SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
เรื่องระบบปฏิบัติการ 
เสนอ 
อาจารย์ ธิดารัตน์ พลพันสิงห์ 
จัดทา โดย 
นางสาววานุพร ภูขาว รหัส 5722040435 
นายกนกพล นาเม็ง รหัส 5722040443 
นายภาคิน ดวงคุณ รหัส 5722040449 
วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น 
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 
ปีการศึกษา 1/2557
เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อพัฒนาสื่อการศึกษา 
ระดับชั้น ปวช.1 
โดย 1.นางสาววานุพร ภูขาว 
2.นายนายกนกพล นาเม็ง 
3.นายภาคิน ดวงคุณ 
โรงเรียน วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น 
สังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา 
ครูที่ปรึกษา อ.ธิดารัตน์ พลพันสิงห์ 
ปีการศึกษา 1/2557
ก 
บทคัดย่อ 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพ ร่ความรู้ เรื่อง ระบ บ ป ฏิบัติการ (OS: Operating System) 
จัด ท าขึ้น โด ยมีวัต ถุป ระส งค์ดังนี้ 1). เพื่อ เผ ย แพ ร่ค ว าม รู้เกี่ย ว กับ เรื่อ งระบ บ ป ฏิบัติก าร 
2).เพื่อใช้เป็นสื่อในการศึกษ าส าห รับ ผู้ที่ส น ใจเรื่อง ระบ บ ป ฏิบัติการ (OS: Operating System) 
การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ในครั้งนี้ คือ 
1) โปรแกรม Google Chrome 2) โปรแกรม Microsoft Word 2007 3) www.gmail.com 
4) www.blogger.com 
ผลการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) ใน blogger.com 
ประกอบด้วย เนื้อหาของระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) 
และผลการประเมินของการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS : Operating System) 
มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี ( x = 3.90)
ข 
กิตติกรรมประกาศ 
โครงงานนี้สา เร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์ธิดารัตน์ พลพันสิงห์และคุณครูดวงใจ 
คุณสุทธ์ิ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คา เสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ 
จนโครงงานนี้สา เร็จ 
ผู้ศึกษาจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบคุณ คุณครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์และคุณครูดวงใจ 
คุณสุทธ์ิคุณครูที่ให้คา ปรึกษาในการแก้ไขตลอดจนทา ให้โครงงานนี้สา เร็จลุล่วงไปด้วยดี 
ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้คา แนะนา และสนับสนุนในเรื่องต่าง ๆ รวมทั้งเป็นกา ลังใจที่ดีเสมอ 
สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆที่ให้การช่วยเหลือและสนับสนุนเกี่ยวกับโครงงานนี้ 
คณะผู้จัดทา 
วานุพร ภูขาว 
กนกพล นาเม็ง 
ภาคิน ดวงคุณ
ค 
สารบัญ 
หน้า 
บทคัดย่อ ก 
กิตติกรรมประกาศ ข 
สารบัญ ค 
บทที่ 1 บทนา 
ที่มาและความสา คัญ 1 
วัตถุประสงค์ 1 
ขอบเขตการศึกษา 2 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
ความหมายของระบบปฏิบัติการ 3 
ระบบปฏิบัติการคืออะไร ? 4-5 
ระบบปฏิบัติการ DOS 6-9 
ระบบปฏิบัติการ Windows 10 
ระบบปฏิบัติการ Linux 11 
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน 
วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 12 
ขั้นตอนการทา งาน 13-16 
บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงงาน 
ผลการดา เนินงานระบบปฏิบัติการ 17- 
19บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ 
สรุปผลการดา เนินงานระบบปฏิบัติการ 20 
ข้อเสนอแนะ 20 
บรรณานุกรม 
ภาคผนวก
บทที่ 1 
บทนา 
ที่มาและความสาคัญ 
ถ้ามีรถยนต์อยู่แต่ขับรถยนต์ไม่เป็น รถยนต์คันดังกล่าวก็จะไม่มีประโยชน์อะไรเลย 
คอมพิวเตอร์ก็เช่นเดียวกัน ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเพียงใดก็ตาม 
ถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวไม่มีระบบปฏิบัติการคอยควบคุมการทา งาน 
