SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหา 
สิ่งแวดล้อมจากอุตสาหกรรม 
ปิโตรเลียม 
ชาคริต สิทธิเวช 
1
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ 
การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียม 
การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม 
ศึกษากับ อ.ชาคริต สิทธิเวช 
ศึกษากับ 
ศ.ดร.บุญศรี 
มีวงศ์อุโฆษ 
การบรรยายและ 
การอภิปราย 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียม 
ศึกษากับ 
ศ.ดร.อำนาจ 
วงศ์บัณฑิต 
อุตสาหกรรมปิโตรเลียมกับสิ่ง 
แวดล้อม 
อนาคตของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม 
การประกอบอุตสาหกรรม 
ปิโตรเลียมและการควบคุม 
2 
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ 
การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียม 
การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม 
ศึกษากับ อ.ชาคริต สิทธิเวช 
ศึกษากับ 
ศ.ดร.บุญศรี 
มีวงศ์อุโฆษ 
การบรรยายและ 
การอภิปราย 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียม 
ศึกษากับ 
ศ.ดร.อำนาจ 
วงศ์บัณฑิต 
อุตสาหกรรมปิโตรเลียมกับสิ่ง 
แวดล้อม 
อนาคตของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม 
การประกอบอุตสาหกรรม 
ปิโตรเลียมและการควบคุม 
2 
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น 
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
สัปดาห์ที่แล้ว 
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม 
3
upstream midstream downstream 
the three sectors of 
petroleum value chain 
• exploration 
• appraisal 
• development 
• production 
• abandonment 
transportation of 
raw commodity 
(usually pipeline or 
ship) 
• refining and 
processing 
• transportation of 
products 
• retail sales of 
products 
petroleum 
resources 
consumer 
products 
4
“สำรวจ” หมายความว่า ดำเนินการตาม 
มาตรฐานในการค้นหาปิโตรเลียมโดยใช้วิธีการ 
ทางธรณีวิทยา ธรณีฟิสิคส์และอื่น ๆ และให้ 
หมายความรวมถึงเจาะเพื่อทดสอบชั้นหินเพื่อให้ 
ทราบว่ามีปิโตรเลียมอยู่หรือไม่เพียงใด เพื่อ 
กำหนดวงเขตแหล่งสะสมปิโตรเลียม หรือเพื่อ 
ให้ได้ข้อมูลอย่างอื่นอันเป็นสาระสำคัญที่จำเป็น 
แก่การผลิตปิโตรเลียมด้วย 
การสำรวจ 
5
“ผลิต” หมายความว่า ดำเนินการใด ๆ เพื่อนำ 
ปิโตรเลียมขึ้นจากแหล่งสะสม และให้ 
หมายความรวมถึง ใช้กรรมวิธีใด ๆ เพื่อทำให้ 
ปิโตรเลียมอยู่ในสภาพที่จะขาย หรือจำหน่ายได้ 
แต่ไม่หมายความถึงกลั่น ประกอบอุตสาหกรรม 
เคมีปิโตรเลียม ประกอบอุตสาหกรรมโรงแยก 
ก๊าซ โรงทำก๊าซให้เป็นของเหลวหรือโรงอัดก๊าซ 
การผลิต 
primary recover 
secondary recover 
tertiary (enhanced) recover 
oil 
tar sands 
natural gas 
coal 
oil shales 
6
การเลิกการผลิต 
primary recover 
secondary recover 
tertiary (enhanced) recover 
oil 
tar sands 
natural gas 
coal 
oil shales 
7
การขนส่ง 
oil 
tar sands 
natural gas 
coal 
oil shales 
8
การกลั่น 
oil 
tar sands 
natural gas 
coal 
oil shales 
9
การค้าปลีก 
oil 
natural gas 
coal 
10
คำถาม??? 
