
 
Poemas Para Ti Camille Skaff
Poemas Para Ti   Camille SkaffPoemas Para Ti   Camille Skaff
Poemas Para Ti Camille Skaff
 
Presentació d'ungles
Presentació d'ungles Presentació d'ungles
Presentació d'ungles
 

More from Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 

03.สถานการณ์ไฟฟ้า

  • 1. ไฟฟา ไฟฟากับการดําเนินชีวิตของคนไทย ไฟฟ า เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ยิ่ ง ต อ การดํ า เนิ น ชี วิ ต และการดํ า เนิ น กิ จ กรรมต า งๆ ทั้ ง ใน ภาคอุตสาหกรรม ภาคครัวเรือน และภาคการเกษตร ลวนตองใชพลังงานไฟฟาแทบทั้งสิ้น จากปริมาณความตองการใชไฟฟาของประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นปละ 1,400 เมกะวัตต และ ในอนาคตจะมี เ พิ่ ม ขึ้ น เปน ป ล ะ 17,000 เมกะวั ต ต หรือ อาจอธิบ ายง า ยๆ ได ว า ประเทศไทย จําเปนตองมีโรงไฟฟาใหมใหเกิดขึ้นอยางนอยปละ 2 โรง กราฟแนวโนมความตองการใชไฟฟาทีเพิ่มขึ้น ่ หนวย : เมกะวัตต ความต องการไฟฟ า 20000 15000 10000 5000 0 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 ที่มา : สํานักยุทธศาสตร กระทรวงพลังงาน ป 1
  • 2. การใชไฟฟาแยกตามกลุมผูใช ผู ใ ช ไ ฟฟ า ในประเทศไทยแบ ง เป น กลุ ม ใหญ ๆ ได แ ก กลุ ม บ า นและที่ อ ยู อ าศั ย ธุ ร กิ จ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และอื่น ๆ จากรายงานของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ระบุวาปริมาณการใชไฟฟาในป 2551 อยูที่ระดับ 136,025 กิกะวัตตชั่วโมง(GWh) แยกปริมาณการใชไฟฟา ตามประเภทของผูใช ดังนี้ • สาขาอุตสาหกรรม มีสัดสวนการใชมากที่สุด รอยละ 44.7 ของการใชทั้งประเทศ โดยมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นรอยละ 2.2 เมื่อเทียบกับป 2550 • สาขาธุรกิจ มีสัดสวนการใชไฟฟา รอยละ 24.5 การใชไฟฟาเพิ่มขึ้น รอยละ 1.6 เมื่อเทียบกับป 2550 • สาขาบานและที่อยูอาศัย มีสัดสวนการใชไฟฟา รอยละ 21.4 การใชเพิ่มขึ้น รอยละ 4.1 เมื่อเทียบกับป 2550 • สาขาเกษตรกรรมและอื่นๆ มีสัดสวนการใชไฟฟารวม รอยละ 9.3 โดยสาขา เกษตรกรรมมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้น รอยละ 3.7 และอื่นๆ มีการใชเพิ่มขึ้น รอยละ 3.7 เมื่อเทียบกับป 2550 ปริมาณการใชไฟฟา แยกตามประเภทผูใชไฟฟา ป 2551 ธุรกิจ 24.5% บ านอยูอาศัย 21.4% เกษตรกรรม และอื่นๆ 9.3% อุต สาหกรรม 44.7% ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน 2
  • 3. ปริมาณการใชไฟฟาแยกตามกลุมผูใช หนวย : กิกะวัตต-ชั่วโมง อัตราการเปลี่ยนแปลง ป (%) 2548 2549 2550 2551* 2550 2551* กลุมผูใช   บานและที่อยูอาศัย 25,514 26,915 27,960 29,121 3.9 4.1 ธุรกิจ 30,164 31,702 32,839 33,394 3.6 1.6 อุตสาหกรรม 53,894 56,995 59,436 60,793 4.3 2.2 เกษตรกรรม 250 240 268 278 11.5 3.7 อื่นๆ 10,815 11,385 11,989 12,439 5.3 3.7 รวม 120,637 127,237 132,492 136,025 4.1 2.5 ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน การใชไฟฟาแยกตามภูมิภาค ป 2551 • การใชไฟฟาในเขตนครหลวง อยูที่ระดับ 42,245 กิกะวัตต-ชั่วโมง เพิ่มขึ้นรอยละ 0.5 เมื่อเทียบกับป 2550 • การใชไฟฟาในเขตภูมิภาค อยูที่ระดับ 90,944 กิกะวัตต-ชั่วโมง เพิ่มขึ้นรอยละ 3.6 เมื่อเทียบกับป 2550 • ลูกคาตรงการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) อยูที่ระดับ 2,836 กิกะวัตต- ชั่วโมง เพิ่มขึ้นรอยละ 4.9 เมื่อเทียบกับป 2550 ปริมาณการใชไฟฟาแยกตามภูมิภาค ป 2551 เขตนครหลวง 31% เขตภูมิภาค 67% ลูกคาตรง กฟผ. 2% ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน 3