ซึ่งเปรียบได้กับรถยนต์ที่ไม่มีคนขับ เครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวก็จะไม่มีประโยชน์เลย 
ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงมีความสา คัญเปรียบเสมือนกับคนขับรถยนต์ที่จะต้องคอยควบคุมรถให้เดินทางไป 
ถึงที่หมายอย่างถูกต้อง และปลอดภัย 
ระบบปฏิบัติการก็จะต้องควบคุมการทา งานของคอมพิวเตอร์ให้ทา งานตามที่ต้องการ 
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง 
ในปัจจุบันระบบปฏิบัติการไม่ได้นา มาใช้งานกับคอมพิวเตอร์เท่านั้น 
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์สมัยใหม่ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องเล่นเกม หรือแม้กระทั่งเครื่องซักผ้า 
ก็มีระบบปฏิบัติการในการควบคุมการทา งานเช่นกัน 
แต่จะเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาสา หรับอุปกรณ์นั้น ๆ โดยเฉพาะ 
วัตถุประสงค์ 
1.เพื่อสร้างสภาพการใช้ งานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพ สา หรับผู้ใช้ในการใช้ทรัพยากร ต่างๆ 
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
2.เพื่อใช้เป็นสื่อในการศึกษา ให้กับผู้ที่สนใจเรื่องระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System)
2 
ขอบเขตการศึกษา 
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) ซึ่งประกอบด้วย ระบบปฏิบัติการ 
DOS, ระบบปฏิบัติการ Windows, ระบบปฏิบัติการ Linux 
2. โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน ได้แก่ 
2.1 โปรแกรม Microsoft Word 2007 
2.2 โปรแกรม Google Chrome 
2.3 www.blogger.com 
2.4 www.gmail.com 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
1. ได้เรียนรู้และสามารถพัฒนาระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้ในการศึกษาได้จริง 
2. ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 
3. สามารถนา เอาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) 
ไปใช้ในการศึกษาได้
บทที่ 2 
เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ 
(OS: Operating System) นี้ผู้จัดทา ได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อไปนี้ 
1. ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
2. ระบบปฏิบัติการคืออะไร ? 
3. ระบบปฏิบัติการ DOS 
4. ระบบปฏิบัติการ Windows 
5. ระบบปฏิบัติการ Linux 
1. ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
จากองค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ข้างต้นก็จะเห็นได้ว่าระบบปฏิบัติการถือเป็นส่วนสาคัญส่วนห 
นึ่ง ใ น ร ะ บ บ ค อ ม พิว เ ต อ ร์ 
ซึ่งระบบปฏิบัติการจัดเป็นโปรแกรมระบบที่ใช้สาหรับควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ 
รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากรในระบบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นระบบปฏิบัติการ 
หรือมักเรียกสั้นๆ ว่าโอเอสนั้นจึงหมายถึงชุดโปรแกรมที่ทา หน้าที่ในการควบคุม ดูแลการดา เนินการต่างๆ 
ของระบบคอมพิวเตอร์ ประสานการทา งานระหว่างทรัพยากรต่างๆ ในระบบ ทั้งในส่วนที่ซอฟต์แวร์ 
แ ล ะ ส่ว น ที่เป็ น ฮ า ร์ด แ ว ร์ใ ห้ส า ม า ร ถ ด า เนิน ก า ร ท า ง า น ร่ว ม กัน ไ ด้อ ย่า ง เห ม า ะ ส ม 
โดยมีเป้าหมายเพื่อเป็นตัวกลางที่ช่วยในการประสานการทา งานของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ด้วยการตอบส 
น อ ง ต่อ ผู้ใ ช้ง า น ท า ใ ห้ผู้ใ ช้ง า น ส า ม า ร ถ โ ต้ต อ บ กับ ค อ ม พิว เต อ ร์ไ ด้อ ย่า ง ส ะ ด ว ก 
แ ล ะ เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 
โดยผู้ใช้งานไม่จา เป็นต้องรู้ว่าภายในคอมพิวเตอร์ต้องทา งานอย่างไรปล่อยให้เป็นหน้าที่ของตัวระบบปฏิบัติ 
การเป็นผู้จัดการแทน
4 
ระบบปฏิบัติการคืออะไร ? 