11
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหา 
สิ่งแวดล้อมจากอุตสาหกรรม 
ปิโตรเลียม 
12
• พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ 
• พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ 
• พระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๓ 
• พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ 
• พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ 
• พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง 
พ.ศ. ๒๕๓๕ 
• พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ 
• พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ 
13
พระราชบัญญัติ 
ปิโตรเลียม 
พ.ศ. ๒๕๑๔ 
14
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ 
ฉบับนี้ คือ เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายที่จะส่งเสริมให้มี 
การสำรวจและผลิตปิโตรเลียมภายใต้มาตรการควบคุมที่ 
เหมาะสม เพื่ออำนวยประโยชน์ให้แก่รัฐผู้ประกอบกิจการ 
ปิโตรเลียมและประชาชน แต่ขณะนี้ยังไม่มีกฎหมายว่า 
ด้วยการนี้โดยเฉพาะ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 
15
พระราชบัญญัติ 
ควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง 
พ.ศ. ๒๕๔๒ 
16
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ 
โดยที่กฎหมายในการควบคุมการประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิง 
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว และก๊าซธรรมชาติที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันมี 
หลายฉบับ โดยเฉพาะก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่อยู่ภายใต้บังคับของ 
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘ ลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ 
ซึ่งใช้บังคับมาเป็นเวลานาน มีบทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับ 
สภาพปัจจุบัน จึงสมควรแก้ไขโดยรวมกฎหมายที่เป็นเรื่องเดียวกัน 
หรือคล้ายคลึงกันให้อยู่ในฉบับเดียวกันเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ 
ประชาชน และสมควรปรับปรุงบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวใน 
ส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมดูแลเพื่อความปลอดภัยของประชาชนให้ 
เหมาะสมยิ่งขึ้น รวมทั้งสมควรกำหนดให้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ก๊าซ 
ธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่น และสิ่งอื่นที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงซึ่งมี 
ลักษณะและองค์ประกอบใกล้เคียงกับเชื้อเพลิงอยู่ภายใต้การกำกับ 
ดูแลของกฎหมาย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 
17
พระราชบัญญัติ 
การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง 
พ.ศ. ๒๕๔๓ 
18
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่บทบัญญัติ 
ของพระราชบัญญัติน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๒๑ ที่ใช้สำหรับควบคุมเกี่ยวกับการค้า 
น้ำมันมีลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ของการประกอบกิจการค้าน้ำมันใน 
ปัจจุบัน สมควรปรับปรุงบทบัญญัติให้มีความทันสมัยยิ่งขึ้น โดยกำหนดควบคุมผู้ 
ค้าน้ำมันเป็น ๓ ระดับ คือ ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ ผู้ค้าน้ำมันรายย่อย และสถานี 
บริการน้ำมัน และผ่อนคลายมาตรการควบคุมบางอย่างให้เข้มงวดน้อยลง เช่น การ 
จัดตั้งสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงสามารถยื่นคำขอเพื่อจดทะเบียนต่ออธิบดีได้ ซึ่ง 
แต่เดิมกำหนดให้ต้องขออนุญาตจากอธิบดี สำหรับผู้ขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิงก็เพียง 
แต่แจ้งต่ออธิบดีเท่านั้น และปรับปรุงอำนาจของรัฐมนตรีบางประการที่เป็นเรื่องใน 
รายละเอียดเปลี่ยนเป็นอำนาจของอธิบดี เพื่อให้การควบคุมดูแลมีความรวดเร็วยิ่ง 
ขึ้น รวมทั้งเพิ่มมาตรการควบคุมผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ให้เข้มงวดยิ่งขึ้น เพื่อใช้ 
