SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _1
CELL
BIOLOGY
HAND BOOK
> ประวัติการค้นพบ และการศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ 1
> ทฤษฎีเซลล์ 4
> ทําไมต้องเรียนเรื่องเซลล์ ? 5
> โครงสร้างภายในเซลล์ 7
> การเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 9
> การวัดขนาดของเซลล์
เมื่อเรียนจบเรื่องนี้ นักเรียนสามารถ
1. อธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ได้
2. อธิบายองค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนได้
3. วาดภาพโครงสร้างของเซลล์ได้
4. อภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของเซลล์กับหน้าที่ของเซลล์ได้
5. อภิปรายออร์แกเนลล์ภายในเซลล์ และหน้าที่ของออร์แกเนลล์ได้
#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _2
สารบัญ
จุดประสงค์การเรียนรู้
ในปี ค.ศ. 1665 โรเบิร์ต ฮุก (Robert hook) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้นําจุกคอร์กมาตัดเป็นแผ่นบางๆ
และส่องดูโครงสร้างของไม้คอร์ก ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และเรียกแต่ละช่องที่เห็นว่า “เซลล์”


ภาพที่ 1 ภาพวาดเซลล์คอร์ก ภายแพร่โดย โรเบิร์ต ฮุก ในปี 1665
#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _3
1. ประวัติการค้นพบ และการศึกษาเกี่ยวกับเซลล์
ในปี ค.ศ. 1838 เป็นเวลาเกือบ 200 ปี หลังจากที่ โรเบิร์ต ฮุก ทําการศึกษาเรื่องเซลล์ นักวิทยาศาสตร์ชาว
เยอรมัน 2 คน ได้แก่ Matthias Schleiden นักพฤกษศาสตร์ ได้เสนอว่า “ต้นพืชทั้งหลายประกอบขึ้นจากเซลล์เล็กๆ
จํานวนมาก” และ Theodor Schwann นักสัตววิทยา ได้เสนอไปแนวคิดสนับสนุน Schleiden ว่า “สัตว์ทั้งหลายประกอบ
ขึ้นจากเซลล์เล็กๆ จํานวนมาก” และทั้งสองท่าน ได้ร่วมกันเสนอทฤษฎีเซลล์ ที่มีใจความสําคัญ ดังนี้
ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) กล่าวว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์นั้นคือหน่วยพื้นฐานของ
สิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ในปัจจุบันทฤษฎีเซลล์ ครอบคลุม ใน 3 ประเด็น ได้แก่
1. สิ่งมีชีวิตอาจมีเพียงเซลล์เดียว หรือหลายเซลล์ ซึ่งภายในมีสารพันธุกรรม และมีกิจกรรมภายในเซลล์
(Metabolism) ทําให้สิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตอยู่ได้
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบการทํางานภายในเซลล์
3. เซลล์มีกําเนิดมาจากเซลล์แรกเริ่ม เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์เดิม

#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _4
2. ทฤษฎีเซลล์
เซลล์เปรียบเสมือนถุงที่บรรจุสารเคมีไว้ภายใน แต่ถุงนี้มีคุณสมบัติในการยอมให้สารบางอย่างผ่านเข้าออกได้
เท่านั้น และถุงนี้เป็นการแบ่งพื้นที่แยกสารเคมีภายใน ออกจากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ถุงที่เราพูดถึงนี้ คือ เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell
membrane) เป็นกําแพงที่มีประสิทธิภาพมาก คือมีคุณสมบัติที่ยอมให้สารบางอย่างผ่านเข้าออกได้ แต่สารบางอย่าง
ผ่านไม่ได้ เราเรียกคุณสมบัตินี้ว่า Semipermeable membrane หรือ Partially permeable membrane และนี้คือสิ่งที่
สําคัญมากมุมมองของผู้เขียน เพราะถ้าไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์ ก็ไม่มีเซลล์ และเมื่อไม่มีเซลล์ ก็ย่อมไม่มีชีวิตเกิดขึ้น การที่มีเยื่อ
หุ่มเซลล์นอกจากจะแบ่งพื้นที่ของเซลล์ชัดเจนแล้ว ยังเป็นการป้องกันไม่ให้สารเคมีภายในเซลล์ รวมกับสารเคมีในสิ่ง
แวดล้อมอย่างอิสระ ซึ่งบางครั้งอาจขัดขวางการทํางานของเซลล์
❝ ฝากให้คิดต่อ ถ้าเราไปซื้อก๋วยเตี๊ยวแต่ไม่ไม่มีภาชนะใส่ เราจะนําก๋วยเตี๋ยวนั้นกลีบบ้านได้อย่างไร ? ❞
เซลล์ก็เช่นกัน ถ้าไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วสิ่งที่อยุ่ภายในจะทํางานร่วมกันได้อย่างไร
#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _5
3. ทําไมต้องเรียนเรื่องเซลล์ ?
การศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ เราเรียกสาขาวิชานี้ว่า Cell biology การศึกษาเซลล์ทําได้หลากหลายวิธี แต่วีธีที่ง่าย
และสะดวกที่สุด คือการศึกษาเซลล์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์ มีอยู่ 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงปกติ (Light microscope) และ
กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน (Electron microscope)
ภาพที่ 2 ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง

#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _6
4. เราจะทําการศึกษาเซลล์ได้อย่างไร ?
เลนส์ตา (Eyepiece lens)
เลนส์ตา (Eyepiece)
ลําแสง (Light beam)
เลนส์ใกล้วัตถุ (Objcetive)
เลนส์ใกล้วัตถุ (Objective leans)กระจกปิดสไลด์ (Cover glass)
สไลด์ (Glass slide)
ม่านปรับแสง (Diaphragm)
กระจกรวมแสง (Condenser leans)
แหล่งกําเนิแสง (Light source)
ภาพที่ 3 โครงสร้างภายในของเซลล์สัตว์

#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _7
5. โครงสร้างภายในเซลล์
กอลจิบอดี (Golgi body)
แวคิวโอล (Vacuole)
ไมโทคอนเดรีย (Mitocondria)
เซนทริโอล (Centrioles)
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
(Endoplasmic Reticulum)
นิวเคลียส (Nucleus)

> โครโมาติน (Chromatin)
> นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
ไซโทรพลาสซึม (Cytoplasm)
ภาพที่ 4 โครงสร้างภายในของเซลล์พืช

#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _8
5. โครงสร้างภายในเซลล์
ผนังเซลล์ (Cell wall)
ช่องพลาสโมเดสมาตา
(Plasmodesmata)
แวคิวโอล (Vacuole)
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
> Grana
> matrix
กอลจิ แอพพาราตัส (Golgi apparatus)
นิวเคลียส (Nucleus)
ไมโทคอนเดรีย (Mitocondria)
ไซโทรพลาสซึม (Cytoplasm)


ลักษณะที่เหมือนกัน
> Cell membrane
> Nucleus
> Cytoplasm
> Mitochondria
ลักษณะที่แตกต่างกัน
> Centrioles
> Cell wall and plasmodesmata
> Vacuole (Tonoplast)
> Chloroplast
#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _9
6. การเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ภาพที่ได้จากกล่องจุลทรรศน์
กําลังขยาย =
หน่วยที่นิยมใช้
> ไมครอน (µ) หรือ ไมโครแมตร (µm) = 10-6
เมตร
> นาโนเมตร (nm) = 10-9
เมตร
> อังสตรอม (Ao
) = 10-10
เมตร
#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _10
7. การวัดขนาดของเซลล์
P
P
ขนาดของภาพที่เห็น
ขนาดจริงของวัตถุ
การคํานวณหาขนาดของเซลล์
อุปกรณ์ที่ใช้แก้ได้ 

> Stage micrometer จะมีขีดแบ่ง (scale)
จํานวน 100 ช่อง (1 mm.) ที่มีขนาดเท่ากัน
ดังนั้น 1 ช่องเล็กมีขนาดความกว้างเท่ากับ
0.01 mm. หรือ 10 µm
> Ocular micrometer จะมีขีดแบ่ง (scale)
จํานวน 50 หรือ 100 ช่องเล็กๆที่มีขนาดเท่า
กัน ดังรูป A (หน้า 11)
*** Ocular micrometer ต้อง Calibrate หา
ขนาดที่แท้จริงทุกครั้งที่เปลี่ยนกําลังขยาย
การใช้งาน State micrometer และ Ocular micrometer
#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _11
7. การวัดขนาดของเซลล์
A
B
C
A คือ Ocular micrometer
B คือ ภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ซึ่งจะเห็น Ocular micrometer
และตัวอย่างเซลล์
C คือ การตั้งค่าวัดขนาด (Calibration) เริ่มจากการเทียบขนาดของ 