ระบบคอมพิวเตอร์แทบทุกระบบถือว่าระบบปฏิบัติการเป็นส่วนสา คัญของระบบ 
โดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประยุกต์ และผู้ใช้ 
1. ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วยทรัพยากรต่างๆ ที่มีในระบบ ได้แก่ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก 
หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยความจา นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง โปรแกรมภาษาเครื่อง 
และไมโครโปรแกรม ซึ่งเป็นส่วนที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นซอร์ฟแวร์ในระดับพื้นฐาน (Primitive 
level) โดยสามารถทา งานได้โดยตรงกับทรัพยากรระบบด้วยคา สั่งง่ายๆ เช่น ADD MOVE หรือ JUMP 
คา สั่งเหล่านี้จะถูกกา หนดเป็นขั้นตอน การทา งานของวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ชุดคา สั่งที่ไมโครโปรแกรมต้องแปลหรือตีความหมายจะอยู่ใน 
รูปแบบภาษาเครื่องและมักเป็นคา สั่งในการคา นวณ เปรียบเทียบ และการควบคุมอุปกรณ์นา ข้อมูลเข้า/ออก 
2. ระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมที่ทา งานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้เครื่องและฮาร์ดแวร์ 
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้ระบบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ 
โดยจะเอื้ออา นวยการพัฒนาและการใช้โปรแกรมต่างๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ 
ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3. โปรแกรมประยุกต์ คือซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทา งานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ เช่น 
งานส่วนตัว งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ โปรแกรมทางธุรกิจ เกมส์ต่างๆ ระบบฐานข้อมูล 
ตลอดจนตัวแปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า User's Program 
โปรแกรมประเภทนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงในการพัฒนา เช่นภาษา C, C++, COBOL, PASCAL, 
BASIC ฯลฯ ตัวอย่างของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นใช้ในทางธุรกิจ เช่น โปรแกรมระบบบัญชีจ่ายเงินเดือน 
(Payroll Program) โปรแกรมระบบเช่าซื้อ (Hire Purchase) โปรแกรมระบบสินค้าคงหลัง (Stock Program) 
ฯลฯ ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็จะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์มที่แตกต่างกัน 
ตามความต้องการหรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งโปรแกรม
5 
ประเภทนี้เราสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมเองได้ 
เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานโปรแกรม 
โปรแกรมเหล่านี้เป็นตัวกา หนดแนวทางในการใช้ทรัพยากรระบบ เพื่อทา งานต่างๆ 
ให้แก่ผู้ใช้หลากหลายประเภท ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งบุคคล โปรแกรม หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ 
เช่นตัวแปรภาษาต้องใช้ทรัพยากรระบบในการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องแก่โปรแกรม 
เมอร์ ดังนั้น 
ระบบปฏิบัติการต้องควบคุมและประสานงานในการใช้ทรัพยากรระบบของผู้ใช้ให้เป็นไปอย่างถูกต้อง 