ควบคุมการค้าน้ำมันและการปลอมปนน้ำมัน รวมทั้งปรับปรุงมาตรการบางอย่างให้ 
สามารถคุ้มครองผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฟ้องร้องและดำเนินคดี 
กับผู้กระทำความผิดฐานปลอมปนน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนบทกำหนดโทษของพระ 
ราชบัญญัติให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน โดยเฉพาะโทษปรับที่ยัง 
ต่ำไปเนื่องจากกิจการค้าน้ำมันเป็นกิจการที่ทำรายได้สูงมาก สมควรปรับปรุงพระ 
ราชบัญญัติดังกล่าวให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 
19
พระราชบัญญัติ 
การประกอบกิจการพลังงาน 
พ.ศ. ๒๕๕๐ 
20
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจาก 
กิจการพลังงานมีความสำคัญต่อโครงสร้างด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่ง 
แวดล้อมของประเทศ จึงมีความจำเป็นต้องปรับโครงสร้างการบริหารกิจการ 
พลังงานโดยแยกงานนโยบาย งานกำกับดูแล และการประกอบกิจการพลังงาน 
ออกจากกัน เพื่อเปิดโอกาสให้ภาคเอกชน ชุมชน และประชาชนมีส่วนร่วมและ 
มีบทบาทมากขึ้น เพื่อให้การประกอบกิจการพลังงานเป็นไปอย่างมี 
ประสิทธิภาพ มีความมั่นคง มีปริมาณเพียงพอและทั่วถึงในราคาที่เป็นธรรม 
และมีคุณภาพที่ได้มาตรฐาน ตอบสนองต่อความต้องการภายในประเทศและ 
ต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม อัน 
สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงจำเป็นต้องจัดตั้งคณะกรรมการ 
กำกับกิจการพลังงานขึ้นเพื่อกำกับดูแลกิจการพลังงาน โดยกำหนดให้มีหน้าที่ 
ป้องกันการใช้อำนาจผูกขาดโดยมิชอบ ให้การคุ้มครองผู้ใช้พลังงานและผู้ได้ 
รับผลกระทบจากการประกอบกิจการพลังงาน และเพื่อให้คณะกรรมการ 
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สมควรให้มีสำนักงานคณะกรรมการ 
กำกับกิจการพลังงานขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคล ทำหน้าที่ 
เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 
21
พระราชบัญญัติ 
การสาธารณสุข 
พ.ศ. ๒๕๓๕ 
22
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราช 
บัญญัติสาธารณสุข พุทธศักราช ๒๔๘๔ และพระราชบัญญัติควบคุมการใช้อุจจาระเป็น 
ปุ๋ย พุทธศักราช ๒๔๘๐ ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการดำเนินงานควบคุม 
ดูแลในด้านสาธารณสุข ได้ใช้บังคับมานานแล้ว แม้ว่าจะได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมอีก 
หลายครั้งก็ตาม แต่ก็ยังไม่อาจทันต่อสภาพความเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้า 
ของสังคม จำเป็นต้องขยายขอบเขตการกำกับดูแลกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ 
สาธารณสุขในด้านต่าง ๆ ให้กว้างขวางขึ้น เพื่อสามารถนำมาปรับใช้กับเหตุการณ์ที่ 
เกิดขึ้นได้ทันท่วงที และโดยที่ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าการสาธารณสุขเป็นเรื่องเกี่ยว 
พันกับความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมของมนุษย์อย่างใกล้ชิด แต่บทบัญญัติของ 
กฎหมายปัจจุบันยังมิได้กำหนดมาตรการกำกับดูแลและป้องกันเกี่ยวกับการอนามัยสิ่ง 
แวดล้อมไว้อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ สมควรปรับปรุงบทบัญญัติ 
เกี่ยวกับการควบคุมให้มีลักษณะการกำกับดูแลและติดตาม และปรับปรุงอำนาจหน้าที่ 
ของเจ้าหน้าที่และบทกำหนดโทษตามกฎหมายปัจจุบันให้สามารถบังคับให้มีการ 
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายอย่างเคร่งครัด ฉะนั้น เพื่อให้เหมาะสมและ 
สอดคล้องกับสภาพของสังคมปัจจุบัน และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการกำกับดูแล 
และป้องกันเกี่ยวกับการอนามัยสิ่งแวดล้อม สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการ 
สาธารณสุขและกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการใช้อุจจาระเป็นปุ๋ยเสียใหม่ และรวม 
กฎหมายทั้งสองฉบับดังกล่าวเป็นฉบับเดียวกัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 
23
พระราชบัญญัติ 
