SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน แอพพลิเคชัน SMART CHIANGMAI
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 8
2. นาย ธีรภัทร์ ยอดคาปา เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ เลขที่ 37
2. นาย ธีรภัทร์ ยอดคาปา เลขที่ 6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
แอพพลิเคชัน สมาร์ท เชียงใหม่ สะดวกด้วยการเชื่อมโยงขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Application SMART CHIANGMAI
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ และ นาย ธีรภัทร ยอดคาปา
ชื่อที่ปรึกษา อาจารย์ เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน ตั้งแต่ เดือนกันยายน 2560 ถึง เดือนธันวาคม
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันจังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภาคเหนือตอนบนและมีนักท่องเที่ยวเข้ามา
ในจังหวัดเชียงใหม่ถึง 10 ล้านคนต่อปีโดยจังหวัดเชียงใหม่ เป็นจังหวัดที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย
และชาวต่างประเทศในการเดินทางมาท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง ในแต่ละฤดูกาลของจังหวัดเชียงใหม่ จะมีสภาพ
ภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกัน และล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยทางด้านบวก ของการท่องเที่ยว ซึ่งการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สานักงานเชียงใหม่ ได้จัดแคมเปญ และกิจรรมให้สอดคล้องกับฤดูกาล เพื่อกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวได้มาเที่ยวและได้
เห็นมุมมองต่างๆ ของจังหวัดเชียงใหม่ในแง่มุมที่แตกต่างกันของแต่ละฤดูกาล ประกอบกับจังหวัดเชียงใหม่กลายเป็น
สังคมเมืองที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาใช้รถยนต์ส่วนบุคคลกันเป็นส่วนมากจนทาให้เกิดปัญหารถติดสะสมในเวลาเร่งด่วน
จากการเติบโตของเมืองเชียงใหม่มองว่าการคมนาคมหรือการเดินทางมันเปลี่ยนไป ส่งผลให้การบริการ
สาธารณะที่ไม่ครบถ้วน รวมถึงความคับคั่งที่เพิ่มขึ้น สวนทางกับปัญหาสภาพรถติดที่เกิดขึ้น ยิ่งการเดินทางด้วยรถ
สาธารณะลาบาก คนก็เริ่มเปลี่ยนพฤติกรรม ต้องการใช้รถส่วนตัวมากขึ้น ขณะที่ภาพกว้างของการขนส่งมวลชน
เชียงใหม่ก็ยังไม่ชัดเจน การจะพัฒนาระบบโครงสร้างอะไรก็ตาม มันมีผลต่อมูลค่าทางวัฒนธรรม ถ้าวันหนึ่งไม่มีรถ
แดง แน่นอนมันเสียหายด้านการอนุรักษ์สิ่งคู่เมือง หรือเติบโตแบบก้าวกระโดดของเศรษฐกิจ ที่ทาให้สภาพเมือง
3
เชียงใหม่เปลี่ยน นักท่องเที่ยวหลั่งไหลเข้ามา อาจทาให้คนไม่อยากมาเชียงใหม่แล้วก็ได้ เพราะคนมันแน่นเกินไป
สุดท้ายมันต้องพึ่งพาบริการรถสาธารณะ ที่จะทาให้ระบบการท่องเที่ยวจะยั่งยืนขึ้น
โดยจังหวัดเชียงใหม่ได้เริ่มศึกษาโครงการรถไฟฟ้า LRT ภายในตัวเมืองเชียงใหม่ และส่วนต่อขยายจะใช้
โครงการ BRT เชื่อมระบบขนส่งนอกเมืองเพิ่มเติม หากโครงการนี้สาเร็จจังหวัดเชียงใหม่จะมีโครงการขนส่งมวลชน
สาธารณะครอบคลุมภายในเขตอาเภอเมืองและส่วนต่อขยายรอบตัวเมืองต่อไป รวมถึงจังหวัดเชียงใหม่มีแนวคิดเร่ง
ทาการศึกษาโครงการสนามบินแห่งใหม่ หากสาเร็จจะมีโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมสนามบินและตัวเมืองเพิ่มอีก 1
เส้นทาง ดังนั้นจึงจะทาให้จังหวัดเชียงใหม่มีระบบขนส่งที่เชื่อมโยงระหว่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ
สามารถลดการใช้รถยนต์ส่วนตัวลงอย่างเห็นได้ชัด
ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ริเริ่มศึกษาและจัดทาแอพพลิเคชัน SMART CHIANGMAI ขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์สังคมเมือง
สังคมแห่งการเร่งรีบ เพียงโหลดแอพพลิเคชันผ่านสมาร์ทโฟน โดยแอพพลิเคชันนี้จะบอกรายละเอียดการเชื่อมโยง
ระหว่างสถานีหรือการเชื่อมโยงในระบบขนส่งสาธารณะอื่นๆ รวมทั้งยังแสดงตาแหน่งของรถไฟฟ้าหรือขนส่งมวลชน
รูปแบบอื่นๆเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถคานวณเวลาที่ใช้ได้อย่างเหมาะสมอีกด้วย และในอนาคตจะสามารถใช้จ่ายเงิน
ผ่านแอพพลิเคชันได้เพื่อตอบโจทย์สังคมเมืองและสามารถพัฒนาแอพลิเคชันในอนาคตต่อไปให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
ประชาชนชาวเชียงใหม่และนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสารวจและศึกษาพฤติกรรมการใช้ขนส่งสาธารณะในแต่ละรูปแบบ เพื่อลดปริมาณการใช้รถยนต์ส่วน
บุคคลลง
2. เพื่อสร้างความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งานระบบขนส่งสาธารณะจังหวัดเชียงใหม่
3. เพื่อเชื่อมโยงผู้โดยสารในแต่ระบบขนส่งมวลชนอย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนอีกรูปแบบหนึ่ง
ขอบเขตโครงงาน
แอพพลิเคชันนี้ครอบคลุมเฉพาะระบบขนส่งมวลชนสาธารณะเท่านั้น อาทิเช่น ขนส่งมวลชนระบบราง LRT
รถไฟฟ้าเชื่อมสนามบิน รถเมล์เทศบาลนครเชียงใหม่ รถเมล์ปอ.10 เป็นต้น
หลักการและทฤษฎี
ในการจัดทาโครงงานศึกษาในครั้งนี้ ทางผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารจากเว็บไซด์ดังนี้
1. การขนส่งสาธารณะ (Public Transportation)
2. โครงข่ายทางเลือกระบบขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ แผน A และ B Public Transportation
Network Alternatives A and B
3. การศึกษาเพื่อสร้างสนามบินเชียงใหม่แห่งใหม่
4. ความต้องการระบบขนส่งมวลชนสาหรับเมืองเชียงใหม่ : MASS TRANSIT SYSTEM PREFERENCE
FOR CHIANG MAI CITY
4
1. การขนส่งสาธารณะ (Public Transportation)
คือบริการคมนาคมขนส่งผู้โดยสารที่สามารถใช้ได้โดยสาธารณชน ซึ่งแตกต่างจากรถแท็กซี่ รถร่วม หรือ
รถเมล์เช่าเหมาคันที่จะไม่รับผู้โดยสารแปลกหน้าหากไม่มีการตกลงกันก่อนล่วงหน้า วิธีการขนส่งสาธารณะรวมไปถึง