4. ผู้ใช้ ถึงแม้ระบบคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ 
แต่ระบบคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทา งานได้ถ้าขาดอีกองค์ประกอบหนึ่ง ซึ่งได้แก่ 
องค์ประกอบทางด้านบุคลากรที่จะเป็นผู้จัดการและควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่า 
งราบรื่น คอยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ 
รวมไปถึงการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ที่ถูกพัฒนาขึ้น
6 
ระบบปฏิบัติการ DOS 
เริ่มมีใช้ครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรียกว่าโปรแกรม PC-DOS 
ต่อมาบริษัทไมโครซอฟต์ได้สร้าง MS-DOS สา หรับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป 
และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน ตั้งแต่รุ่น Versions 1.0 2.0 3.0 3.30 4.0 5.0 6.0 และ 
6.22 ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ทา งานภายใต้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS อยู่เป็นจา นวนมาก 
โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าๆ ที่มีทรัพยากรของระบบน้อย 
ตัวอย่างหน้าต่างระบบปฏิบัติการ MS-Dos 
การใช้คา สั่งดอส โดยการพิมพ์คา สั่งที่เครื่องหมายพร้อมรับคา สั่ง ในลักษณะ Command Line ซึ่ง DOS 
ติดต่อกับผู้ใช้ด้วยการพิมพ์คา สั่ง ไม่มีภาพกราฟิกให้ใช้ เรียกว่าทา งานในโหมดตัวอักษร Text Mode 
ข้อเสีย คือ ติดต่อกับผู้ใช้ไม่สะดวก เพราะผู้ใช้ต้องจา และพิมพ์คา สั่งให้ถูกต้องโปรแกรมจึงจะทา งาน 
ดังนั้นประมาณปี ค.ศ. 1985 บริษัทไมโครซอฟต์ได้พัฒนา Microsoft Windows Version 1.0
และเรื่อยมาจนถึง Version 3.11 ในปีค.ศ. 1990 ซอฟต์แวร์ดังกล่าว ทา งานแบบกราฟิกเรียกว่า Graphic User 
Interface (GUI) ทา หน้าที่แทนดอส ทา ให้เกิดความสะดวกแก่ผู้ใช้อย่างมาก คุณสมบัติเด่นของ Microsoft 
Windows 3.11 
7 
ความยาวของชื่อ-นามสกุล ไฟล์ 
ความแตกต่างที่เห็นในชัดของชื่อไฟล์ในระบบ DOS กับ Windows คือ ความยาวของชื่อไฟล์ 
Windows สามารถตั้งชื่อให้ยาวได้มากถึง 255 ตัวอักษร ส่วนในระบบ DOS 
ชื่อและนามสกุลของไฟล์จะถูกจา กัดได้เพียง 
ชื่อยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร นามสกุลยาวไม่เกิน 3 ตัวอักษร 
ตัวอย่าง Readme.TXT (ชื่อไฟล์ Readme หลังจุดคือนามสกุล TXT) 
คาสั่งระบบ DOS พื้นฐาน 
1. DIR (Directory) – คา สั่งในการแสดงรายชื่อไฟล์ รายชื่อไดเรกทอรี่ (Folder ใน windows ปัจจุบัน) 
ตัวอย่างการใช้งาน (รวมคา สั่งย่อย ๆ) 
Dir – แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ทั้งหมด พร้อมทั้งขนาดไฟล์ + วันเวลาอัพเดทล่าสุด 
Dir /p – แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ในแนวนอน ให้หยุดแสดงทีละหน้า (กรณีที่มีจา นวนไฟล์ยาวมากกว่า 
1 หน้าจอ) 
Dir /w – แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ในแนวนอน 
Dir /s, – แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ และไฟล์ที่อยู่ในไดเรกทอรี่ย่อยด้วย 
Dir /od – แสดงรายชื่อไฟล์ ให้เรียงตามวันที่อัพเดท Dir /n – แสดงรายชื่อไฟล์ ให้เรียงตามชื่อ 