รักษาความสะอาดและความเป็น 
ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง 
พ.ศ. ๒๕๓๕ 
24
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับ 
นี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความ 
เป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๐๓ ซึ่งเป็น 
กฎหมายที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการ 
รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้าน 
เมืองได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ไม่เหมาะสมกับ 
สภาวการณ์ปัจจุบันโดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับบทลงโทษ 
และอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น เป็นเหตุให้การ 
ดำเนินการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ 
เรียบร้อยของบ้านเมืองไม่ได้ผลเท่าที่ควร สมควรปรับปรุง 
กฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความเป็น 
ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองเสียใหม่ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น 
จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 
25
พระราชบัญญัติ 
วัตถุอันตราย 
พ.ศ. ๒๕๓๕ 
26
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ 
โดยที่ปรากฏว่าในปัจจุบันมีการนำวัตถุอันตรายมาใช้ในกิจการ 
ประเภทต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก และวัตถุอันตรายบางชนิดอาจก่อ 
ให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และสิ่ง 
แวดล้อมได้ แม้ว่าในขณะนี้จะมีกฎหมายที่ใช้ควบคุมวัตถุที่ก่อ 
ให้เกิดอันตรายอยู่บ้างแล้วก็ตาม แต่ก็มีอยู่หลายฉบับและอยู่ใน 
อำนาจหน้าที่ของหลายกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งกฎหมายเหล่านั้น 
ได้ออกมาต่างยุคต่างสมัยกัน ทำให้มีบทบัญญัติที่แตกต่างกัน 
และยังไม่ครอบคลุมเพียงพอ สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยวัตถุ 
มีพิษโดยขยายขอบเขตให้ครอบคลุมวัตถุอันตรายต่าง ๆ ทุกชนิด 
และกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการควบคุมวัตถุอันตรายให้ 
เหมาะสมยิ่งขึ้น พร้อมกับจัดระบบบริหารให้มีการประสานงานกัน 
ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันกับการควบคุมดูแลวัตถุ 
อันตรายดังกล่าวด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 
27
พระราชบัญญัติ 
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพ 
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 
พ.ศ. ๒๕๓๕ 
28
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่กฎหมายว่าด้วย 
การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันยังไม่มี 
มาตรการควบคุม และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมได้อย่างพอเพียงสมควรปรับปรุงใหม่โดย 
(๑) ส่งเสริมประชาชน และองค์กรเอกชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ 
สิ่งแวดล้อม 
(๒) จัดระบบการบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามหลักการจัดการคุณภาพสิ่ง 
แวดล้อม 
(๓) กำหนดอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่น ให้เกิด 
การประสานงาน และมีหน้าที่ร่วมกันในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และ 
กำหนดแนวทางปฏิบัติในส่วนที่ไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบโดยตรง 
(๔) กำหนดมาตรการควบคุมมลพิษด้วยการจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสีย ระบบบำบัด 
น้ำเสีย ระบบกำจัดของเสีย และเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ 
มลพิษ 
(๕) กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการก่อให้เกิดมลพิษให้เป็นไป 
โดยชัดเจน 
(๖) กำหนดให้มีมาตรการส่งเสริมด้านกองทุน และความช่วยเหลือด้านต่าง ๆ เพื่อ 
เป็นการจูงใจให้มีการยอมรับที่จะปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม จึง 
จำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 
29
คำถาม??? 