รถประจาทางสาธารณะ รถราง รถลาก และรถไฟ แล้วยังหมายรวมถึงระบบขนส่งมวลชนเช่นรถไฟฟ้าและรถไฟฟ้า
ใต้ดินและเรือข้ามฟาก สายการบิน รถทัวร์ และรถไฟระหว่างเมืองมักจะใช้ในการขนส่งผู้โดยสารระหว่างเมือง มีการ
พัฒนาเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในหลายพื้นที่ทั่วโลกอีกด้วย การขนส่งสาธาณะในมหานครมีความแตกต่างในพื้นที่
เอเซีย อเมริกาเหนือ และยุโรปเป็นอย่างมาก ในเอเชียการขนส่งมวลชนมีผู้ให้บริการคือบริษัทเอกชนหรือมหาชน
ที่แสวงหาผลกาไรและผู้ลงทุนทางการอสังหาริมทรัพย์ ในอเมริกาเหนือ หน่วยงานด้านการขนส่งมวลชนเป็นผู้ดูแลการ
บริการขนส่งสาธารณะ ในยุโรป รัฐบาลมักมอบหมายให้บริษัทเอกชนเป็นผู้ดูแลจัดการการขนส่งสาธารณะ
ระบบขนส่งสาธารณะ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1) Grade-separated" หรือ "Exclusive" (2) ระบบ
รถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit, BRT) ระบบขนส่งสาธารณะแบบรางเบา (Light Rail Transit, LRT) และ
(3) รถโดยสารประจาทาง โดยในเมืองใหญ่ๆทั่วประเทศได้มีการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อทาให้คุณภาพในการใช้
ชีวิตเมืองดีขึ้น ลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม และลดการใช้พลังงานลง เรียกว่า 'Smart City' เช่น San Francisco,
Amsterdam, Tokyo, Stockholm เป็นต้น และอีกหนึ่งสิ่งที่สาคัญในการที่จะพัฒนาควบคู่ไปด้วยกันคือ การพัฒนา
และจัดการเมืองหรือพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนให้เกิดความกระชับ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน
เรียกว่า TOD (Transit-Oriented Development) ซึ่งมักมีองค์ประกอบหลายด้าน เช่น พื้นที่ย่านการค้า, พื้นที่ย่าน
พักอาศัย, พื้นที่สาธารณะ และพื้นที่ที่พักอาศัยแบบหนาแน่นน้อย
http://www.pe.eng.ku.ac.th/files/semimar/2016/group10/images/paste27.jpg
ภาพเปรียบเทียบการใช้ขนส่งสาธารณะและการใช้ยานพาหะนะส่วนบุคคล
5
2. โครงข่ายทางเลือกระบบขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ แผน A และ B Public Transportation Network
Alternatives A and B
1. โครงข่ายทางเลือกรูปแบบ A
เป็นโครงข่ายที่ใช้ทางวิ่งบนดิน และ ใต้ดินร่วมกันประกอบด้วยเส้นทางหลัก 3 เส้น ดังนี้
สายสีแดง (A)
ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากโรงพยาบาลนครพิงค์ ผ่านศูนย์ราชการ จังหวัดเชียงใหม่และสนามกีฬา
700 ปี ต่อไปยังศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ และเริ่มใช้ทางวิ่งใต้ดินที่บริเวณแยกข่วงสิงห์ มุ่งสู่
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และต่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อพ้นเขตท่าอากาศยาน
นานาชาติจังหวัดเชียงใหม่จะกลับขึ้นใช้ทางวิ่งบนดินก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกแม่เหียะสมานสามัคคี (แยกบิกซีหางดง)
สายสีเขียว (A)
ระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร เริ่มต้นจากแยกรวมโชค เข้าสู่เส้นทางวิ่งใต้ดินที่จุดแยกแม่โจ้ (แยกโรงพยาบาลเทพ
ปัญญา) ผ่านตลาดวโรรส เชียงใหม่ไนท์บาร์ซาร์ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซ่าเชียงใหม่แอร์พอร์ต ก่อนจะไปสิ้นสุด
ที่ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่
สายสีน้าเงิน (A)
ระยะทาง 12 กิโลเมตร เริ่มต้นเส้นทางวิ่งใต้ดิน จากสวนสัตว์เชียงใหม่ ผ่านมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาและ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ตามลาดับ หักเลี้ยวลงมาตามถนนเส้นคันคลองชลประทาน ถึงบริเวณแยกตลาดต้นพะยอม
มุ่งหน้าไปทางโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ พบจุดตัดกับสายสีแดงที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ผ่านใต้คู
เมือง ไปถึงจุดตัดกับสายสีเขียว บริเวณเชียงใหม่ไนท์บาร์ซ่า วิ่งตรงไปเรื่อยๆ ไปจนถึงจุดกลับขึ้นใช้เส้นทางบนดิน ที่
แยกหนองประทีป วิ่งตามถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ ก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกศรีบัวเงินพัฒนา (แยกพรอมเมนาดา)
2. โครงข่ายทางเลือกรูปแบบ B
เป็นโครงข่ายที่ใช้ทางวิ่งบนดินทั้งหมดประกอบด้วยเส้นทางหลัก 3 เส้น ดังนี้
สายสีแดง (B)
ระยะทางประมาณ 15.65 กิโลเมตรเริ่มต้นจากโรงพยาบาลนครพิงค์ ผ่านศูนย์ราชการและสนามกีฬา 700ปี ต่อไปยัง
ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ ไปยังมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ไปพบกับจุดเปลี่ยนสายสีน้าเงินที่
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ก่อนที่จะต่อไปยังสนามบินนานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่ ไปสิ้นสุดที่แยกแม่เหียะ
สมานสามัคคี(แยกบิ๊กซีหางดง)
สายสีเขียว (B)
ระยะทางประมาณ 11.11 กิโลเมตร เริ่มต้นจากสี่แยกรวมโชค ผ่านแยกแม่โจ้(แยกโรงพยาบาลเทพปัญญา) ไปยังห้าง
เซ็นทรัลเฟสติวัล ก่อนจะต่อไปยังสถานีขนส่งอาเขต ผ่านกาดหลวงเชียงใหม่ไนท์บาร์ซาร์ ไปสู่ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล
พลาซาเชียงใหม่แอร์พอร์ต และไปสิ้นสุดที่ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่
สายสีน้าเงิน (B)
ระยะทางประมาณ 13.81 กิโลเมตร เริ่มต้นที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ผ่านมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาและ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อไปยังจุดตัดระหว่างสายสีแดงที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เลียบผ่านคูเมืองทางด้าน
ทิศใต้ ไปยังสถานีรถไฟเชียงใหม่ ผ่านบิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ไปสิ้นสุดที่แยกศรีบัวเงินพัฒนา(แยกพรอมเมนาดา)