2. CLS (Clear Screen) – คา สั่งสา หรับลบหน้าจอออก 
3. DEL (Delete) – คา สั่งในการลบชื่อไฟล์ที่ต้องการ เช่น 
DEL readme.txt หมายถึงให้ลบชื่อไฟล์README.TXT 
ตัวอย่างการใช้งาน (รวมคา สั่งย่อย ๆ) 
Del readme.txt – ลบไฟล์ชื่อ readme.txt
Del *.* – ให้ลบไฟล์ทั้งหมดที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน 
Del *. – ให้ลบไฟล์ทั้งหมดที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน เฉพาะไฟล์ที่ไม่มีนามสกุล 
8 
4. MD (Make Directory) – คา สั่งในการสร้างไดเรกทอรี่ เช่น MD Photo จะได้ไดเรกทอรี่ C: Photo 
5. CD (Change Directory) – คา สั่งในการเข้าไปในไดเรกทอรี่ (CD 
คือคา สั่งในการออกจากห้องไดเรกทอรี่) 
6. RD (Remove Directory) – คา สั่งในการลบไดเรกทอรี่ เช่น RD Photo (เราจะต้องอยู่นอกห้องไดเรอทอรี่ 
Photo) 
7. REN (Rename) – คา สั่งในการเปลี่ยนชื่อ เช่น 
REN readme.txt read.me หมายถึงการเปลี่ยนชื่อไฟล์เป็น READ.ME 
ชนิดคาสั่ง DOS 
คา สั่งของ DOS มีอยู่ 2 ชนิดคือ 
1. คาสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคา สั่งที่เรียกใช้ได้ทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปิดใช้งานอยู่ 
เพราะคา สั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหน่วยความจา หลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS 
ส่วนมากจะเป็นคา สั่งที่ใช้อยู่เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น 
2. คาสั่งภายนอก (External Command) คา สั่งนี้จะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือแผ่น DOS 
คา สั่งเหล่านี้จะไม่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจา 
เมื่อต้องการใช้คา สั่งเหล่านี้คอมพิวเตอร์จะเรียกคา สั่งเข้าสู่หน่วยความจา 
ถ้าแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ไม่มีคา สั่งที่ต้องการใช้อยู่ก็ไม่สามารถเรียกคา สั่งนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น คา สั่ง 
FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น 
รูปแบบและการใช้คาสั่งต่างๆ 
ในการใช้คา สั่งต่าง ๆ ของ DOS จะมีการกา หนดอักษรหรือสัญลักษณ์ ใช้แทนข้อความของรูปแบบคา สั่ง 
ดังนี้
[d:] หมายถึง Drive เช่น A:, B: 
[path] หมายถึง ชื่อไดเรกทอรี่ย่อย 
[filename] หมายถึง ชื่อแฟ้มข้อมูล หรือ ชื่อไฟล์ 
[.ext] หมายถึง ส่วนขยาย หรือนามสกุล 
หมายเหตุ : ข้อความที่อยู่ในวงเล็บ ([ ] ) ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องใส่ในคา สั่ง 
9 
ทดลองใช้คาสั่ง DOS ใน Windows 
สา หรับผู้ใช้งาน Windows 95,98 สามารถทดสอบการใช้งานระบบ DOS ได้ มีวิธีเรียกใช้งานดังนี้ 
1. คลิกปุ่ม Start เลือก คา สั่ง RUN พิมพ์คา ว่า Command หรือ 
2. คลิกปุ่ม Start เลือกเมนู Program และเลือกโปรแกรม MS-DOS 
3. ต้องการให้หน้าจอแสดง DOS เตม็จอให้กดปุ่ม ALT พร้อมกับปุ่ม Enter 
4. และถ้าต้องการให้หน้าจอเล็กดังเดิม ก็ให้กดปุ่ม ALT พร้อมกับปุ่ม Enter เช่นเดียวกัน 
5. เลิกทดสอบและต้องการเข้าระบบ Windows ให้พิมพ์คา ว่า EXIT 
การติดตั้งโปรแกรมดอสจากแผ่นดิสก์ 4 แผ่น 
1. ให้นาแผ่น DOS แผ่นที่ 1 ใส่ในไดร์ฟ A แล้ว Restart เครื่อง 