  • 4. ปริมาณการใชไฟฟาแยกตามภูมิภาค หนวย : กิกะวัตต-ชัวโมง ่ ป อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 2547 2548 2549 2550 2551* ภูมิภาค 2548 2549 2550 2551* นครหลวง 39,120 40,111 41,482 42,035 42,245 2.5 3.4 1.3 0.5 ภูมิภาค 73,078 78,118 83,268 87,755 90,944 6.9 6.6 5.4 3.6 ลูกคาตรง EGAT 2,128 2,409 2,487 2,702 2,836 13.2 3.2 8.6 4.9 รวม 114,326 120,637 127,237 132,492136,025 5.5 5.5 4.1 2.5 * เบื้องตน ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน Peak Load พีคโลด (PEAK LOAD) คือ ปริมาณไฟฟาที่ตองการใชสูงสุด  โดยในป 2551 ประเทศไทยมีความตองการไฟฟาสูงสุด ในวันที่ 21 เมษายน 2551 ที่ ระดับ 22,568 เมกะวัตต ซึ่งต่ํากวาความตองการไฟฟาสูงสุดของป 2550 ซึ่งอยูที่ระดับ 22,586 เมกะวัตต ลดลงรอยละ 8.0 ความตองการพลังไฟฟาสูงสุดของ กฟผ. (Peak Demand of EGAT) เมกะวัตต(MW) 24,000 24 เมษายน 2550 (22,586 MW) 21 เมษายน 2551 (22,568 MW) 22,000 20,000 18,000 16,000 14,000 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 4 ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
  • 5. ชวงเวลาที่ใชไฟฟาสูงสุดอยูที่เวลาประมาณ 14.00 – 20.00 น. ซึ่งความตองการใชไฟฟา  ของผูใชไฟฟาแตละกลุมจะมีความแตกตางกันไป ตัวอยางเชน บานเรือน ธุรกิจขนาดเล็ก ธุรกิจ บางประเภท เชน โรงแรม ใชไฟมากชวงหัวค่ํา โรงงานขนาดใหญใชไฟสม่ําเสมอตลอดทั้งวัน ธุรกิจ ขนาดใหญใชไฟมากชวงบาย ปริมาณการใชไฟฟาของทั้งประเทศไมไดคงที่ตลอดทั้งวัน ดังนั้น ปริมาณไฟฟาที่ใช สูงสุด หรือ พีคโลด จะเปนตัวกําหนดกําลังการผลิตไฟฟาและการสรางโรงไฟฟาของ ประเทศ เพื่อใหมีกําลังไฟฟาเพียงพอ แมในเวลาที่ตองการใชไฟฟาสูงสุด  ลักษณะการใชไฟฟา โรงงานอุตสาหกรรม ที่อยูอาศัย ที่มา: การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 5
  • 6. ปริมาณไฟฟาสํารอง ไฟฟาสํารอง คือปริมาณไฟฟาที่วางแผนการผลิตใหมากกวาปริมาณความตองการใชใน เวลาปกติจํานวนหนึ่ง เนื่องจากการกอสรางโรงไฟฟาตองใชเวลานาน และปริมาณความตองการ ใชไฟฟาของประเทศคาดการณไดยาก ถามีปริมาณไฟฟาสํารองไมเพียงพอกับความตองการ อาจสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศได เชน โรงงานอุตสาหกรรมตองหยุดการผลิต เพราะ ไมมีไฟฟาใช เปนตน การทํานายปริมาณไฟฟาสํารองนี้ ตองใชขอมูล เกี่ยวกับความตองการไฟฟาในอดีต และ ปจจุบัน กําลังการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาตางๆ ที่มีอยูในประเทศ การหยุดซอมของโรงไฟฟา และระยะเวลาในการกอสรางโรงไฟฟาใหม มาใชคํานวณ เพื่อคาดการณปริมาณไฟฟาที่ตองการ ผลิตไดทั้งหมด ปริมาณไฟฟาสํารอง กําลังการผลิตติดตั้ง ความตองการไฟฟาสูงสุด ที่มา: การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 6