30
สัปดาห์หน้า 
อนาคตของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม 
31

More Related Content

More from Chacrit Sitdhiwej

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมChacrit Sitdhiwej
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพChacrit Sitdhiwej
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมChacrit Sitdhiwej
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์Chacrit Sitdhiwej
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างChacrit Sitdhiwej
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industryChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างChacrit Sitdhiwej
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายChacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐Chacrit Sitdhiwej
 

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรม
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in Thailand
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิด
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industry
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม

  • 2. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียม การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ศึกษากับ อ.ชาคริต สิทธิเวช ศึกษากับ ศ.ดร.บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ การบรรยายและ การอภิปราย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียม ศึกษากับ ศ.ดร.อำนาจ วงศ์บัณฑิต อุตสาหกรรมปิโตรเลียมกับสิ่ง แวดล้อม อนาคตของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม การประกอบอุตสาหกรรม ปิโตรเลียมและการควบคุม 2 ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น
  • 3. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียม การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ศึกษากับ อ.ชาคริต สิทธิเวช ศึกษากับ ศ.ดร.บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ การบรรยายและ การอภิปราย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียม ศึกษากับ ศ.ดร.อำนาจ วงศ์บัณฑิต อุตสาหกรรมปิโตรเลียมกับสิ่ง แวดล้อม อนาคตของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม การประกอบอุตสาหกรรม ปิโตรเลียมและการควบคุม 2 ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
  • 5. upstream midstream downstream the three sectors of petroleum value chain • exploration • appraisal • development • production • abandonment transportation of raw commodity (usually pipeline or ship) • refining and processing • transportation of products • retail sales of products petroleum resources consumer products 4
  • 6. “สำรวจ” หมายความว่า ดำเนินการตาม มาตรฐานในการค้นหาปิโตรเลียมโดยใช้วิธีการ ทางธรณีวิทยา ธรณีฟิสิคส์และอื่น ๆ และให้ หมายความรวมถึงเจาะเพื่อทดสอบชั้นหินเพื่อให้ ทราบว่ามีปิโตรเลียมอยู่หรือไม่เพียงใด เพื่อ กำหนดวงเขตแหล่งสะสมปิโตรเลียม หรือเพื่อ ให้ได้ข้อมูลอย่างอื่นอันเป็นสาระสำคัญที่จำเป็น แก่การผลิตปิโตรเลียมด้วย การสำรวจ 5
  • 7. “ผลิต” หมายความว่า ดำเนินการใด ๆ เพื่อนำ ปิโตรเลียมขึ้นจากแหล่งสะสม และให้ หมายความรวมถึง ใช้กรรมวิธีใด ๆ เพื่อทำให้ ปิโตรเลียมอยู่ในสภาพที่จะขาย หรือจำหน่ายได้ แต่ไม่หมายความถึงกลั่น ประกอบอุตสาหกรรม เคมีปิโตรเลียม ประกอบอุตสาหกรรมโรงแยก ก๊าซ โรงทำก๊าซให้เป็นของเหลวหรือโรงอัดก๊าซ การผลิต primary recover secondary recover tertiary (enhanced) recover oil tar sands natural gas coal oil shales 6
  • 8. การเลิกการผลิต primary recover secondary recover tertiary (enhanced) recover oil tar sands natural gas coal oil shales 7
  • 9. การขนส่ง oil tar sands natural gas coal oil shales 8
  • 10. การกลั่น oil tar sands natural gas coal oil shales 9
  • 14. • พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ • พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ • พระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๓ • พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ • พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ • พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ • พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ • พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ 13
  • 16. หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ ฉบับนี้ คือ เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายที่จะส่งเสริมให้มี การสำรวจและผลิตปิโตรเลียมภายใต้มาตรการควบคุมที่ เหมาะสม เพื่ออำนวยประโยชน์ให้แก่รัฐผู้ประกอบกิจการ ปิโตรเลียมและประชาชน แต่ขณะนี้ยังไม่มีกฎหมายว่า ด้วยการนี้โดยเฉพาะ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 15
