SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
หน่วยที่ 4
คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
แนวคิด
ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในการดาเนินชีวิตทั้งภาครัฐ
และภาคเอกชน มีการนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น งานคานวณ
งานวิเคราะห์ งานวางแผน งานออกแบบ งานด้านวิทยาศาสตร์ งานด้านการแพทย์
ในยุคแรกๆ นั้นเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องอาศัยมนุษย์เป็นผู้ควบคุมการปฎิบัติงาน
ของเครื่อง ต่อมาได้มีการพัฒนาการสร้างโปรแกรมขึ้นโดยรวบรวมคาสั่งต่างๆ ที่
มนุษย์ต้องการเพื่อสั่งให้เครื่องทางานแทน โปรแกรมหรือชุดคาสั่งนี้ เรียกว่า
ซอฟต์แวร์ (Software) โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทางาน จะต้องมีรายละเอียดทุกขั้นตอนเพื่อให้เครื่องปฎิบัติตามจนได้ผลลัพธ์ที่
ต้องการโปรแกรมนี้จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจาภายในซีพียู (Central
Processting Unit : CPU) หลังจากนั้นเครื่องจะทางานด้วยตนเองตาม
โปรแกรม ภายใต้การควบคมของหน่วยควบคุม
สาระการเรียนรู้
ความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
การพัฒนาซอฟต์แวร์
ขั้นตอนการพัฒนาซอฟต์แวร์
แนวโน้มของซอฟต์แวร์
กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
อธิบายความหมายของซอฟต์แวร์ได้
เข้าใจซอฟต์แวร์ระบบได้
เข้าใจซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้
สามารถเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ได้
อธิบายการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้
บอกขั้นตอนการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้
อธิบายแนวโน้มของซอฟต์แวร์ได้
บอกกฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ได้
ความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคาสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลาดับตามขั้นตอนของการทางาน
ชุดคาสั่ง
เหล่านั้นได้จัดเตรียมและทาขึ้นก่อนแล้วนาไปเก็บไว้ในหน่วยความจาของ
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคาสั่งแล้วทางานตาม ซอฟต์แวร์จึงหมายถึง การสั่งการ
ให้คอมพิวเตอร์กระทาตามขั้นตอนและแผนงานต่างๆ ตามเงื่อนไขและข้อตกลงที่ได้
ดาเนินการหรือจัดเตรียมไว้แล้ว ซอฟต์แวร์จึงเป็นผลที่มนุษย์จัดทาขึ้น และคอมพิวเตอร์
จะทางานตามกรอบของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึงโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ควบคุมให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทางานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมเขียนขึ้นด้วย
ภาษาต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาโคบอล (COBOL)
ภาษาปาสคาล (PASCAL) หรือภาษา HTML (Hypertext Markup
Language) เป็นต้น
ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software)
ระบบปฏิบัติการ (Operating System หรือ OS)
1. ระบบปฏิบัติการ (Operating System หรือ OS) เป็นชุดคาสั่งที่ทา
หน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น ระบบปฏิบัติการดอส (Disk
Operating System หรือ DOS), Windows 98, UNIX เป็นต้น
2. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์
(Translator) การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผู้เขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่า
โปรแกรมเมอร์นั้น จะเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมกับลักษณะงานและความถนัดของผู้เขียน
โปรแกรม โปรแกรมที่เขียนขึ้นหรือที่เรียกว่าโปรแกรมต้นฉบับ จึงมีลักษณะโครงสร้างของ
ภาษาที่แตกต่างกันออกไป ในการทางานของคอมพิวเตอร์นั้น คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถ
เข้าใจภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ที่เรียกว่า ภาษาระดับสูง เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะรับ
ข้อมูลเป็นสัญญาณไฟฟ้าซึ่งแทนด้วยเลขฐานสอง (0 หรือ 1) หรือที่เรียกว่า ภาษาเครื่อง