  • 7. ในป 2550 ประเทศไทยมีกําลังการผลิตสํารองไฟฟาต่ําสุดอยูที่ระดับ รอยละ 20.4 ที่มา : วารสารนโยบายพลังงานฉบับที่ 79 ผูผลิตไฟฟาในประเทศไทยและกําลังผลิต กําลังการผลิตไฟฟาป 2551 แยกตามประเภทผูผลิต IPP 12,151 MW (41%) กฟผ. 15,021 MW (50%) SPP 2,079 MW (7%) นําเขาและแลกเปลี่ยน 640 MW (2%) รวม 29,892 MW ที่มา: สํานักนโยบายและแผนพลังงาน 7
  • 8. ในป 2551 โรงไฟฟาในประเทศไทยมีกําลังการผลิตติดตั้ง รวมทั้งสิ้น 29,892 เมกะวัตต โดยแบงตามประเภทผูผลิตไฟฟาไดดังนี้ 1) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เปนเจาของระบบผลิตไฟฟาที่มีกําลัง ผลิตรวมประมาณครึ่งหนึ่ง (รอยละ50) ของกําลังผลิตทั้งหมด รวมทั้งเปนเจาของระบบสายสงดวย โดยในป 2551 กฟผ. มีกําลังผลิต 15,021 เมกะวัตต การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.)เปนเจาของโรงไฟฟาหลักๆ และ ระบบสายสงของประเทศ ( ภาพ : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย) กฟผ. จะขายไฟฟาใหกับการไฟฟาฝายจําหนาย ซึ่งมี 2 ราย คือ การไฟฟานครหลวง (กฟน.) รับผิดชอบการจําหนายไฟฟาใหแกผูบริโภคในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล และการไฟฟา สวนภูมิภาค (กฟภ.) รับผิดชอบการจําหนายไฟฟาใหแก ผูบริโภคในสวนที่เหลือของประเทศ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมภาค ิ (กฟผ.) (กฟน.) (กฟภ.) 8
  • 9. 2) ผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญ (Independent Power Producer : IPP) มีกําลังการ ผลิตติดตั้งรวม 12,151 เมกะวัตต หรือรอยละ 41 ของกําลังการผลิตทั้งประเทศ จะจําหนายไฟฟา ใหแกการไฟฟาทั้ง 3 แหง คือ กฟผ. กฟน.และกฟภ. ภายใตสัญญารับซื้อไฟฟา นอกจากนี้ ยัง สามารถจําหนายไฟฟาใหแกผูใชไฟฟาที่อยูในบริเวณใกลเคียงผูผลิตไฟฟาเอกชนรายนั้นๆ ดวย โรงไฟฟา BLCP เปนโรงไฟฟาIPP ตั้งอยูที่ อ.มาบตาพุด จ.ระยอง ใช ถานหินเปนเชื้อเพลิง โรงไฟฟาบริษัท ไตร เอนเนอจี้ จํากัด เปนโรงไฟฟาIPP ตั้งอยูที่ อ.เมือง จ. ราชบุรี ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง เปนโรงไฟฟาพลังความรอนรวม ( ภาพ : leopetrochem.com ) 3) ผูผลิตไฟฟารายเล็ก (Small Power Producer :SPP) คือ เอกชนผูผลิตไฟฟาราย เล็ก ที่มีปริมาณพลังไฟฟารับซื้อ 10 – 90 เมกะวัตต และผูผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก (Very Small Power Producer : VSPP) มีปริมาณพลังไฟฟารับซื้อ 10 เมกะวัตต ในป 2551 มีปริมาณ พลังไฟฟารับซื้อรวมไมเกิน 2,079 เมกะวัตต คิดเปนรอยละ 7 ของกําลังการผลิตทั้งประเทศ 9
  • 10. โรงไฟฟาดานชาง ไบโอเอ็นเนอรยี่ เปนโรงไฟฟาSPPที่ โรงไฟฟาสุรินทร เปนโรงไฟฟาVSPP ใชชานออย ใชชานออยเปนเชื้อเพลิง ขายไฟฟาเขาระบบ 27 MW เปนเชื้อเพลิง ขายไฟฟาเขาระบบ 8 MW ตั้งอยูที่ ตั้งอยูที่อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี อําเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร 4) นํ า เข า จากสาธารณรั ฐ ประชาชนลาวและไฟฟ า แลกเปลี่ ย นกั บ ประเทศ มาเลเซีย รวมกําลังผลิต 640 เมกะวัตต หรือรอยละ 2 ของกําลังการผลิตรวมของประเทศ ประเทศไทยนําเขาไฟฟาที่ ผลิตจากเขื่อนในสปป.ลาว 10