2. รอสักพักจะมีหน้าจอสีฟ้า ให้กด Enter เลยไป 
3. พบกรอบสี่เหลี่ยมมีข้อความให้เลือก 2 บรรทัด คือ บรรทัดแรกออกจากไป DOS Prompt 
4. บรรทัดที่ 2 ให้ SETUP โปรแกรม DOS ให้เลือกรายการ SETUP กด N 
5. จะพบข้อความว่า The Setting are Correct แปลว่า การติดตั้งถูกต้องให้กด Enter 
6. จะพบข้อความให้เปลี่ยนชื่อ Directory C:DOS ถ้าไม่ประสงค์จะเปลี่ยนให้กด Enter 
7. จะพบข้อความสีฟ้าอ่อน ความหมายคือ โปรแกรมจะเริ่มตรวจเช็คค่าที่จา เป็นเกี่ยวกับภาษา กด Enter 
8. จะพบกรอบข้อความที่มีข้อความว่า เก็บค่า เก็บค่าออกจากโปรแกรม ให้เลื่อนแถบสีแดงมาทับ แล้วกด 
Enter 
9. โปรแกรมจะเริ่ม COPY ไฟล์จากแผ่นลงฮาร์ดดิสก์จากแผ่นที่ 1 ไปเรื่อย ๆ 
จนมีรายการหน้าจอให้ใส่แผ่นที่ 2 , 3 และ 4 ตามลา ดับ
10. ส่วนแผ่นที่ 4 พอได้ 99% จะมีรายงานให้กด Y กด Y แล้วกดดังรูป 
11. แล้วรอสักพักจะมีรายงานให้กด Enter และมีรายงานให้นา แผ่นออกจากไดร์ฟ A แล้ว Restart 
เครื่องอีกครั้ง การลงโปรแกรม DOS ก็เสร็จเรียบร้อย 
10 
ระบบปฏิบัติการ Windows 
Windows คือ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง (operating system) 
สร้างขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เนื่องจากความยากในการใช้งานดอสทา ให้บริษัท 
ไมโครซอฟต์ได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า Windows ที่มีลักษณะเป็น GUI (Graphic-User Interface) 
ที่นา รูปแบบของสัญลักษณ์ภาพกราฟิกเข้ามาแทนการป้อนคา สั่งทีละบรรทัด ซึ่ง 
ใกล้เคียงกับแมคอินทอชโอเอส เพื่อให้การใช้งานดอสทา ได้ง่ายขึ้น 
แต่วินโดวส์จะยังไม่ใช่ระบบปฏิบัติการจริง ๆ เนื่องจากมันจะทา งานอยู่ภายใต้การควบคุมของดอสอีกที 
กล่าวคือจะต้องมีการติดตั้งดอสก่อนที่จะติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 
และผู้ใช้จะสามารถเรียกใช้คา สั่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ในดอสได้โดยผ่านทางWindows ซึ่ง 
Windows จะง่ายต่อการใช้งานมากกว่าดอส 
ระบบปฏิบัติการ Windows ใช้หลักการแบ่งงานเป็นส่วน เรียกว่า หน้าต่างงาน (windows) 
ที่แสดงผลลัพธ์แต่ละโปรแกรม มีการผลิตและจา หน่ายหลายรุ่น เช่น... 
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 95 
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 95 พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ และวางจา หน่ายในช่วงปลายปี 1995 
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไป ที่มีคุณลักษณะ 
ฮาร์ดแวร์และหน่วยความจา สูงกว่าระบบปฏิบัติการดอส ต้องใช้ซีพียูที่มีความเร็ว ในการประมวลผลด้วย 
ตัวโปรแกรมต้องใช้พื้นที่ฮาร์ดดิสก์ประมาณ 40 MB มีรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) 
เป็นภาพกราฟิก ทา ให้ง่าย และสะดวกต่อการใช้งานยิ่งขึ้น (Friendly User Interface)
วินโดวส์ 95 ติดต่อกับผู้ใช้โดยใช้ภาพกราฟิก การใช้งานควบคุมโปรแกรม โดยใช้เมาส์เป็นส่วนใหญ่ 
ผู้ใช้ไม่ต้องจา คา สั่ง สะดวกต่อการใช้งานมาก นอกจากนั้นยังมี DOS Prompt ให้สามารถใช้คา สั่ง 
ที่จา เป็นของดอสในวินโดวส์ 95 ได้อีกด้วย ความสามารถของวินโดวส์ 95 คือเตรียมโปรแกรม 
สา หรับการควบคุม การเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก ไว้จา นวนมาก สามารถตรวจสอบอุปกรณ์ 