เท่านั้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (APPLICATION SOFTWARE)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานด้าน
ต่างๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ซึ่งถ้าโปรแกรมพัฒนาขึ้นเพื่อความต้องการเฉพาะ
ขององค์การใดองค์การหนึ่งจะเรียกประเภทนี้ว่า ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน (Custom
Program หรือ Tailor-made Software) ซึ่งข้อดีคือโปรแกรม
สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามความประสงค์ของหน่วยงานแต่ข้อเสียคือ
ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะใช้เวลาในการพัฒนานาน และค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง
ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้สาหรับงานทั่วๆ ไปที่
เรียกว่า General-Purpose Software หรือบางครั้งเรียกว่า
โปรแกรมสาเร็จรูป (Package Software) เป็นซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์
(Commercial Software) ที่ผู้ใช้สามารถซื้อไปประยุกต์ใช้งานได้ทันที
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่นิยมใช้สาหรับงานทั่วไป สามารถแบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี้
1. โปรแกรมประมวลผลคา (Wore Processor) เป็นโปรแกรมด้านการ
จัดทาเอกสารนิยมเรียกสั้นๆ ว่า Word ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่าง
แพร่หลายเพื่อการผลิตเอสารในรูปแบบต่างๆ เช่น รายงานจดหมาย
2. โปรแกรมด้านการคานวณ (Spread Sheet) เป็นโปรแกรมที่มีลักษณะ
ตารางทาการ (Worksheet) เหมาะสาหรับงานการคานวณตัวเลขในรูปแบบต่างๆ
ตารางทาการประกอบด้วยช่องตารางหรือเซลล์ (Cell) ที่เรียงเป็นแถวและคอลัมน์
สามารถป้อนข้อมูลตัวอักษร ตัวเลข และสูตรการคานวณได้
3. โปรแกรมการนาเสนอข้อมูล (Presentation) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่
ช่วยงานด้านการนาเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งอาจเป็นการนาเสนอข้อมูลให้กับผู้ฟัง
การประชุมสัมมนาหรือการบรรยาย ในการเรียนการสอน โดยทั่วไปนิยมที่จะนา
คอมพิวเตอร์ไปพ่วงต่อกับเครื่องฉายซีดีทัศน์ (LCK Projector) หรือจอทีวีขนาด
ใหญ่ เพื่อนาเสนอข้อมูลให้กับผู้ฟังที่มีจานวนมากได้ด้วย
4. โปรแกรมด้านงานพิมพ์ (Desktop Publishing) เป็นโปรแกรมที่ใช้จัด
หน้าสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น แผ่นผับ หนังสือ นามบัตร ใบประชาสัมพันธ์ การออกแบบแผ่นพับ
(Brochure) โปรแกรมสามารถนารูปภาพเข้ามาเป็นส่วนประกอบของงานได้ด้วย
โปรแกรมที่ใช้สาหรับงานแผ่นพับ งานพิมพ์ในปัจจุบัน เช่น Adobe PageMaker
เป็นต้น
5. โปรแกรมกราฟิก (Graphics) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการตกแต่งงานกราฟิก
ต่างๆ ซึ่งสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
โปรแกรมสาหรับตกแต่งภาพ และ โปรแกรมช่วยออกแบบ
6. โปรแกรมค้นหาข้อมูล (Resource Discovering Software)
โปรแกรมที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตัวอย่าง
โปรแกรมด้านนี้ เช่น เวิลด์ไวด์เว็บ (Word WideWeb หรือ WWW
7. โปรแกรมด้านติดต่อสื่อสาร (Communication Software) เป็น
โปรแกรมที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้ได้สะดวก รวดเร็ว และช่วยประหยัดเวลาและ
ค่าใช้จ่ายได้ด้วย การสื่อสารอาจอยู่ในรูปของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ที่สามารถ
ส่งจดหมายถึงผู้รับได้ในทันที สามารถใช้แทนการส่งข้อความ โทรศัพท์ หรือแฟกซ์
ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์
ถึงแม้ว่าจะมีการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นเป็นจานวนมาก แต่ภาษาที่
ได้รับความนิยมในการนามาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์นั้น ส่วนใหญ่จะเป็นโปรแกรมภาษา
ระดับสูงซึ่งสามารถนาโปรแกรมนั้นๆ ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่างชนิดกันได้ การ
ออกแบบและพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์จะเน้นวัตถุประสงค์การนาไปใช้แก้ปัญหาในงาน
ต่างๆ เช่น งานวิทยาศาสตร์ งานด้านธุรกิจ งานการนาเสนอข้อมูล เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะ
แนะนาภาษาที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ดังนี้
ภาษาเบสิกพัฒนาโดย John Kemeny, และ Thomas Kurtz ในปี
ค.ศ. 1963 เป็นภาษาที่ถูกออกแบบให้ใช้งานง่าย เหมาะสาหรับผู้ที่เริ่มต้นศึกษาการ
เขียนโปรแกรม จึงเป็นภาษาที่นิยมนามาใช้ในการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เบื้องต้น
วิชวลเบสิก (Visual Basic) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาโดยบริษัท
ไมโครซอฟต์ โดยรุ่นแรกออกจาหน่ายในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1991 ภาษาวิชวลเบสิก
เป็นการนาโครงสร้างของภาเบสิกมาใช้ และพัฒนาหน้าจอสาหรับออกแบบส่วนต่อต่อกับ
ผู้ใช้งานโปรแกรม (User Interface) จึงทาให้ภาวิชวลเบสิกเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย
และเหมาะสาหรับการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั่วไป
ภาษาโคบอล (COBOL) COBOL ย่อมาจาก (Common
Business Oriented Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นตั้งแต่ช่วงต้นของ ค.ศ.
1960 ด้วยความร่วมมือของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา องค์การธุรกิจ และมหาวิทยาลัยชั้นนา
ภาษาโคบอลเป็นภานิยมใช้สาหรับงานประยุกต์ทางธุรกิจ เช่น งานจัดเก็บข้อมูล งาน
ประมวลผลทางการเงินและบัญชี ตลอดจนงานสินค้าคงคลัง พัสดุ เป็นต้น
ภาษาปาลคาล (PASCAL) ในช่วงปี ค.ศ. 1967-1971 นักวิทยาศาสตร์
ชาวสวิสชื่อ Niklaus Wirth ได้พัฒนาภาษาปาสคาลสาหรับการสอนการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับนักศึกษา โดยได้ตั้งชื่อภาษานี้ตามชื่อของนักคณิตศาสตร์ชาว
ฝรั่งเศส Blaise Pascal ผู้ซึ่งฟัฒนาเครื่องคานวณในยุคแรก
ภาษาฟอร์แทรน ย่อมาจาก FORmularTRANslator ซึ่งเป็นภาษา
ระดับสูงภาษาหนึ่งภาษาฟอร์แทรนพัฒนาโดยกลุ่มนักเขียนโปรแกรมของบริษัท IBM
เพื่อใช้เป็นภาษาในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์ และเนื่องมาจากภาษา
ฟอร์แทรนถูกออกแบบมาให้ทางานที่มีความซับซ้อนทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ จึง
เป็นภาษาที่นิยมใช้กันในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และนักคณิตศาสตร์
ภาษาซี (C) และ C++ เป็นภาษาที่พัฒนาโดย Dennis Ritcie ที่
ห้องปฎิบัติการเบลล์ (Bell Laboratory) ซึ่งจุดเริ่มต้นได้ออกแบบภาษาซีเพื่อการ
พัฒนาโปรแกรมควบคุมระบบ แต่ในปัจจุบันภาษษซีได้ถูกนามาใช้อย่างกว้างขวาง ทั้ง
โปรแกรมประยุกต์ เช่น Word Processor และ Spreadsheets และ
โปรแกรมควบคุมระบบปฎิบัติการ
ภาษาจาวาเป็นภาษาที่นาไปใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั่วไป และคาดการณ์กันว่าจะ
เป็นภาษาที่นิยมกันมากในอนาคตอันใกล้นี้
XML (Extensible Markup Language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์
เพื่อใช้ในการนาเสนอข้อมูลที่มีโครงสร้าง โดยโครงสร้างของภาษา XML เป็นแฟ้ม
ข้อความ (Text File) ที่ใช้แท็ก (<tag>) ในการกาหนดชื่อและขนาดของข้อมูล
ปัจจุบันองค์การอิสระที่ชื่อว่า World WideWed Consortium (W3C)
เป็นผู้ดูแลมาตรฐานของภาษานี้เพื่อจะได้ใช้เป็นภาษาที่มีมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก บริษัท
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น Microsoft, Netscape และ IBM ได้นาภาษา
นี้ไปใช้เพื่อให้เป็นมาตรฐานของเอกสารที่บันทึกในเครื่องคอมพิวเตอร์
กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟแวร์
ความหมายของกฎหมายลิขสิทธิ์ ในประเทศไทยการกาหนดลิขสิทธิ์ได้ปรกกฎ
ครั้งแรกราว พ.ศ.2445 ในรัชกาลที่ 5 เพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์
(Literacy) เรื่อง “วิชิรญาณวิเศษ” และได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายใหม่ใน
ปี พ.ศ.2574 สมัยรัชกาลที่ 6 โดยยังคงเน้นงานด้านวรรณกรรม ต่อมาในปี
พ.ศ.2474 สมัยรัชกาลที่ 7 ได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายฉบับนี้มีความ
สมบูรณ์ครอบคลุมงานอื่นๆ อีก เช่น งานคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และผลงานของ
ชาวต่างชาติแก่กฎหมาย