6
3. การศึกษาเพื่อสร้างสนามบินเชียงใหม่แห่งใหม่
กระทรวงคมนาคมได้ประชุมหารือ "โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภาคเหนือตอนบน" โดยมีความคืบหน้า
ดังนี้
1. เตรียมก่อสร้างท่าอากาศยานภาคเหนือตอนบนหรือท่าอากาศยานเชียงใหม่ 2
2. ขณะนี้กาลังหาพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับการก่อสร้างสนามบินแห่งใหม่ (ตามข่าวล่าสุดจะเป็นพื้นที่ที่มี
รถไฟฟ้ารางเบาเชียงใหม่ไปถึง)
3. สนามบินเชียงใหม่เดิมจะยังคงเปิดใช้งานเฉพาะเที่ยวบินทหารและเที่ยวบินพาณิชย์ที่จาเป็นบางส่วน
เท่านั้น
4. พื้นที่ของสนามบินเชียงใหม่เดิมจะถูกพัฒนาให้เป็นเมืองใหม่ ประกอบด้วย ศูนย์แสดงสินค้า ศูนย์ประชุม
และโรงแรม เป็นต้น
ทั้งนี้สานักการบินพลเรือนจะดาเนินการจัดทาแผนแม่บทโครงการก่อสร้างสนามบินแห่งใหม่และโครงการ
พัฒนาพื้นที่สนามบินเชียงใหม่เดิมต่อไป
4. ความต้องการระบบขนส่งมวลชนสาหรับเมืองเชียงใหม่ : MASS TRANSIT SYSTEM PREFERENCE FOR
CHIANG MAI CITY โดย : ปริญญา ปฏิพันธกานต์ สาขาวิชาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2550
เชียงใหม่เป็นเมืองที่มีความสาคัญเป็นอันดับสองรองจากกรุงเทพมหานคร ถูกกาหนดให้เป็นเมือง
ศูนย์กลางความเจริญในทุกๆ ด้าน ส่งผลให้เกิดการเพิ่มขึ้นของจานวนประชากรอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดการใช้ที่ดิน
อย่างไร้ทิศทาง เมืองมีการขยายตัวออกไปวงกว้าง มีการตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัยโดยรอบขอบเมือง ส่งผลให้เกิดความ
ต้องการในการเดินทางมากขึ้น ซึ่งรถยนต์ส่วนบุคคล จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ชาวเชียงใหม่นิยมใช้ในการเดินทาง ทาให้ถนน
ไม่เพียงพอต่อปริมาณยานพาหนะที่เพิ่มขึ้นทุกวัน ประกอบกับระบบขนส่งมวลชนของเมือง ไม่สามารถตอบสนองต่อ
ความต้องการของประชาชนในเมือง จึงทาให้เกิดปัญหาจราจรตามมาในที่สุด
การศึกษาความต้องการระบบขนส่งมวลชนสาหรับเมืองเชียงใหม่ จึงเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการจราจร
ของเมือง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสภาพปัญหาการจราจร ระบบขนส่งมวลชนของเมืองเชียงใหม่ที่มีอยู่ใน
ปัจจุบัน และความต้องการในอนาคต เพื่อหาพฤติกรรมและความต้องการในการเดินทาง ของประชาชนในเมือง
เชียงใหม่ อีกทั้งศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการและพฤติกรรมในการเดินทาง เพื่อเสนอแนะรูปแบบของระบบ
ขนส่งมวลชน ที่ตอบสนองต่อความต้องการ และเป็นทางเลือกของประชาชนในเมืองเชียงใหม่ได้ โดยการดาเนิน
การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ การวิจัยค้นคว้า เป็นการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับสภาพการจราจร
สภาพการใช้ที่ดินของเมืองทั้งเอกสารในประเทศและต่างประเทศ โดยนาเอกสารในส่วนที่ต้องการมาเรียบเรียง เพื่อให้
เห็นถึงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น และระบบที่เหมาะสมที่จะสามารถแก้ไขปัญหาการจราจร ของเมืองเชียงใหม่ได้ ส่วนที่ 2
เป็นการวิจัยเชิงสารวจ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม โดยการสอบถาม
จะขอความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความรู้เกี่ยวกับระบบขนส่งและสภาพเมืองเชียงใหม่ และสอบถามจากประชาชน
ชาวเชียงใหม่ เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อลักษณะการเดินทาง พฤติกรรมการเดินทาง และปัจจัยที่มีความเหมาะสมกับ
ระบบขนส่งมวลชน เพื่อที่จะสามารถเสนอแนะรูปแบบของระบบ ที่น่าจะมีความเหมาะสมกับพื้นที่ศึกษาได้ โดย
7
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 พื้นที่ภายในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่
ทาการศึกษาเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะการเดินทางภายในพื้นที่ ลักษณะการเดินทางจากในพื้นที่สู่นอกพื้นที่ เพื่อทา
การวางแผนเสนอแนะระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมและ ส่วนที่ 2 พื้นที่รอบนอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ซึ่งเป็น
พื้นที่ที่อยู่ในเขตผังเมืองรวม เป็นพื้นที่ที่ทาการศึกษาเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะการเดินทางจากภายนอกเข้ามาสู่
ภายในพื้นที่ ประกอบการวางแผนในส่วนแรก
จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในช่วงวัยนักเรียน นักศึกษา อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนคร
เชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์ในการเดินทาง คือ ไปเรียนหนังสือและทางานเป็นหลัก ระบบขนส่งที่ใช้ในการเดินทาง
เป็นประจาคือ รถสองแถวประจาทาง โดยมีเหตุผลในการเลือกใช้คือ มีความปลอดภัย รองลงมาคือ รถเมล์โดยสาร
โดยมีเหตุผลในการเลือกใช้ คือ เหมาะสมกับสมาชิกที่ร่วมเดินทาง ส่วนอุปสรรคคือ ค่าโดยสารมีราคาแพง ตัวแปรที่มี
ความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ในการเดินทางคือ เพศ อายุ อาชีพ และรายได้ ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการเลือก
พาหนะในการเดินทาง คือ เพศ อาชีพ อายุ รายได้ ระยะทาง ค่าใช้จ่าย วัตถุประสงค์ในการเดินทางและที่ตั้งที่อยู่
อาศัย มีความสัมพันธ์กับพาหนะที่เลือกใช้ ในการเดินทางอย่างมีนัยสาคัญ โดยพบว่า คนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลมี
สัดส่วนการใช้ระบบขนส่งต่างๆ ของเมืองเชียงใหม่มากกว่าคนที่อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล ด้วยเหตุผลทางด้าน
ระยะทางและเวลาในการเดินทาง ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกระบบขนส่งสาธารณะอนาคตนั้นพบว่า การหลีกเลี่ยง
ปัญหาการจราจร ความสะดวกสบายในการเดินทาง ค่าใช้จ่าย ที่เหมาะสม และความปลอดภัยในการเดินทาง เป็นสิ่ง