Ocular micrometer กับขนาดของ Stage micrometer ซึ่งเรารู้

ความกว้างของ scale ที่แท้จริง โดยให้จัดแนวของเส้นแรก (0) 

ของทั้ง ocular และ stage micrometer ซ้อนกันให้สนิท จากนั้น

ให้หาเส้นที่มีการซ้อนกันสนิทที่อยู่ในลําดับต่อไป
จากภาพ C จะเห็นว่า ขีดที่ 0.25 mm. ของ State micrometer ทับกันสนิด
พอดีกับขีดของ Ocular micrometer ดังนั้น 0.25/100 = 0.0025 mm.
ดังนั้นขนาดของเซลล์ในภาพ B มีขนาดเท่ากับ 20 ช่อง ของ Ocular
micrometer จึงมีขนาดเท่ากับ 20 x 0.0025 = 0.005 mm. หรือ 50 µm


จากภาพ ถ้าต้องการทราบว่าภาพนี้ มีขนาดใหญากว่า
จากขนาดจริงกี่เท่า ให้ทําดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เอาไม้บรรทัดวัดว่าเซลล์นี้มีขนาดกี่ mm.
(ในที่นี้จะสมมติว่า เซลล์นี้มีขนาด 36 mm.)
ขั้นตอนที่ 2 แปลงหน่วยจาก mm. เป็น µm
(36 mm. = 36 x 10-3
/ 10-6
) = 36000 µm
ขั้นตอนที่ 3
#Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _12
7. การวัดขนาดของเซลล์
ขนาดของภาพที่เห็น
ขนาดจริงของวัตถุ
กําลังขยาย =
36000 µm
6 µm
กําลังขยาย =
กําลังขยาย = 6000 เท่า

More Related Content

What's hot

สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ Dom ChinDom
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์Krupol Phato
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 

What's hot (20)

สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
Cell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acrCell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acr
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
Cell
CellCell
Cell
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

Similar to Cell project 1 : Cell studying

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellkasidid20309
 

Similar to Cell project 1 : Cell studying (20)

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
2
22
2
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 
C expo1 thai
C expo1 thaiC expo1 thai
C expo1 thai
 