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ jamiezaa123
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรChalita Vitamilkz
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8Yokyok' Nnp
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266karakas14
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาVisiene Lssbh
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 

What's hot (16)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
System computer
System computerSystem computer
System computer
 
8
88
8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
Digital Media : Code of Conduct
Digital Media : Code of ConductDigital Media : Code of Conduct
Digital Media : Code of Conduct
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Internet
InternetInternet
Internet
 

Viewers also liked

Katalog Oriflame November 2015
Katalog Oriflame November 2015Katalog Oriflame November 2015
Katalog Oriflame November 2015Chatarina Avi
 
Katalog Oriflame Desember 2015
Katalog Oriflame Desember 2015Katalog Oriflame Desember 2015
Katalog Oriflame Desember 2015Yudhi Arya
 
10 padron asociaciones de personas discapacidad visual - listado a
10 padron asociaciones de personas discapacidad visual - listado a10 padron asociaciones de personas discapacidad visual - listado a
10 padron asociaciones de personas discapacidad visual - listado aUAIP-CONAIPD
 
person_leader
person_leaderperson_leader
person_leaderTon Voogt
 
CV of Sanga Tolamo
CV of Sanga TolamoCV of Sanga Tolamo
CV of Sanga TolamoSanga Tolamo
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10ratiporn555
 
Katalog Oriflame Agustus 2015
Katalog Oriflame Agustus 2015Katalog Oriflame Agustus 2015
Katalog Oriflame Agustus 2015Chatarina Avi
 
Predicting Patient Interest and Participation in Clinical Trials
Predicting Patient Interest and Participation in Clinical TrialsPredicting Patient Interest and Participation in Clinical Trials
Predicting Patient Interest and Participation in Clinical TrialsNassim Azzi, MBA
 
8 padron asociaciones de personas con discapacidad fisica desde najarro aguil...
8 padron asociaciones de personas con discapacidad fisica desde najarro aguil...8 padron asociaciones de personas con discapacidad fisica desde najarro aguil...
8 padron asociaciones de personas con discapacidad fisica desde najarro aguil...UAIP-CONAIPD
 
Bdx speakers Hannah Fisher
Bdx speakers   Hannah FisherBdx speakers   Hannah Fisher
Bdx speakers Hannah FisherBDX Events
 
Vizor Software for Solvency II Supervision
Vizor Software for Solvency II SupervisionVizor Software for Solvency II Supervision
Vizor Software for Solvency II SupervisionConor Crowley
 
Powerstar - POLICIES AND PROCEDURES - 3 350000 (2)
Powerstar - POLICIES AND PROCEDURES - 3 350000 (2)Powerstar - POLICIES AND PROCEDURES - 3 350000 (2)
Powerstar - POLICIES AND PROCEDURES - 3 350000 (2)Norman Steyn
 
Katalog Oriflame Maret 2015
Katalog Oriflame Maret 2015Katalog Oriflame Maret 2015
Katalog Oriflame Maret 2015Chatarina Avi
 
DVSM Annual Report 2013-14
DVSM Annual Report 2013-14DVSM Annual Report 2013-14
DVSM Annual Report 2013-14Gillian Cohen
 