ที่ประชาชนมีความพึงพอใจมากที่สุด
การศึกษานี้ได้ขอให้กลุ่มของผู้เชี่ยวชาญ ประเมินระบบขนส่งมวลชนหลักอยู่ 3 ระบบ ได้แก่ ระบบรถไฟฟ้า ระบบ
รถราง และระบบรถเมล์โดยสาร ซึ่งปัจจุบันระบบดังกล่าวมีการใช้กันอยู่ในเมืองต่างๆ ในหลายประเทศที่มีลักษณะ
และขนาดของเมืองคล้ายคลึงกับเมืองเชียงใหม่ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญเห็นว่า ในอนาคตระบบขนส่งประเภทรถไฟฟ้า เป็น
ระบบที่มีความเหมาะสมกับเมืองเชียงใหม่มากที่สุด รองลงมาคือ รถราง และรถเมล์โดยสารตามลาดับ ส่วนปัจจัยที่
ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่า สาคัญมากที่สุดคือ ความปลอดภัยในการเดินทาง รองลงมาคือ ค่าใช้จ่ายในการใช้บริการ ความ
สะดวกสบายของผู้โดยสาร และการเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเมือง อย่างไรก็ตาม ในความคิดเห็นของประชาชนนั้น
รถเมล์โดยสารเป็นระบบที่เหมาะสมกับเมืองเชียงใหม่มากที่สุด ทั้งสาหรับพื้นที่ในเขตเทศบาลและรอบนอกเขต
เทศบาล รองลงมาคือ รถไฟฟ้า โดยเห็นว่าเหมาะสมกับพื้นที่ในเขตเทศบาลเป็นหลัก ในกรณีที่จะใช้ระบบขนส่ง
มวลชนแบบหลายระบบร่วมกัน ผู้ตอบส่วนใหญ่เลือกระบบรถเมล์โดยสารและรถไฟฟ้า โดยเห็นว่า เหมาะสมกับพื้นที่
ทั้งในและนอกเขตเทศบาล ในขณะที่รถรางไฟฟ้าซึ่งเป็นระบบที่ใช้กันอยู่ในเมืองต่างๆ จากกรณีศึกษา และผู้เชี่ยวชาญ
เห็นว่า มีความเหมาะสมเป็นอันดับสองนั้น กลับเป็นระบบที่ชาวเมืองเชียงใหม่มีความต้องการน้อยที่สุด
การศึกษาเห็นว่า ระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมกับเมืองเชียงใหม่ ควรเป็นระบบที่สอดคล้องกับความต้องการ
ของประชาชน และสอดคล้องกับลักษณะโครงสร้างของเมือง ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงได้เสนอแนะว่า พื้นที่ในเขตเทศบาล
ซึ่งลักษณะการใช้ที่ดิน มีความหนาแน่นสูงและถนนที่คับแคบ เป็นปัจจัยกาหนดความสาคัญ ที่ควรพัฒนาระบบขนส่ง
มวลชนประเภทรถไฟฟ้าขนาดเบา ที่ไม่ต้องใช้พื้นที่ของถนนขึ้นมาใช้ เมื่อพิจารณาว่า เชียงใหม่มีมรดกทางวัฒนธรรม
และภูมิทัศน์เมืองที่แตกต่างจากเมืองอื่น จึงเสนอแนะว่า ในพื้นที่ชั้นในของเมืองนั้นระบบรถไฟฟ้าใต้ดิน เหมาะสม
8
มากกว่าระบบลอยฟ้า โดยสามารถปรับเปลี่ยนมาเป็นระบบลอยฟ้าหรือบนถนนได้ เมื่อออกไปยังพื้นที่ที่มีความ
หนาแน่นต่า เสนอให้ระบบรถไฟฟ้านี้วิ่งออกจากพื้นที่ชั้นใน ตามแนวเส้นทางหลักสู่พื้นที่ชั้นนอกโดยรอบ ซึ่งมีระบบ
รถเมล์โดยสาร ที่ได้รับการปรับปรุงปรุงให้ดีเป็นผู้ให้บริการหลัก นอกจากนั้นเสนอแนะการศึกษานี้ให้มีการพิจารณา
ถึงเส้นทางการให้บริการที่เหมาะสม การปรับปรุงสภาพของถนนให้สอดคล้องกับการใช้งาน การพัฒนารูปแบบการ
ให้บริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน และการมีมาตรฐานในการให้บริการระบบขนส่งมวลชนที่สูง
ต่อไป
9
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. รวบรวมข้อมูลระบบขนส่งที่พร้อมให้บริการและพร้อมรับเทคโนโลยี
2. จัดทาแอพพลิเคชันโดยการเขียนแอพพลิเคชันสาหรับสมาร์ทโฟน
3. ทดลองใช้แอพพลิเคชัน ค้นหาปัญหา ข้อเสีย หรือข้อผิดพลาดที่จะเกิดขึ้น
4. แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
5. ทดลองใช้โดยกลุ่มผู้ใช้จริง
6. ประเมินผล และพัฒนาระบบตามข้อคิดเห็น
7. เปิดใช้งานแอพพลิเคชัน สมาร์ท เชียงใหม่ แบบสาธารณะ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์ สาหรับเขียนแอพพลิเคชัน
2. สมาร์ทโฟน สาหรับทดลองแอพพลิเคชัน
งบประมาณ
500 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
10
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนชาวเชียงใหม่จะสามารถเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะมากขึ้นสร้างความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งาน
รวมถึงสามารถเชื่อมโยงผู้โดยสารในแต่ละระบบขนส่งมวลชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และทาให้ประชาชน
ส่วนใหญ่ไว้ใจในระบบขนส่งมวลชนและหันมาให้ระบบขนส่งมวลชนมากขึ้น ซึ่งจะสามารถช่วยลดปริมาณรถใน
ท้องถนนลงได้เป็นอย่างมาก
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัด เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ – การคานวณปริมาณจานวนผู้ใช้ขนส่งสาธารณะ และจานวนผู้ใช้รถส่วนตัว
ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ – การเขียนแอพพลิเคชัน สมาร์ท เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา – สังคมกับการมองขนส่งสาธารณะในเมืองเชียงใหม่ และการพัฒนาระบบ
ขนส่งมวลชนที่มีประสิทธิภาพ และข้อคิดเห็น
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
ปริญญา ปฏิพันธกานต์ สาขาวิชาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
ทหารลาดกระบัง 2550 “ความต้องการระบบขนส่งมวลชนสาหรับเมืองเชียงใหม่ : MASS TRANSIT SYSTEM
PREFERENCE FOR CHIANG MAI CITY”(online). สืบค้นจาก
: http://www.sri.cmu.ac.th/~transportation/show-details.php?type=research&id=18 [5 มกราคม
2561]
จิตราภรณ์ ปัญญาสัน เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546 “ศักยภาพการ
พัฒนาของระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองเชียงใหม่ : Development Potential of Public Transportation
System in Chiang Mai Municipality ”(online). สืบค้นจาก
: http://www.sri.cmu.ac.th/~transportation/show-details.php?type=research&id=13 [5 มกราคม
2561]
cm-pmap 2559 “เชียงใหม่จะมีระบบขนส่งสาธารณะได้อย่างไร? ”(online). สืบค้นจาก
: http://www.cm-pmap.com/?page_id=306#content [17 ธันวาคม 2560]
ThailandSkyline 2560 “สนามบินเชียงใหม่ 2 ”(online). สืบค้นจาก
: http://www.chiangmainews.co.th/page/archives/656272 [17 ธันวาคม 2560]