Cell project 1 : Cell studying

  • 1. #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _1 CELL BIOLOGY HAND BOOK
  • 2. > ประวัติการค้นพบ และการศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ 1 > ทฤษฎีเซลล์ 4 > ทําไมต้องเรียนเรื่องเซลล์ ? 5 > โครงสร้างภายในเซลล์ 7 > การเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 9 > การวัดขนาดของเซลล์ เมื่อเรียนจบเรื่องนี้ นักเรียนสามารถ 1. อธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ได้ 2. อธิบายองค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนได้ 3. วาดภาพโครงสร้างของเซลล์ได้ 4. อภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของเซลล์กับหน้าที่ของเซลล์ได้ 5. อภิปรายออร์แกเนลล์ภายในเซลล์ และหน้าที่ของออร์แกเนลล์ได้ #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _2 สารบัญ จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 3. ในปี ค.ศ. 1665 โรเบิร์ต ฮุก (Robert hook) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้นําจุกคอร์กมาตัดเป็นแผ่นบางๆ และส่องดูโครงสร้างของไม้คอร์ก ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และเรียกแต่ละช่องที่เห็นว่า “เซลล์” 
 ภาพที่ 1 ภาพวาดเซลล์คอร์ก ภายแพร่โดย โรเบิร์ต ฮุก ในปี 1665 #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _3 1. ประวัติการค้นพบ และการศึกษาเกี่ยวกับเซลล์
  • 4. ในปี ค.ศ. 1838 เป็นเวลาเกือบ 200 ปี หลังจากที่ โรเบิร์ต ฮุก ทําการศึกษาเรื่องเซลล์ นักวิทยาศาสตร์ชาว เยอรมัน 2 คน ได้แก่ Matthias Schleiden นักพฤกษศาสตร์ ได้เสนอว่า “ต้นพืชทั้งหลายประกอบขึ้นจากเซลล์เล็กๆ จํานวนมาก” และ Theodor Schwann นักสัตววิทยา ได้เสนอไปแนวคิดสนับสนุน Schleiden ว่า “สัตว์ทั้งหลายประกอบ ขึ้นจากเซลล์เล็กๆ จํานวนมาก” และทั้งสองท่าน ได้ร่วมกันเสนอทฤษฎีเซลล์ ที่มีใจความสําคัญ ดังนี้ ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) กล่าวว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์นั้นคือหน่วยพื้นฐานของ สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ในปัจจุบันทฤษฎีเซลล์ ครอบคลุม ใน 3 ประเด็น ได้แก่ 1. สิ่งมีชีวิตอาจมีเพียงเซลล์เดียว หรือหลายเซลล์ ซึ่งภายในมีสารพันธุกรรม และมีกิจกรรมภายในเซลล์ (Metabolism) ทําให้สิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตอยู่ได้ 2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบการทํางานภายในเซลล์ 3. เซลล์มีกําเนิดมาจากเซลล์แรกเริ่ม เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์เดิม
 #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _4 2. ทฤษฎีเซลล์
  • 5. เซลล์เปรียบเสมือนถุงที่บรรจุสารเคมีไว้ภายใน แต่ถุงนี้มีคุณสมบัติในการยอมให้สารบางอย่างผ่านเข้าออกได้ เท่านั้น และถุงนี้เป็นการแบ่งพื้นที่แยกสารเคมีภายใน ออกจากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ถุงที่เราพูดถึงนี้ คือ เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เป็นกําแพงที่มีประสิทธิภาพมาก คือมีคุณสมบัติที่ยอมให้สารบางอย่างผ่านเข้าออกได้ แต่สารบางอย่าง ผ่านไม่ได้ เราเรียกคุณสมบัตินี้ว่า Semipermeable membrane หรือ Partially permeable membrane และนี้คือสิ่งที่ สําคัญมากมุมมองของผู้เขียน เพราะถ้าไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์ ก็ไม่มีเซลล์ และเมื่อไม่มีเซลล์ ก็ย่อมไม่มีชีวิตเกิดขึ้น การที่มีเยื่อ หุ่มเซลล์นอกจากจะแบ่งพื้นที่ของเซลล์ชัดเจนแล้ว ยังเป็นการป้องกันไม่ให้สารเคมีภายในเซลล์ รวมกับสารเคมีในสิ่ง แวดล้อมอย่างอิสระ ซึ่งบางครั้งอาจขัดขวางการทํางานของเซลล์ ❝ ฝากให้คิดต่อ ถ้าเราไปซื้อก๋วยเตี๊ยวแต่ไม่ไม่มีภาชนะใส่ เราจะนําก๋วยเตี๋ยวนั้นกลีบบ้านได้อย่างไร ? ❞ เซลล์ก็เช่นกัน ถ้าไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วสิ่งที่อยุ่ภายในจะทํางานร่วมกันได้อย่างไร #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _5 3. ทําไมต้องเรียนเรื่องเซลล์ ?