A study on different types and brands of saunaheater
A study on different types and brands of saunaheaterA study on different types and brands of saunaheater
A study on different types and brands of saunaheaterChandra Sekhar BIswal
 

Viewers also liked (18)

Katalog Oriflame November 2015
Katalog Oriflame November 2015Katalog Oriflame November 2015
Katalog Oriflame November 2015
 
Katalog Oriflame Desember 2015
Katalog Oriflame Desember 2015Katalog Oriflame Desember 2015
Katalog Oriflame Desember 2015
 
10 padron asociaciones de personas discapacidad visual - listado a
10 padron asociaciones de personas discapacidad visual - listado a10 padron asociaciones de personas discapacidad visual - listado a
10 padron asociaciones de personas discapacidad visual - listado a
 
person_leader
person_leaderperson_leader
person_leader
 
CV of Sanga Tolamo
CV of Sanga TolamoCV of Sanga Tolamo
CV of Sanga Tolamo
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
 
Katalog Oriflame Agustus 2015
Katalog Oriflame Agustus 2015Katalog Oriflame Agustus 2015
Katalog Oriflame Agustus 2015
 
Predicting Patient Interest and Participation in Clinical Trials
Predicting Patient Interest and Participation in Clinical TrialsPredicting Patient Interest and Participation in Clinical Trials
Predicting Patient Interest and Participation in Clinical Trials
 
Castle
CastleCastle
Castle
 
gauging
gauginggauging
gauging
 
8 padron asociaciones de personas con discapacidad fisica desde najarro aguil...
8 padron asociaciones de personas con discapacidad fisica desde najarro aguil...8 padron asociaciones de personas con discapacidad fisica desde najarro aguil...
8 padron asociaciones de personas con discapacidad fisica desde najarro aguil...
 
Bdx speakers Hannah Fisher
Bdx speakers   Hannah FisherBdx speakers   Hannah Fisher
Bdx speakers Hannah Fisher
 
Vizor Software for Solvency II Supervision
Vizor Software for Solvency II SupervisionVizor Software for Solvency II Supervision
Vizor Software for Solvency II Supervision
 
Powerstar - POLICIES AND PROCEDURES - 3 350000 (2)
Powerstar - POLICIES AND PROCEDURES - 3 350000 (2)Powerstar - POLICIES AND PROCEDURES - 3 350000 (2)
Powerstar - POLICIES AND PROCEDURES - 3 350000 (2)
 
Katalog Oriflame Maret 2015
Katalog Oriflame Maret 2015Katalog Oriflame Maret 2015
Katalog Oriflame Maret 2015
 
DVSM Annual Report 2013-14
DVSM Annual Report 2013-14DVSM Annual Report 2013-14
DVSM Annual Report 2013-14
 
MichaelSteele
MichaelSteeleMichaelSteele
MichaelSteele
 
A study on different types and brands of saunaheater
A study on different types and brands of saunaheaterA study on different types and brands of saunaheater
A study on different types and brands of saunaheater
 

Similar to หน่วยที่ 4

บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือSoldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือKaRn Tik Tok
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8Yokyok' Nnp
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 
ใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดNoot Ting Tong
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Jp Eternally
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิมYIMMIE89
 

Similar to หน่วยที่ 4 (20)

บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
ใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปด
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
K5
K5K5
K5
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 

More from ratiporn555

หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12ratiporn555
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11ratiporn555
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9ratiporn555
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8ratiporn555
 
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7ratiporn555
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6ratiporn555
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5ratiporn555
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3ratiporn555
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2ratiporn555
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1ratiporn555
 

More from ratiporn555 (10)

หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

หน่วยที่ 4

  • 2. แนวคิด ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในการดาเนินชีวิตทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน มีการนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น งานคานวณ งานวิเคราะห์ งานวางแผน งานออกแบบ งานด้านวิทยาศาสตร์ งานด้านการแพทย์ ในยุคแรกๆ นั้นเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องอาศัยมนุษย์เป็นผู้ควบคุมการปฎิบัติงาน ของเครื่อง ต่อมาได้มีการพัฒนาการสร้างโปรแกรมขึ้นโดยรวบรวมคาสั่งต่างๆ ที่ มนุษย์ต้องการเพื่อสั่งให้เครื่องทางานแทน โปรแกรมหรือชุดคาสั่งนี้ เรียกว่า ซอฟต์แวร์ (Software) โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางาน จะต้องมีรายละเอียดทุกขั้นตอนเพื่อให้เครื่องปฎิบัติตามจนได้ผลลัพธ์ที่ ต้องการโปรแกรมนี้จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจาภายในซีพียู (Central Processting Unit : CPU) หลังจากนั้นเครื่องจะทางานด้วยตนเองตาม โปรแกรม ภายใต้การควบคมของหน่วยควบคุม
  • 3. สาระการเรียนรู้ ความหมายของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ ขั้นตอนการพัฒนาซอฟต์แวร์ แนวโน้มของซอฟต์แวร์ กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายความหมายของซอฟต์แวร์ได้ เข้าใจซอฟต์แวร์ระบบได้ เข้าใจซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ สามารถเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ได้ อธิบายการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้ บอกขั้นตอนการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้ อธิบายแนวโน้มของซอฟต์แวร์ได้ บอกกฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ได้
  • 4. ความหมายของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคาสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลาดับตามขั้นตอนของการทางาน ชุดคาสั่ง เหล่านั้นได้จัดเตรียมและทาขึ้นก่อนแล้วนาไปเก็บไว้ในหน่วยความจาของ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคาสั่งแล้วทางานตาม ซอฟต์แวร์จึงหมายถึง การสั่งการ ให้คอมพิวเตอร์กระทาตามขั้นตอนและแผนงานต่างๆ ตามเงื่อนไขและข้อตกลงที่ได้ ดาเนินการหรือจัดเตรียมไว้แล้ว ซอฟต์แวร์จึงเป็นผลที่มนุษย์จัดทาขึ้น และคอมพิวเตอร์ จะทางานตามกรอบของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึงโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ควบคุมให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทางานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมเขียนขึ้นด้วย ภาษาต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (PASCAL) หรือภาษา HTML (Hypertext Markup Language) เป็นต้น ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software)
  • 5.
  • 6. ระบบปฏิบัติการ (Operating System หรือ OS) 1. ระบบปฏิบัติการ (Operating System หรือ OS) เป็นชุดคาสั่งที่ทา หน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น ระบบปฏิบัติการดอส (Disk Operating System หรือ DOS), Windows 98, UNIX เป็นต้น 2. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผู้เขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่า โปรแกรมเมอร์นั้น จะเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมกับลักษณะงานและความถนัดของผู้เขียน โปรแกรม โปรแกรมที่เขียนขึ้นหรือที่เรียกว่าโปรแกรมต้นฉบับ จึงมีลักษณะโครงสร้างของ ภาษาที่แตกต่างกันออกไป ในการทางานของคอมพิวเตอร์นั้น คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถ เข้าใจภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ที่เรียกว่า ภาษาระดับสูง เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะรับ ข้อมูลเป็นสัญญาณไฟฟ้าซึ่งแทนด้วยเลขฐานสอง (0 หรือ 1) หรือที่เรียกว่า ภาษาเครื่อง เท่านั้น