  • 11. ประเภทโรงไฟฟา โรงไฟฟาสามารถแยกประเภทตามลักษณะกระบวนการผลิต ไดดังนี้ 1. โรงไฟฟาพลังน้ํา เปนการนําทรัพยากรน้ํามาใชใหเกิดประโยชนในการผลิตไฟฟา โดยอาศัยความเร็วและแรงดันสูงมาหมุนกังหันน้ํา มี 3 แบบ ดังนี้ (1) แบบอ า งเก็ บน้ํ า คือ การใชแ รงดัน น้ํา ที่มีระดับตางกั นไปขับเคลื่ อ นกัง หัน น้ํา (Turbine) และเครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) (2) แบบสูบน้ํากลับ คือ การใชประโยชนจากพลังงานไฟฟาที่เหลือในชวงที่ความ ตองการใชไฟฟาต่ําไปสูบน้ําที่ปลอยจากอางน้ํามาแลวกลับขึ้นไปเก็บไวในอาง เพื่อใชผลิตไฟฟาในชวงที่มีความตองการใชไฟฟา (3) แบบน้ําไหลกลับ คือ การใชน้ําที่ไหลตามลําน้ําธรรมชาติมาหมุนเครื่องกังหันน้ํา และเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ติดตั้งอยูที่ระดับที่ต่ํากวา โรงไฟฟาแบบนี้สวนใหญจะมี กําลังผลิตไมสูง โดยขึ้นอยูกับปริมาณที่น้ําไหลตามธรรมชาติ หลักการผลิตไฟฟาพลังน้า ํ ( ภาพ : www.energymanagertraining.com ) 11
  • 12. โรงไฟฟาพลังน้ําเขื่อนภูมพล ิ เขื่อนภูมิพล เปนเขื่อนอเนกประสงค แหงแรกของประเทศไทย และสรางเปนเขื่อน คอนกรีตโคงเพียงแหงเดียวของประเทศ สราง ปดลําน้ําปง ที่อําเภอสามเงา จังหวัดตาก นอกจากใชประโยชนดานผลิตไฟฟาแลว ยังใช ประโยชนดานชลประทาน บรรเทาอุทกภัย เปน  แหลงประมงและแหลงทองเที่ยว โรงไฟฟาพลังน้ําเขื่อนปากมูล เขื่อนปากมูล เปนเขื่อนทดน้ํา ไมใช เขื่อนเก็บกักน้า เนื่องจากมีความสูงเพียง 17 ํ เมตร สรางปดกั้นแมน้ํามูลทีอําเภอโขงเจียม ่ จังหวัดอุบลราชธานี ผลิตไฟฟาเพื่อชวยเสริม ความมันคงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ่ ( ภาพ : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ) 2. โรงไฟฟาพลังงานธรรมชาติ ไดแก พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม และ พลังงานความรอนใตพิภพ เปนตน กังหันลม แหลมพรหมเทพ โรงไฟฟาพลังความรอนใตพิภพฝาง เซลลแสงอาทิตยผาบอง จ.ภูเก็ต จ.เชียงใหม จ.แมฮองสอน ( ภาพ : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย) 12
  • 13. 3. โรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิง - โรงไฟฟาพลังไอน้ํา เปนการแปรสภาพพลังงานเชื้อเพลิงไปเปนพลังงานไฟฟาโดยใช ไอน้ําเปนตัวกลาง ปจจุบันประเทศไทยใชกาซธรรมชาติ ถานลิกไนต และน้ํามันเตา เปนเชื้อเพลิง ตมน้ําในหมอน้ํา (Boiler) จนกลายเปนไอน้ํา แลวสงไอน้ําไปขับดันกังหันไอน้ํา (Steam Turbine) ซึ่งมีเพลาตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟาเพื่อผลิตไฟฟาตอไป สําหรับในตางประเทศ นอกจากเชื้อเพลิงที่ประเทศไทยใชอยู ยังมีการใชเชื้อเพลิง นิวเคลียร ถานหินคุณภาพดี เชน แอนทราไซต และบิทมินัส เปนตน ู การทํางานของโรงไฟฟาพลังไอน้ํา ( ภาพ : www.std.kku.ac.th ) - โรงไฟฟาพลังความรอน ใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติ หรือน้ํามันดีเซลมาสันดาปกับ อากาศที่มีความดันสูง ทําใหเกิดพลังงานความรอนมาใชขับเคลื่อนเครื่องกําเนิดไฟฟา โรงไฟฟา ประเภทนี้ ไดแก • โรงไฟฟากังหันกาซ ใชกาซธรรมชาติ หรือน้ํามันดีเซลมาสันดาปกับอากาศที่ มีความดั นสูง ทําใหเกิดพลังงานความรอนมาใช ขับเคลื่อนเครื่องกําเนิ ด ไฟฟาของโรงไฟฟาตอไป 13