More Related Content

What's hot

Projectm6 2-2556 (เสร จ)
Projectm6 2-2556 (เสร จ)Projectm6 2-2556 (เสร จ)
Projectm6 2-2556 (เสร จ)adaxxrose
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2Ittidate Pepea
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6Folk Sarit
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตKantapon Knight
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jeejii Believe
 
งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์PainapaPoethaphan
 
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตKantapon Knight
 
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30Pattawee Siriwongkhruea
 
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียนจุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียนCheeses 'Zee
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
2562 final-project 21.26pdf
2562 final-project 21.26pdf2562 final-project 21.26pdf
2562 final-project 21.26pdfssuser5a0579
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานFah Phatcharida
 

What's hot (20)

Projectm6 2-2556 (เสร จ)
Projectm6 2-2556 (เสร จ)Projectm6 2-2556 (เสร จ)
Projectm6 2-2556 (เสร จ)
 
2562 final-project 26 (1)
2562 final-project 26 (1)2562 final-project 26 (1)
2562 final-project 26 (1)
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์
 
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
 
Project
ProjectProject
Project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียนจุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 21.26pdf
2562 final-project 21.26pdf2562 final-project 21.26pdf
2562 final-project 21.26pdf
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
Kanjana14
Kanjana14Kanjana14
Kanjana14
 

Similar to 2560 project แฟรงเซฟ ใหม่

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์greatzaza007
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปEakkamol Dechudom
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะChanin Monkai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สทธัตถ์ ทาวีกุล
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์omaha123
 

Similar to 2560 project แฟรงเซฟ ใหม่ (20)

2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
รัชนาท 2559-project
รัชนาท 2559-project รัชนาท 2559-project
รัชนาท 2559-project
 
รัชนาท 2559-project com
รัชนาท 2559-project comรัชนาท 2559-project com
รัชนาท 2559-project com
 
Supachat
SupachatSupachat
Supachat
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Atomic 1
Atomic  1Atomic  1
Atomic 1
 
2560 project 2
2560 project 22560 project 2
2560 project 2
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2558 project01
2558 project01 2558 project01
2558 project01
 
Chon;acahrt monta sarong
Chon;acahrt  monta sarongChon;acahrt  monta sarong
Chon;acahrt monta sarong
 
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะโครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
 
Suppachat Panpintar
Suppachat PanpintarSuppachat Panpintar
Suppachat Panpintar
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 
อันนี้
อันนี้อันนี้
อันนี้
 