  • 7. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (APPLICATION SOFTWARE) ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานด้าน ต่างๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ซึ่งถ้าโปรแกรมพัฒนาขึ้นเพื่อความต้องการเฉพาะ ขององค์การใดองค์การหนึ่งจะเรียกประเภทนี้ว่า ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน (Custom Program หรือ Tailor-made Software) ซึ่งข้อดีคือโปรแกรม สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามความประสงค์ของหน่วยงานแต่ข้อเสียคือ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะใช้เวลาในการพัฒนานาน และค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้สาหรับงานทั่วๆ ไปที่ เรียกว่า General-Purpose Software หรือบางครั้งเรียกว่า โปรแกรมสาเร็จรูป (Package Software) เป็นซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial Software) ที่ผู้ใช้สามารถซื้อไปประยุกต์ใช้งานได้ทันที
  • 8. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่นิยมใช้สาหรับงานทั่วไป สามารถแบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี้ 1. โปรแกรมประมวลผลคา (Wore Processor) เป็นโปรแกรมด้านการ จัดทาเอกสารนิยมเรียกสั้นๆ ว่า Word ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่าง แพร่หลายเพื่อการผลิตเอสารในรูปแบบต่างๆ เช่น รายงานจดหมาย 2. โปรแกรมด้านการคานวณ (Spread Sheet) เป็นโปรแกรมที่มีลักษณะ ตารางทาการ (Worksheet) เหมาะสาหรับงานการคานวณตัวเลขในรูปแบบต่างๆ ตารางทาการประกอบด้วยช่องตารางหรือเซลล์ (Cell) ที่เรียงเป็นแถวและคอลัมน์ สามารถป้อนข้อมูลตัวอักษร ตัวเลข และสูตรการคานวณได้ 3. โปรแกรมการนาเสนอข้อมูล (Presentation) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ ช่วยงานด้านการนาเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งอาจเป็นการนาเสนอข้อมูลให้กับผู้ฟัง การประชุมสัมมนาหรือการบรรยาย ในการเรียนการสอน โดยทั่วไปนิยมที่จะนา คอมพิวเตอร์ไปพ่วงต่อกับเครื่องฉายซีดีทัศน์ (LCK Projector) หรือจอทีวีขนาด ใหญ่ เพื่อนาเสนอข้อมูลให้กับผู้ฟังที่มีจานวนมากได้ด้วย
  • 9. 4. โปรแกรมด้านงานพิมพ์ (Desktop Publishing) เป็นโปรแกรมที่ใช้จัด หน้าสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น แผ่นผับ หนังสือ นามบัตร ใบประชาสัมพันธ์ การออกแบบแผ่นพับ (Brochure) โปรแกรมสามารถนารูปภาพเข้ามาเป็นส่วนประกอบของงานได้ด้วย โปรแกรมที่ใช้สาหรับงานแผ่นพับ งานพิมพ์ในปัจจุบัน เช่น Adobe PageMaker เป็นต้น 5. โปรแกรมกราฟิก (Graphics) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการตกแต่งงานกราฟิก ต่างๆ ซึ่งสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมสาหรับตกแต่งภาพ และ โปรแกรมช่วยออกแบบ 6. โปรแกรมค้นหาข้อมูล (Resource Discovering Software) โปรแกรมที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตัวอย่าง โปรแกรมด้านนี้ เช่น เวิลด์ไวด์เว็บ (Word WideWeb หรือ WWW 7. โปรแกรมด้านติดต่อสื่อสาร (Communication Software) เป็น โปรแกรมที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้ได้สะดวก รวดเร็ว และช่วยประหยัดเวลาและ ค่าใช้จ่ายได้ด้วย การสื่อสารอาจอยู่ในรูปของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ที่สามารถ ส่งจดหมายถึงผู้รับได้ในทันที สามารถใช้แทนการส่งข้อความ โทรศัพท์ หรือแฟกซ์
  • 10. ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ ถึงแม้ว่าจะมีการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นเป็นจานวนมาก แต่ภาษาที่ ได้รับความนิยมในการนามาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์นั้น ส่วนใหญ่จะเป็นโปรแกรมภาษา ระดับสูงซึ่งสามารถนาโปรแกรมนั้นๆ ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่างชนิดกันได้ การ ออกแบบและพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์จะเน้นวัตถุประสงค์การนาไปใช้แก้ปัญหาในงาน ต่างๆ เช่น งานวิทยาศาสตร์ งานด้านธุรกิจ งานการนาเสนอข้อมูล เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะ แนะนาภาษาที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ดังนี้ ภาษาเบสิกพัฒนาโดย John Kemeny, และ Thomas Kurtz ในปี ค.