  • 14. การทํางานของโรงไฟฟากังหันกาซ ( ภาพ : www.std.kku.ac.th ) • โรงไฟฟาพลังความรอนรวม เปนโรงไฟฟาที่ประกอบดวยโรงไฟฟา 2 ระบบ รวมกัน คือ โรงไฟฟากังหันแกสและโรงไฟฟากังหันไอน้ํา โดยนําความรอน จากไอเสียที่ออกจากเครื่องกังหันแกสซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึงประมาณ 550 องศา เซลเซียส มาใชแทนเชื้อเพลิงในการตมน้ําของโรงไฟฟากังหันไอน้ํา เพื่อใชไอ เสียใหเกิดประโยชน • โรงไฟฟาดีเซล เปนโรงไฟฟาพลังความรอนอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งใชน้ํามันเปน เชื้อเพลิง มีหลักการทํางานเหมือนกับเครื่องยนตในรถยนตทั่วไป โดยอาศัย หลักการสันดาปของน้ํามันดีเซลที่ถูกฉีดเขาไปในกระบอกสูบของเครื่องยนต ที่ถูกอัดอากาศจนมีอุณหภูมิสูง ซึ่งเราเรียกวาจังหวะอัด ในขณะเดียวกัน น้ํามันดีเซลที่ถูกฉีดเขาไปจะเกิด การสั น ดาปกั บ ความร อ นและ เกิดระเบิด ดันใหลูกสูบเคลื่อนที่ ลงไปหมุนเพลาขอเหวี่ยงซึ่งตอ กับเพลาของเครื่องยนต ทําให เพลาของเครื่องยนตหมุน เครื่อง กําเนิดไฟฟาซึ่งเชื่อมตอกับเพลา ของเครื่ อ งยนต ก็ จ ะหมุ น ตาม เครื่องยนตในโรงไฟฟาดีเซล และผลิตไฟฟาออกมา ( ภาพ : www.std.kku.ac.th) 14
  • 15. ตัวอยางโรงไฟฟาที่อยูในความรับผิดชอบของ กฟผ. โรงไฟฟาน้ําพอง เปนโรงไฟฟาพลัง โรงไฟฟาบางปะกง เปนโรงไฟฟาพลัง ความรอนรวมที่ใชกาซธรรมชาติเปน ความรอนรวมที่ใชกาซธรรมชาติเปน เชื้อเพลิง ตั้งอยูที่ อ.น้ําพอง จ.ขอนแกน เชื้อเพลิง ตั้งอยูที่ อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา โรงไฟฟาแมเมาะ เปนโรงไฟฟาพลัง โรงไฟฟาวังนอย เปนโรงไฟฟาพลัง ความรอนที่ใชลิกไนตเปนเชื้อเพลิง ความรอนรวมที่ใชกาซธรรมชาติเปน ตั้งอยูที่ อ.แมเมาะ จ.ลําปาง เชื้อเพลิง ตั้งอยูที่ อ.วังนอย จ.อยุธยา ( ภาพ : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย) ( ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย) 15
  • 16. เชื้อเพลิงที่ใชในการผลิตไฟฟา ประเทศไทยมีการใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาหลายประเภทในสัดสวนที่แตกตางกัน ซึง่ ปจจุบันประเทศไทยพึงพากาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟาสูงมาก จากขอมูลของสํานักงาน ่ นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน พบวา การผลิตพลังงานไฟฟาในป 2551 ทั้งหมด 148,790 กิกะวัตตช่วโมง (GWh ) เมื่อแยกตามประเภทเชื้อเพลิงมีสัดสวนกาซ ั ธรรมชาติถึง รอยละ 70 รองลงมาเปนถานหิน และลิกไนต รอยละ 20 พลังน้ํา รอยละ 5 รับซื้อ จากตางประเทศ รอยละ 2 พลังงานหมุนเวียน รอยละ 2 และน้ํามัน รอยละ 1 สัดสวนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาของไทย ป 2551 น้ํามัน 1% ลิกไนต/ถานหิน 20% พลังงานหมุนเวียน 2% พลังงานน้ํา 5% นําเขา 2% กาซธรรมชาติ 70% ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน 16
  • 18. โรงไฟฟา และกําลังผลิตติดตั้งที่ กฟผ.รับผิดชอบ (ตอ) ที่มา : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 18