  • 18. หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่กฎหมายในการควบคุมการประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซปิโตรเลียมเหลว และก๊าซธรรมชาติที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันมี หลายฉบับ โดยเฉพาะก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่อยู่ภายใต้บังคับของ ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘ ลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งใช้บังคับมาเป็นเวลานาน มีบทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับ สภาพปัจจุบัน จึงสมควรแก้ไขโดยรวมกฎหมายที่เป็นเรื่องเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกันให้อยู่ในฉบับเดียวกันเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ ประชาชน และสมควรปรับปรุงบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวใน ส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมดูแลเพื่อความปลอดภัยของประชาชนให้ เหมาะสมยิ่งขึ้น รวมทั้งสมควรกำหนดให้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ก๊าซ ธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่น และสิ่งอื่นที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงซึ่งมี ลักษณะและองค์ประกอบใกล้เคียงกับเชื้อเพลิงอยู่ภายใต้การกำกับ ดูแลของกฎหมาย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 17
  • 20. หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่บทบัญญัติ ของพระราชบัญญัติน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๒๑ ที่ใช้สำหรับควบคุมเกี่ยวกับการค้า น้ำมันมีลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ของการประกอบกิจการค้าน้ำมันใน ปัจจุบัน สมควรปรับปรุงบทบัญญัติให้มีความทันสมัยยิ่งขึ้น โดยกำหนดควบคุมผู้ ค้าน้ำมันเป็น ๓ ระดับ คือ ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ ผู้ค้าน้ำมันรายย่อย และสถานี บริการน้ำมัน และผ่อนคลายมาตรการควบคุมบางอย่างให้เข้มงวดน้อยลง เช่น การ จัดตั้งสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงสามารถยื่นคำขอเพื่อจดทะเบียนต่ออธิบดีได้ ซึ่ง แต่เดิมกำหนดให้ต้องขออนุญาตจากอธิบดี สำหรับผู้ขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิงก็เพียง แต่แจ้งต่ออธิบดีเท่านั้น และปรับปรุงอำนาจของรัฐมนตรีบางประการที่เป็นเรื่องใน รายละเอียดเปลี่ยนเป็นอำนาจของอธิบดี เพื่อให้การควบคุมดูแลมีความรวดเร็วยิ่ง ขึ้น รวมทั้งเพิ่มมาตรการควบคุมผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ให้เข้มงวดยิ่งขึ้น เพื่อใช้ ควบคุมการค้าน้ำมันและการปลอมปนน้ำมัน รวมทั้งปรับปรุงมาตรการบางอย่างให้ สามารถคุ้มครองผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฟ้องร้องและดำเนินคดี กับผู้กระทำความผิดฐานปลอมปนน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนบทกำหนดโทษของพระ ราชบัญญัติให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน โดยเฉพาะโทษปรับที่ยัง ต่ำไปเนื่องจากกิจการค้าน้ำมันเป็นกิจการที่ทำรายได้สูงมาก สมควรปรับปรุงพระ ราชบัญญัติดังกล่าวให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 19
  • 22. หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจาก กิจการพลังงานมีความสำคัญต่อโครงสร้างด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่ง แวดล้อมของประเทศ จึงมีความจำเป็นต้องปรับโครงสร้างการบริหารกิจการ พลังงานโดยแยกงานนโยบาย งานกำกับดูแล และการประกอบกิจการพลังงาน ออกจากกัน เพื่อเปิดโอกาสให้ภาคเอกชน ชุมชน และประชาชนมีส่วนร่วมและ มีบทบาทมากขึ้น เพื่อให้การประกอบกิจการพลังงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ มีความมั่นคง มีปริมาณเพียงพอและทั่วถึงในราคาที่เป็นธรรม และมีคุณภาพที่ได้มาตรฐาน ตอบสนองต่อความต้องการภายในประเทศและ ต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม อัน สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงจำเป็นต้องจัดตั้งคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงานขึ้นเพื่อกำกับดูแลกิจการพลังงาน โดยกำหนดให้มีหน้าที่ ป้องกันการใช้อำนาจผูกขาดโดยมิชอบ ให้การคุ้มครองผู้ใช้พลังงานและผู้ได้ รับผลกระทบจากการประกอบกิจการพลังงาน และเพื่อให้คณะกรรมการ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สมควรให้มีสำนักงานคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงานขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคล ทำหน้าที่ เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 21