ศ. 1963 เป็นภาษาที่ถูกออกแบบให้ใช้งานง่าย เหมาะสาหรับผู้ที่เริ่มต้นศึกษาการ เขียนโปรแกรม จึงเป็นภาษาที่นิยมนามาใช้ในการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เบื้องต้น วิชวลเบสิก (Visual Basic) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาโดยบริษัท ไมโครซอฟต์ โดยรุ่นแรกออกจาหน่ายในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1991 ภาษาวิชวลเบสิก เป็นการนาโครงสร้างของภาเบสิกมาใช้ และพัฒนาหน้าจอสาหรับออกแบบส่วนต่อต่อกับ ผู้ใช้งานโปรแกรม (User Interface) จึงทาให้ภาวิชวลเบสิกเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย และเหมาะสาหรับการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั่วไป
  • 11. ภาษาโคบอล (COBOL) COBOL ย่อมาจาก (Common Business Oriented Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นตั้งแต่ช่วงต้นของ ค.ศ. 1960 ด้วยความร่วมมือของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา องค์การธุรกิจ และมหาวิทยาลัยชั้นนา ภาษาโคบอลเป็นภานิยมใช้สาหรับงานประยุกต์ทางธุรกิจ เช่น งานจัดเก็บข้อมูล งาน ประมวลผลทางการเงินและบัญชี ตลอดจนงานสินค้าคงคลัง พัสดุ เป็นต้น ภาษาปาลคาล (PASCAL) ในช่วงปี ค.ศ. 1967-1971 นักวิทยาศาสตร์ ชาวสวิสชื่อ Niklaus Wirth ได้พัฒนาภาษาปาสคาลสาหรับการสอนการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับนักศึกษา โดยได้ตั้งชื่อภาษานี้ตามชื่อของนักคณิตศาสตร์ชาว ฝรั่งเศส Blaise Pascal ผู้ซึ่งฟัฒนาเครื่องคานวณในยุคแรก ภาษาฟอร์แทรน ย่อมาจาก FORmularTRANslator ซึ่งเป็นภาษา ระดับสูงภาษาหนึ่งภาษาฟอร์แทรนพัฒนาโดยกลุ่มนักเขียนโปรแกรมของบริษัท IBM เพื่อใช้เป็นภาษาในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์ และเนื่องมาจากภาษา ฟอร์แทรนถูกออกแบบมาให้ทางานที่มีความซับซ้อนทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ จึง เป็นภาษาที่นิยมใช้กันในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และนักคณิตศาสตร์
  • 12. ภาษาซี (C) และ C++ เป็นภาษาที่พัฒนาโดย Dennis Ritcie ที่ ห้องปฎิบัติการเบลล์ (Bell Laboratory) ซึ่งจุดเริ่มต้นได้ออกแบบภาษาซีเพื่อการ พัฒนาโปรแกรมควบคุมระบบ แต่ในปัจจุบันภาษษซีได้ถูกนามาใช้อย่างกว้างขวาง ทั้ง โปรแกรมประยุกต์ เช่น Word Processor และ Spreadsheets และ โปรแกรมควบคุมระบบปฎิบัติการ ภาษาจาวาเป็นภาษาที่นาไปใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั่วไป และคาดการณ์กันว่าจะ เป็นภาษาที่นิยมกันมากในอนาคตอันใกล้นี้ XML (Extensible Markup Language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการนาเสนอข้อมูลที่มีโครงสร้าง โดยโครงสร้างของภาษา XML เป็นแฟ้ม ข้อความ (Text File) ที่ใช้แท็ก (<tag>) ในการกาหนดชื่อและขนาดของข้อมูล ปัจจุบันองค์การอิสระที่ชื่อว่า World WideWed Consortium (W3C) เป็นผู้ดูแลมาตรฐานของภาษานี้เพื่อจะได้ใช้เป็นภาษาที่มีมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก บริษัท คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น Microsoft, Netscape และ IBM ได้นาภาษา นี้ไปใช้เพื่อให้เป็นมาตรฐานของเอกสารที่บันทึกในเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 13. กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟแวร์ ความหมายของกฎหมายลิขสิทธิ์ ในประเทศไทยการกาหนดลิขสิทธิ์ได้ปรกกฎ ครั้งแรกราว พ.ศ.2445 ในรัชกาลที่ 5 เพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ (Literacy) เรื่อง “วิชิรญาณวิเศษ” และได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายใหม่ใน ปี พ.ศ.2574 สมัยรัชกาลที่ 6 โดยยังคงเน้นงานด้านวรรณกรรม ต่อมาในปี พ.ศ.2474 สมัยรัชกาลที่ 7 ได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายฉบับนี้มีความ สมบูรณ์ครอบคลุมงานอื่นๆ อีก เช่น งานคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และผลงานของ ชาวต่างชาติแก่กฎหมาย