  • 6. การศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ เราเรียกสาขาวิชานี้ว่า Cell biology การศึกษาเซลล์ทําได้หลากหลายวิธี แต่วีธีที่ง่าย และสะดวกที่สุด คือการศึกษาเซลล์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ มีอยู่ 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงปกติ (Light microscope) และ กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน (Electron microscope) ภาพที่ 2 ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
 #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _6 4. เราจะทําการศึกษาเซลล์ได้อย่างไร ? เลนส์ตา (Eyepiece lens) เลนส์ตา (Eyepiece) ลําแสง (Light beam) เลนส์ใกล้วัตถุ (Objcetive) เลนส์ใกล้วัตถุ (Objective leans)กระจกปิดสไลด์ (Cover glass) สไลด์ (Glass slide) ม่านปรับแสง (Diaphragm) กระจกรวมแสง (Condenser leans) แหล่งกําเนิแสง (Light source)
  • 7. ภาพที่ 3 โครงสร้างภายในของเซลล์สัตว์
 #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _7 5. โครงสร้างภายในเซลล์ กอลจิบอดี (Golgi body) แวคิวโอล (Vacuole) ไมโทคอนเดรีย (Mitocondria) เซนทริโอล (Centrioles) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic Reticulum) นิวเคลียส (Nucleus)
 > โครโมาติน (Chromatin) > นิวคลีโอลัส (Nucleolus) ไซโทรพลาสซึม (Cytoplasm)
  • 8. ภาพที่ 4 โครงสร้างภายในของเซลล์พืช
 #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _8 5. โครงสร้างภายในเซลล์ ผนังเซลล์ (Cell wall) ช่องพลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata) แวคิวโอล (Vacuole) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) > Grana > matrix กอลจิ แอพพาราตัส (Golgi apparatus) นิวเคลียส (Nucleus) ไมโทคอนเดรีย (Mitocondria) ไซโทรพลาสซึม (Cytoplasm)
  • 9. 
 ลักษณะที่เหมือนกัน > Cell membrane > Nucleus > Cytoplasm > Mitochondria ลักษณะที่แตกต่างกัน > Centrioles > Cell wall and plasmodesmata > Vacuole (Tonoplast) > Chloroplast #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _9 6. การเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
  • 10. ภาพที่ได้จากกล่องจุลทรรศน์ กําลังขยาย = หน่วยที่นิยมใช้ > ไมครอน (µ) หรือ ไมโครแมตร (µm) = 10-6 เมตร > นาโนเมตร (nm) = 10-9 เมตร > อังสตรอม (Ao ) = 10-10 เมตร #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _10 7. การวัดขนาดของเซลล์ P P ขนาดของภาพที่เห็น ขนาดจริงของวัตถุ การคํานวณหาขนาดของเซลล์ อุปกรณ์ที่ใช้แก้ได้ 
 > Stage micrometer จะมีขีดแบ่ง (scale) จํานวน 100 ช่อง (1 mm.) ที่มีขนาดเท่ากัน ดังนั้น 1 ช่องเล็กมีขนาดความกว้างเท่ากับ 0.01 mm. หรือ 10 µm > Ocular micrometer จะมีขีดแบ่ง (scale) จํานวน 50 หรือ 100 ช่องเล็กๆที่มีขนาดเท่า กัน ดังรูป A (หน้า 11) *** Ocular micrometer ต้อง Calibrate หา ขนาดที่แท้จริงทุกครั้งที่เปลี่ยนกําลังขยาย
  • 11. การใช้งาน State micrometer และ Ocular micrometer #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _11 7. การวัดขนาดของเซลล์ A B C A คือ Ocular micrometer B คือ ภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ซึ่งจะเห็น Ocular micrometer และตัวอย่างเซลล์ C คือ การตั้งค่าวัดขนาด (Calibration) เริ่มจากการเทียบขนาดของ 
 Ocular micrometer กับขนาดของ Stage micrometer ซึ่งเรารู้
 ความกว้างของ scale ที่แท้จริง โดยให้จัดแนวของเส้นแรก (0) 
 ของทั้ง ocular และ stage micrometer ซ้อนกันให้สนิท จากนั้น
 ให้หาเส้นที่มีการซ้อนกันสนิทที่อยู่ในลําดับต่อไป จากภาพ C จะเห็นว่า ขีดที่ 0.25 mm. ของ State micrometer ทับกันสนิด พอดีกับขีดของ Ocular micrometer ดังนั้น 0.25/100 = 0.0025 mm. ดังนั้นขนาดของเซลล์ในภาพ B มีขนาดเท่ากับ 20 ช่อง ของ Ocular micrometer จึงมีขนาดเท่ากับ 20 x 0.0025 = 0.005 mm. หรือ 50 µm
  • 12. 
 จากภาพ ถ้าต้องการทราบว่าภาพนี้ มีขนาดใหญากว่า จากขนาดจริงกี่เท่า ให้ทําดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เอาไม้บรรทัดวัดว่าเซลล์นี้มีขนาดกี่ mm. (ในที่นี้จะสมมติว่า เซลล์นี้มีขนาด 36 mm.) ขั้นตอนที่ 2 แปลงหน่วยจาก mm. เป็น µm (36 mm. = 36 x 10-3 / 10-6 ) = 36000 µm ขั้นตอนที่ 3 #Concept for Noob students Demo version by Sittichart Sitti (KruP’Bank) _ _12 7. การวัดขนาดของเซลล์ ขนาดของภาพที่เห็น ขนาดจริงของวัตถุ กําลังขยาย = 36000 µm 6 µm กําลังขยาย = กําลังขยาย = 6000 เท่า