  • 24. หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราช บัญญัติสาธารณสุข พุทธศักราช ๒๔๘๔ และพระราชบัญญัติควบคุมการใช้อุจจาระเป็น ปุ๋ย พุทธศักราช ๒๔๘๐ ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการดำเนินงานควบคุม ดูแลในด้านสาธารณสุข ได้ใช้บังคับมานานแล้ว แม้ว่าจะได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมอีก หลายครั้งก็ตาม แต่ก็ยังไม่อาจทันต่อสภาพความเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้า ของสังคม จำเป็นต้องขยายขอบเขตการกำกับดูแลกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ สาธารณสุขในด้านต่าง ๆ ให้กว้างขวางขึ้น เพื่อสามารถนำมาปรับใช้กับเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นได้ทันท่วงที และโดยที่ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าการสาธารณสุขเป็นเรื่องเกี่ยว พันกับความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมของมนุษย์อย่างใกล้ชิด แต่บทบัญญัติของ กฎหมายปัจจุบันยังมิได้กำหนดมาตรการกำกับดูแลและป้องกันเกี่ยวกับการอนามัยสิ่ง แวดล้อมไว้อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ สมควรปรับปรุงบทบัญญัติ เกี่ยวกับการควบคุมให้มีลักษณะการกำกับดูแลและติดตาม และปรับปรุงอำนาจหน้าที่ ของเจ้าหน้าที่และบทกำหนดโทษตามกฎหมายปัจจุบันให้สามารถบังคับให้มีการ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายอย่างเคร่งครัด ฉะนั้น เพื่อให้เหมาะสมและ สอดคล้องกับสภาพของสังคมปัจจุบัน และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการกำกับดูแล และป้องกันเกี่ยวกับการอนามัยสิ่งแวดล้อม สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการ สาธารณสุขและกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการใช้อุจจาระเป็นปุ๋ยเสียใหม่ และรวม กฎหมายทั้งสองฉบับดังกล่าวเป็นฉบับเดียวกัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 23
  • 26. หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับ นี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความ เป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๐๓ ซึ่งเป็น กฎหมายที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการ รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้าน เมืองได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ไม่เหมาะสมกับ สภาวการณ์ปัจจุบันโดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับบทลงโทษ และอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น เป็นเหตุให้การ ดำเนินการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมืองไม่ได้ผลเท่าที่ควร สมควรปรับปรุง กฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความเป็น ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองเสียใหม่ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 25
  • 28. หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปรากฏว่าในปัจจุบันมีการนำวัตถุอันตรายมาใช้ในกิจการ ประเภทต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก และวัตถุอันตรายบางชนิดอาจก่อ ให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และสิ่ง แวดล้อมได้ แม้ว่าในขณะนี้จะมีกฎหมายที่ใช้ควบคุมวัตถุที่ก่อ ให้เกิดอันตรายอยู่บ้างแล้วก็ตาม แต่ก็มีอยู่หลายฉบับและอยู่ใน อำนาจหน้าที่ของหลายกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งกฎหมายเหล่านั้น ได้ออกมาต่างยุคต่างสมัยกัน ทำให้มีบทบัญญัติที่แตกต่างกัน และยังไม่ครอบคลุมเพียงพอ สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยวัตถุ มีพิษโดยขยายขอบเขตให้ครอบคลุมวัตถุอันตรายต่าง ๆ ทุกชนิด และกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการควบคุมวัตถุอันตรายให้ เหมาะสมยิ่งขึ้น พร้อมกับจัดระบบบริหารให้มีการประสานงานกัน ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันกับการควบคุมดูแลวัตถุ อันตรายดังกล่าวด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 27
  • 30. หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่กฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันยังไม่มี มาตรการควบคุม และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมได้อย่างพอเพียงสมควรปรับปรุงใหม่โดย (๑) ส่งเสริมประชาชน และองค์กรเอกชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม (๒) จัดระบบการบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามหลักการจัดการคุณภาพสิ่ง แวดล้อม (๓) กำหนดอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่น ให้เกิด การประสานงาน และมีหน้าที่ร่วมกันในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และ กำหนดแนวทางปฏิบัติในส่วนที่ไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบโดยตรง (๔) กำหนดมาตรการควบคุมมลพิษด้วยการจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสีย ระบบบำบัด น้ำเสีย ระบบกำจัดของเสีย และเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ มลพิษ (๕) กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการก่อให้เกิดมลพิษให้เป็นไป โดยชัดเจน (๖) กำหนดให้มีมาตรการส่งเสริมด้านกองทุน และความช่วยเหลือด้านต่าง ๆ เพื่อ เป็นการจูงใจให้มีการยอมรับที่จะปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม จึง จำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 29