2560 project แฟรงเซฟ ใหม่

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน แอพพลิเคชัน SMART CHIANGMAI ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 8 2. นาย ธีรภัทร์ ยอดคาปา เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ เลขที่ 37 2. นาย ธีรภัทร์ ยอดคาปา เลขที่ 6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) แอพพลิเคชัน สมาร์ท เชียงใหม่ สะดวกด้วยการเชื่อมโยงขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Application SMART CHIANGMAI ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ และ นาย ธีรภัทร ยอดคาปา ชื่อที่ปรึกษา อาจารย์ เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน ตั้งแต่ เดือนกันยายน 2560 ถึง เดือนธันวาคม ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันจังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภาคเหนือตอนบนและมีนักท่องเที่ยวเข้ามา ในจังหวัดเชียงใหม่ถึง 10 ล้านคนต่อปีโดยจังหวัดเชียงใหม่ เป็นจังหวัดที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศในการเดินทางมาท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง ในแต่ละฤดูกาลของจังหวัดเชียงใหม่ จะมีสภาพ ภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกัน และล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยทางด้านบวก ของการท่องเที่ยว ซึ่งการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สานักงานเชียงใหม่ ได้จัดแคมเปญ และกิจรรมให้สอดคล้องกับฤดูกาล เพื่อกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวได้มาเที่ยวและได้ เห็นมุมมองต่างๆ ของจังหวัดเชียงใหม่ในแง่มุมที่แตกต่างกันของแต่ละฤดูกาล ประกอบกับจังหวัดเชียงใหม่กลายเป็น สังคมเมืองที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาใช้รถยนต์ส่วนบุคคลกันเป็นส่วนมากจนทาให้เกิดปัญหารถติดสะสมในเวลาเร่งด่วน จากการเติบโตของเมืองเชียงใหม่มองว่าการคมนาคมหรือการเดินทางมันเปลี่ยนไป ส่งผลให้การบริการ สาธารณะที่ไม่ครบถ้วน รวมถึงความคับคั่งที่เพิ่มขึ้น สวนทางกับปัญหาสภาพรถติดที่เกิดขึ้น ยิ่งการเดินทางด้วยรถ สาธารณะลาบาก คนก็เริ่มเปลี่ยนพฤติกรรม ต้องการใช้รถส่วนตัวมากขึ้น ขณะที่ภาพกว้างของการขนส่งมวลชน เชียงใหม่ก็ยังไม่ชัดเจน การจะพัฒนาระบบโครงสร้างอะไรก็ตาม มันมีผลต่อมูลค่าทางวัฒนธรรม ถ้าวันหนึ่งไม่มีรถ แดง แน่นอนมันเสียหายด้านการอนุรักษ์สิ่งคู่เมือง หรือเติบโตแบบก้าวกระโดดของเศรษฐกิจ ที่ทาให้สภาพเมือง
  • 3. 3 เชียงใหม่เปลี่ยน นักท่องเที่ยวหลั่งไหลเข้ามา อาจทาให้คนไม่อยากมาเชียงใหม่แล้วก็ได้ เพราะคนมันแน่นเกินไป สุดท้ายมันต้องพึ่งพาบริการรถสาธารณะ ที่จะทาให้ระบบการท่องเที่ยวจะยั่งยืนขึ้น โดยจังหวัดเชียงใหม่ได้เริ่มศึกษาโครงการรถไฟฟ้า LRT ภายในตัวเมืองเชียงใหม่ และส่วนต่อขยายจะใช้ โครงการ BRT เชื่อมระบบขนส่งนอกเมืองเพิ่มเติม หากโครงการนี้สาเร็จจังหวัดเชียงใหม่จะมีโครงการขนส่งมวลชน สาธารณะครอบคลุมภายในเขตอาเภอเมืองและส่วนต่อขยายรอบตัวเมืองต่อไป รวมถึงจังหวัดเชียงใหม่มีแนวคิดเร่ง ทาการศึกษาโครงการสนามบินแห่งใหม่ หากสาเร็จจะมีโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมสนามบินและตัวเมืองเพิ่มอีก 1 เส้นทาง ดังนั้นจึงจะทาให้จังหวัดเชียงใหม่มีระบบขนส่งที่เชื่อมโยงระหว่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ สามารถลดการใช้รถยนต์ส่วนตัวลงอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ริเริ่มศึกษาและจัดทาแอพพลิเคชัน SMART CHIANGMAI ขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์สังคมเมือง สังคมแห่งการเร่งรีบ เพียงโหลดแอพพลิเคชันผ่านสมาร์ทโฟน โดยแอพพลิเคชันนี้จะบอกรายละเอียดการเชื่อมโยง ระหว่างสถานีหรือการเชื่อมโยงในระบบขนส่งสาธารณะอื่นๆ รวมทั้งยังแสดงตาแหน่งของรถไฟฟ้าหรือขนส่งมวลชน รูปแบบอื่นๆเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถคานวณเวลาที่ใช้ได้อย่างเหมาะสมอีกด้วย และในอนาคตจะสามารถใช้จ่ายเงิน ผ่านแอพพลิเคชันได้เพื่อตอบโจทย์สังคมเมืองและสามารถพัฒนาแอพลิเคชันในอนาคตต่อไปให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ประชาชนชาวเชียงใหม่และนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสารวจและศึกษาพฤติกรรมการใช้ขนส่งสาธารณะในแต่ละรูปแบบ เพื่อลดปริมาณการใช้รถยนต์ส่วน บุคคลลง 2. เพื่อสร้างความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งานระบบขนส่งสาธารณะจังหวัดเชียงใหม่ 3. เพื่อเชื่อมโยงผู้โดยสารในแต่ระบบขนส่งมวลชนอย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนอีกรูปแบบหนึ่ง ขอบเขตโครงงาน แอพพลิเคชันนี้ครอบคลุมเฉพาะระบบขนส่งมวลชนสาธารณะเท่านั้น อาทิเช่น ขนส่งมวลชนระบบราง LRT รถไฟฟ้าเชื่อมสนามบิน รถเมล์เทศบาลนครเชียงใหม่ รถเมล์ปอ.10 เป็นต้น หลักการและทฤษฎี ในการจัดทาโครงงานศึกษาในครั้งนี้ ทางผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารจากเว็บไซด์ดังนี้ 1. การขนส่งสาธารณะ (Public Transportation) 2. โครงข่ายทางเลือกระบบขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ แผน A และ B Public Transportation Network Alternatives A and B 3. การศึกษาเพื่อสร้างสนามบินเชียงใหม่แห่งใหม่ 4. ความต้องการระบบขนส่งมวลชนสาหรับเมืองเชียงใหม่ : MASS TRANSIT SYSTEM PREFERENCE FOR CHIANG MAI CITY
  • 4. 4 1. การขนส่งสาธารณะ (Public Transportation) คือบริการคมนาคมขนส่งผู้โดยสารที่สามารถใช้ได้โดยสาธารณชน ซึ่งแตกต่างจากรถแท็กซี่ รถร่วม หรือ รถเมล์เช่าเหมาคันที่จะไม่รับผู้โดยสารแปลกหน้าหากไม่มีการตกลงกันก่อนล่วงหน้า วิธีการขนส่งสาธารณะรวมไปถึง รถประจาทางสาธารณะ รถราง รถลาก และรถไฟ แล้วยังหมายรวมถึงระบบขนส่งมวลชนเช่นรถไฟฟ้าและรถไฟฟ้า ใต้ดินและเรือข้ามฟาก สายการบิน รถทัวร์ และรถไฟระหว่างเมืองมักจะใช้ในการขนส่งผู้โดยสารระหว่างเมือง มีการ พัฒนาเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในหลายพื้นที่ทั่วโลกอีกด้วย การขนส่งสาธาณะในมหานครมีความแตกต่างในพื้นที่ เอเซีย อเมริกาเหนือ และยุโรปเป็นอย่างมาก ในเอเชียการขนส่งมวลชนมีผู้ให้บริการคือบริษัทเอกชนหรือมหาชน ที่แสวงหาผลกาไรและผู้ลงทุนทางการอสังหาริมทรัพย์ ในอเมริกาเหนือ หน่วยงานด้านการขนส่งมวลชนเป็นผู้ดูแลการ บริการขนส่งสาธารณะ ในยุโรป รัฐบาลมักมอบหมายให้บริษัทเอกชนเป็นผู้ดูแลจัดการการขนส่งสาธารณะ ระบบขนส่งสาธารณะ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1) Grade-separated" หรือ "Exclusive" (2) ระบบ รถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit, BRT) ระบบขนส่งสาธารณะแบบรางเบา (Light Rail Transit, LRT) และ (3) รถโดยสารประจาทาง โดยในเมืองใหญ่ๆทั่วประเทศได้มีการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อทาให้คุณภาพในการใช้ ชีวิตเมืองดีขึ้น ลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม และลดการใช้พลังงานลง เรียกว่า 'Smart City' เช่น San Francisco, Amsterdam, Tokyo, Stockholm เป็นต้น และอีกหนึ่งสิ่งที่สาคัญในการที่จะพัฒนาควบคู่ไปด้วยกันคือ การพัฒนา และจัดการเมืองหรือพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนให้เกิดความกระชับ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน เรียกว่า TOD (Transit-Oriented Development) ซึ่งมักมีองค์ประกอบหลายด้าน เช่น พื้นที่ย่านการค้า, พื้นที่ย่าน พักอาศัย, พื้นที่สาธารณะ และพื้นที่ที่พักอาศัยแบบหนาแน่นน้อย http://www.pe.eng.ku.ac.th/files/semimar/2016/group10/images/paste27.jpg ภาพเปรียบเทียบการใช้ขนส่งสาธารณะและการใช้ยานพาหะนะส่วนบุคคล
  • 5. 5 2. โครงข่ายทางเลือกระบบขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ แผน A และ B Public Transportation Network Alternatives A and B 1. โครงข่ายทางเลือกรูปแบบ A เป็นโครงข่ายที่ใช้ทางวิ่งบนดิน และ ใต้ดินร่วมกันประกอบด้วยเส้นทางหลัก 3 เส้น ดังนี้ สายสีแดง (A) ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากโรงพยาบาลนครพิงค์ ผ่านศูนย์ราชการ จังหวัดเชียงใหม่และสนามกีฬา 700 ปี ต่อไปยังศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ และเริ่มใช้ทางวิ่งใต้ดินที่บริเวณแยกข่วงสิงห์ มุ่งสู่ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และต่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อพ้นเขตท่าอากาศยาน นานาชาติจังหวัดเชียงใหม่จะกลับขึ้นใช้ทางวิ่งบนดินก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกแม่เหียะสมานสามัคคี (แยกบิกซีหางดง) สายสีเขียว (A) ระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร เริ่มต้นจากแยกรวมโชค เข้าสู่เส้นทางวิ่งใต้ดินที่จุดแยกแม่โจ้ (แยกโรงพยาบาลเทพ ปัญญา) ผ่านตลาดวโรรส เชียงใหม่ไนท์บาร์ซาร์ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซ่าเชียงใหม่แอร์พอร์ต ก่อนจะไปสิ้นสุด ที่ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ สายสีน้าเงิน (A) ระยะทาง 12 กิโลเมตร เริ่มต้นเส้นทางวิ่งใต้ดิน จากสวนสัตว์เชียงใหม่ ผ่านมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาและ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ตามลาดับ หักเลี้ยวลงมาตามถนนเส้นคันคลองชลประทาน ถึงบริเวณแยกตลาดต้นพะยอม มุ่งหน้าไปทางโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ พบจุดตัดกับสายสีแดงที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ผ่านใต้คู เมือง ไปถึงจุดตัดกับสายสีเขียว บริเวณเชียงใหม่ไนท์บาร์ซ่า วิ่งตรงไปเรื่อยๆ ไปจนถึงจุดกลับขึ้นใช้เส้นทางบนดิน ที่ แยกหนองประทีป วิ่งตามถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ ก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกศรีบัวเงินพัฒนา (แยกพรอมเมนาดา) 2. โครงข่ายทางเลือกรูปแบบ B เป็นโครงข่ายที่ใช้ทางวิ่งบนดินทั้งหมดประกอบด้วยเส้นทางหลัก 3 เส้น ดังนี้ สายสีแดง (B) ระยะทางประมาณ 15.65 กิโลเมตรเริ่มต้นจากโรงพยาบาลนครพิงค์ ผ่านศูนย์ราชการและสนามกีฬา 700ปี ต่อไปยัง ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ ไปยังมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ไปพบกับจุดเปลี่ยนสายสีน้าเงินที่ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ก่อนที่จะต่อไปยังสนามบินนานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่ ไปสิ้นสุดที่แยกแม่เหียะ สมานสามัคคี(แยกบิ๊กซีหางดง) สายสีเขียว (B) ระยะทางประมาณ 11.11 กิโลเมตร เริ่มต้นจากสี่แยกรวมโชค ผ่านแยกแม่โจ้(แยกโรงพยาบาลเทพปัญญา) ไปยังห้าง เซ็นทรัลเฟสติวัล ก่อนจะต่อไปยังสถานีขนส่งอาเขต ผ่านกาดหลวงเชียงใหม่ไนท์บาร์ซาร์ ไปสู่ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล พลาซาเชียงใหม่แอร์พอร์ต และไปสิ้นสุดที่ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ สายสีน้าเงิน (B) ระยะทางประมาณ 13.81 กิโลเมตร เริ่มต้นที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ผ่านมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาและ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อไปยังจุดตัดระหว่างสายสีแดงที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เลียบผ่านคูเมืองทางด้าน ทิศใต้ ไปยังสถานีรถไฟเชียงใหม่ ผ่านบิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ไปสิ้นสุดที่แยกศรีบัวเงินพัฒนา(แยกพรอมเมนาดา)
  • 6. 6 3. การศึกษาเพื่อสร้างสนามบินเชียงใหม่แห่งใหม่ กระทรวงคมนาคมได้ประชุมหารือ "โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภาคเหนือตอนบน" โดยมีความคืบหน้า ดังนี้ 1. เตรียมก่อสร้างท่าอากาศยานภาคเหนือตอนบนหรือท่าอากาศยานเชียงใหม่ 2 2. ขณะนี้กาลังหาพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับการก่อสร้างสนามบินแห่งใหม่ (ตามข่าวล่าสุดจะเป็นพื้นที่ที่มี รถไฟฟ้ารางเบาเชียงใหม่ไปถึง) 3. สนามบินเชียงใหม่เดิมจะยังคงเปิดใช้งานเฉพาะเที่ยวบินทหารและเที่ยวบินพาณิชย์ที่จาเป็นบางส่วน เท่านั้น 4. พื้นที่ของสนามบินเชียงใหม่เดิมจะถูกพัฒนาให้เป็นเมืองใหม่ ประกอบด้วย ศูนย์แสดงสินค้า ศูนย์ประชุม และโรงแรม เป็นต้น ทั้งนี้สานักการบินพลเรือนจะดาเนินการจัดทาแผนแม่บทโครงการก่อสร้างสนามบินแห่งใหม่และโครงการ พัฒนาพื้นที่สนามบินเชียงใหม่เดิมต่อไป 4. ความต้องการระบบขนส่งมวลชนสาหรับเมืองเชียงใหม่ : MASS TRANSIT SYSTEM PREFERENCE FOR CHIANG MAI CITY โดย : ปริญญา ปฏิพันธกานต์ สาขาวิชาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2550 เชียงใหม่เป็นเมืองที่มีความสาคัญเป็นอันดับสองรองจากกรุงเทพมหานคร ถูกกาหนดให้เป็นเมือง ศูนย์กลางความเจริญในทุกๆ ด้าน ส่งผลให้เกิดการเพิ่มขึ้นของจานวนประชากรอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดการใช้ที่ดิน อย่างไร้ทิศทาง เมืองมีการขยายตัวออกไปวงกว้าง มีการตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัยโดยรอบขอบเมือง ส่งผลให้เกิดความ ต้องการในการเดินทางมากขึ้น ซึ่งรถยนต์ส่วนบุคคล จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ชาวเชียงใหม่นิยมใช้ในการเดินทาง ทาให้ถนน ไม่เพียงพอต่อปริมาณยานพาหนะที่เพิ่มขึ้นทุกวัน ประกอบกับระบบขนส่งมวลชนของเมือง ไม่สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของประชาชนในเมือง จึงทาให้เกิดปัญหาจราจรตามมาในที่สุด การศึกษาความต้องการระบบขนส่งมวลชนสาหรับเมืองเชียงใหม่ จึงเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการจราจร ของเมือง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสภาพปัญหาการจราจร ระบบขนส่งมวลชนของเมืองเชียงใหม่ที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน และความต้องการในอนาคต เพื่อหาพฤติกรรมและความต้องการในการเดินทาง ของประชาชนในเมือง เชียงใหม่ อีกทั้งศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการและพฤติกรรมในการเดินทาง เพื่อเสนอแนะรูปแบบของระบบ ขนส่งมวลชน ที่ตอบสนองต่อความต้องการ และเป็นทางเลือกของประชาชนในเมืองเชียงใหม่ได้ โดยการดาเนิน การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ การวิจัยค้นคว้า เป็นการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับสภาพการจราจร สภาพการใช้ที่ดินของเมืองทั้งเอกสารในประเทศและต่างประเทศ โดยนาเอกสารในส่วนที่ต้องการมาเรียบเรียง เพื่อให้ เห็นถึงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น และระบบที่เหมาะสมที่จะสามารถแก้ไขปัญหาการจราจร ของเมืองเชียงใหม่ได้ ส่วนที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงสารวจ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม โดยการสอบถาม จะขอความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความรู้เกี่ยวกับระบบขนส่งและสภาพเมืองเชียงใหม่ และสอบถามจากประชาชน ชาวเชียงใหม่ เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อลักษณะการเดินทาง พฤติกรรมการเดินทาง และปัจจัยที่มีความเหมาะสมกับ ระบบขนส่งมวลชน เพื่อที่จะสามารถเสนอแนะรูปแบบของระบบ ที่น่าจะมีความเหมาะสมกับพื้นที่ศึกษาได้ โดย
  • 7. 7 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 พื้นที่ภายในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ ทาการศึกษาเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะการเดินทางภายในพื้นที่ ลักษณะการเดินทางจากในพื้นที่สู่นอกพื้นที่ เพื่อทา การวางแผนเสนอแนะระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมและ ส่วนที่ 2 พื้นที่รอบนอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ซึ่งเป็น พื้นที่ที่อยู่ในเขตผังเมืองรวม เป็นพื้นที่ที่ทาการศึกษาเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะการเดินทางจากภายนอกเข้ามาสู่ ภายในพื้นที่ ประกอบการวางแผนในส่วนแรก จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในช่วงวัยนักเรียน นักศึกษา อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนคร เชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์ในการเดินทาง คือ ไปเรียนหนังสือและทางานเป็นหลัก ระบบขนส่งที่ใช้ในการเดินทาง เป็นประจาคือ รถสองแถวประจาทาง โดยมีเหตุผลในการเลือกใช้คือ มีความปลอดภัย รองลงมาคือ รถเมล์โดยสาร โดยมีเหตุผลในการเลือกใช้ คือ เหมาะสมกับสมาชิกที่ร่วมเดินทาง ส่วนอุปสรรคคือ ค่าโดยสารมีราคาแพง ตัวแปรที่มี ความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ในการเดินทางคือ เพศ อายุ อาชีพ และรายได้ ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการเลือก พาหนะในการเดินทาง คือ เพศ อาชีพ อายุ รายได้ ระยะทาง ค่าใช้จ่าย วัตถุประสงค์ในการเดินทางและที่ตั้งที่อยู่ อาศัย มีความสัมพันธ์กับพาหนะที่เลือกใช้ ในการเดินทางอย่างมีนัยสาคัญ โดยพบว่า คนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลมี สัดส่วนการใช้ระบบขนส่งต่างๆ ของเมืองเชียงใหม่มากกว่าคนที่อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล ด้วยเหตุผลทางด้าน ระยะทางและเวลาในการเดินทาง ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกระบบขนส่งสาธารณะอนาคตนั้นพบว่า การหลีกเลี่ยง ปัญหาการจราจร ความสะดวกสบายในการเดินทาง ค่าใช้จ่าย ที่เหมาะสม และความปลอดภัยในการเดินทาง เป็นสิ่ง ที่ประชาชนมีความพึงพอใจมากที่สุด การศึกษานี้ได้ขอให้กลุ่มของผู้เชี่ยวชาญ ประเมินระบบขนส่งมวลชนหลักอยู่ 3 ระบบ ได้แก่ ระบบรถไฟฟ้า ระบบ รถราง และระบบรถเมล์โดยสาร ซึ่งปัจจุบันระบบดังกล่าวมีการใช้กันอยู่ในเมืองต่างๆ ในหลายประเทศที่มีลักษณะ และขนาดของเมืองคล้ายคลึงกับเมืองเชียงใหม่ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญเห็นว่า ในอนาคตระบบขนส่งประเภทรถไฟฟ้า เป็น ระบบที่มีความเหมาะสมกับเมืองเชียงใหม่มากที่สุด รองลงมาคือ รถราง และรถเมล์โดยสารตามลาดับ ส่วนปัจจัยที่ ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่า สาคัญมากที่สุดคือ ความปลอดภัยในการเดินทาง รองลงมาคือ ค่าใช้จ่ายในการใช้บริการ ความ สะดวกสบายของผู้โดยสาร และการเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเมือง อย่างไรก็ตาม ในความคิดเห็นของประชาชนนั้น รถเมล์โดยสารเป็นระบบที่เหมาะสมกับเมืองเชียงใหม่มากที่สุด ทั้งสาหรับพื้นที่ในเขตเทศบาลและรอบนอกเขต เทศบาล รองลงมาคือ รถไฟฟ้า โดยเห็นว่าเหมาะสมกับพื้นที่ในเขตเทศบาลเป็นหลัก ในกรณีที่จะใช้ระบบขนส่ง มวลชนแบบหลายระบบร่วมกัน ผู้ตอบส่วนใหญ่เลือกระบบรถเมล์โดยสารและรถไฟฟ้า โดยเห็นว่า เหมาะสมกับพื้นที่ ทั้งในและนอกเขตเทศบาล ในขณะที่รถรางไฟฟ้าซึ่งเป็นระบบที่ใช้กันอยู่ในเมืองต่างๆ จากกรณีศึกษา และผู้เชี่ยวชาญ เห็นว่า มีความเหมาะสมเป็นอันดับสองนั้น กลับเป็นระบบที่ชาวเมืองเชียงใหม่มีความต้องการน้อยที่สุด การศึกษาเห็นว่า ระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมกับเมืองเชียงใหม่ ควรเป็นระบบที่สอดคล้องกับความต้องการ ของประชาชน และสอดคล้องกับลักษณะโครงสร้างของเมือง ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงได้เสนอแนะว่า พื้นที่ในเขตเทศบาล ซึ่งลักษณะการใช้ที่ดิน มีความหนาแน่นสูงและถนนที่คับแคบ เป็นปัจจัยกาหนดความสาคัญ ที่ควรพัฒนาระบบขนส่ง มวลชนประเภทรถไฟฟ้าขนาดเบา ที่ไม่ต้องใช้พื้นที่ของถนนขึ้นมาใช้ เมื่อพิจารณาว่า เชียงใหม่มีมรดกทางวัฒนธรรม และภูมิทัศน์เมืองที่แตกต่างจากเมืองอื่น จึงเสนอแนะว่า ในพื้นที่ชั้นในของเมืองนั้นระบบรถไฟฟ้าใต้ดิน เหมาะสม
  • 8. 8 มากกว่าระบบลอยฟ้า โดยสามารถปรับเปลี่ยนมาเป็นระบบลอยฟ้าหรือบนถนนได้ เมื่อออกไปยังพื้นที่ที่มีความ หนาแน่นต่า เสนอให้ระบบรถไฟฟ้านี้วิ่งออกจากพื้นที่ชั้นใน ตามแนวเส้นทางหลักสู่พื้นที่ชั้นนอกโดยรอบ ซึ่งมีระบบ รถเมล์โดยสาร ที่ได้รับการปรับปรุงปรุงให้ดีเป็นผู้ให้บริการหลัก นอกจากนั้นเสนอแนะการศึกษานี้ให้มีการพิจารณา ถึงเส้นทางการให้บริการที่เหมาะสม การปรับปรุงสภาพของถนนให้สอดคล้องกับการใช้งาน การพัฒนารูปแบบการ ให้บริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน และการมีมาตรฐานในการให้บริการระบบขนส่งมวลชนที่สูง ต่อไป
  • 9. 9 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. รวบรวมข้อมูลระบบขนส่งที่พร้อมให้บริการและพร้อมรับเทคโนโลยี 2. จัดทาแอพพลิเคชันโดยการเขียนแอพพลิเคชันสาหรับสมาร์ทโฟน 3. ทดลองใช้แอพพลิเคชัน ค้นหาปัญหา ข้อเสีย หรือข้อผิดพลาดที่จะเกิดขึ้น 4. แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 5. ทดลองใช้โดยกลุ่มผู้ใช้จริง 6. ประเมินผล และพัฒนาระบบตามข้อคิดเห็น 7. เปิดใช้งานแอพพลิเคชัน สมาร์ท เชียงใหม่ แบบสาธารณะ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ สาหรับเขียนแอพพลิเคชัน 2. สมาร์ทโฟน สาหรับทดลองแอพพลิเคชัน งบประมาณ 500 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 10. 10 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนชาวเชียงใหม่จะสามารถเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะมากขึ้นสร้างความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งาน รวมถึงสามารถเชื่อมโยงผู้โดยสารในแต่ละระบบขนส่งมวลชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และทาให้ประชาชน ส่วนใหญ่ไว้ใจในระบบขนส่งมวลชนและหันมาให้ระบบขนส่งมวลชนมากขึ้น ซึ่งจะสามารถช่วยลดปริมาณรถใน ท้องถนนลงได้เป็นอย่างมาก สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัด เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ – การคานวณปริมาณจานวนผู้ใช้ขนส่งสาธารณะ และจานวนผู้ใช้รถส่วนตัว ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ – การเขียนแอพพลิเคชัน สมาร์ท เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา – สังคมกับการมองขนส่งสาธารณะในเมืองเชียงใหม่ และการพัฒนาระบบ ขนส่งมวลชนที่มีประสิทธิภาพ และข้อคิดเห็น แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ปริญญา ปฏิพันธกานต์ สาขาวิชาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง 2550 “ความต้องการระบบขนส่งมวลชนสาหรับเมืองเชียงใหม่ : MASS TRANSIT SYSTEM PREFERENCE FOR CHIANG MAI CITY”(online). สืบค้นจาก : http://www.sri.cmu.ac.th/~transportation/show-details.php?type=research&id=18 [5 มกราคม 2561] จิตราภรณ์ ปัญญาสัน เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546 “ศักยภาพการ พัฒนาของระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองเชียงใหม่ : Development Potential of Public Transportation System in Chiang Mai Municipality ”(online). สืบค้นจาก : http://www.sri.cmu.ac.th/~transportation/show-details.php?type=research&id=13 [5 มกราคม 2561] cm-pmap 2559 “เชียงใหม่จะมีระบบขนส่งสาธารณะได้อย่างไร? ”(online). สืบค้นจาก : http://www.cm-pmap.com/?page_id=306#content [17 ธันวาคม 2560] ThailandSkyline 2560 “สนามบินเชียงใหม่ 2 ”(online). สืบค้นจาก : http://www.chiangmainews.co.th/page/archives/656272 [17 ธันวาคม 2560]