ที่นา มาเชื่อมต่อใหม่ได้อย่างอัตโนมัติ ทา ให้ผู้ใช้สะดวกอย่างมาก ในการติดตั้งอุปกรณ์ใหม่ 
เข้ากับคอมพิวเตอร์ การทา งานในลักษณะนี้เรียกว่า Pnp (Plug and Play) 
11 
ระบบปฏิบัติการ LINUX 
ลีนุกซ์ระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิต ที่เป็นยูนิกซ์โคลน สา หรับเครื่องพีซี และแจกจ่ายให้ใช้ฟรี 
สนับสนุนการใช้งานแบบหลากงาน หลายผู้ใช้ (MultiUser-MultiTasking) มีระบบ X วินโดวส์ 
ซึ่งเป็นระบบการติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก ที่ไม่ขึ้นกับโอเอสหรือฮาร์ดแวร์ใดๆ (มักใช้กันมากในระบบยูนิกซ์) 
และมาตรฐานการสื่อสาร TCP/IP ที่ใช้เป็นมาตรฐานการสื่อสารในอินเทอร์เนตมาให้ในตัว 
ลีนุกซ์มีความเข้ากันได้ (compatible) กับ มาตรฐาน POSIX 
ซึ่งเป็นมาตรฐานอินเทอร์เฟสที่ระบบยูนิกซ์ส่วนใหญ่จะต้องมีและมีรูปแบบบางส่วนที่คล้ายกับระบบปฏิบัติ 
การยูนิกซ์จากค่าย Berkeley และ System V โดยความหมายทางเทคนิคแล้วลีนุกซ์ เป็นเพียงเคอร์เนล 
(kernel) ของระบบปฏิบัติการ ซึ่งจะทา หน้าที่ในด้านของการจัดสรรและบริหารโพรเซสงาน 
การจัดการไฟล์และอุปกรณ์ I/O ต่างๆ 
แต่ผู้ใช้ทั่วๆไปจะรู้จักลีนุกซ์ผ่านทางแอพพลิเคชั่นและระบบอินเทอร์เฟสที่เขาเหล่านั้นเห็น (เช่น Shell หรือ 
X วินโดวส์) ถ้าคุณรันลีนุกซ์บนเครื่อง 386 หรือ 486 ของคุณ 
มันจะเปลี่ยนพีซีของคุณให้กลายเป็นยูนิกซ์เวิร์กเตชันที่มีความสามารถสูง 
เคยมีผู้เทียบประสิทธิภาพระหว่างลีนุกซ์บนเครื่องเพนเทียม และเครื่องเวิร์กเตชันของซันในระดับกลาง 
และได้ผลออกมาว่าให้ประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกัน และนอกจากแพลตฟอร์มอินเทลแล้ว 
ปัจจุบันลีนุกซ์ยังได้ทา การพัฒนาระบบเพื่อให้สามารถใช้งานได้บนแพลตฟอร์มอื่นๆด้วย เช่น DEC Alpha , 
Motorolla Power-PC , MIPS เมื่อคุณสร้างแอพพลิเคชันขึ้นมาบนแพลตฟอร์มใดแพลตฟอร์มหนึ่งแล้ว 
คุณก็สามารถย้ายแอพพลิเคชันของคุณไปวิ่งบนแพลตฟอร์มอื่นได้ไม่ยาก 
ลีนุกซ์มีทีมพัฒนาโปรแกรมที่ต่อเนื่อง ไม่จา กัดจา นวนของอาสาสมัครผู้ร่วมงาน
และส่วนใหญ่จะติดต่อกันผ่านทางอินเทอร์เนต 
เพราะที่อยู่อาศัยจริงๆของแต่ละคนอาจจะอยู่ไกลคนละซีกโลกก็ได้ และมีแผนงานการพัฒนาในระยะยาว 
ทา ให้เรามั่นใจได้ว่า ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่มีอนาคต และจะยังคงพัฒนาต่อไปได้ตราบนานเท่านาน 
บทที่ 3 
อุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน 
การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ และเผยแพร่ความรู้ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 
1.1โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน ได้แก่ 
1) Microsoft Word 2007 
2) โปรแกรม Google Chrome 
3) Blogger.com 
4) G-mail.com 
2.ข้นัตอนการดาเนินงาน
2.1 ศึกษาหัวข้อที่ครูประจา วิชาที่มอบหมาย 
2.2 ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องที่ ได้หมอบหมาย คือเรื่อง ระบบปฏิบัติการ 
และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ต่างๆ และจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทา 
เนื้อหาจากเว็บ Google และ bolgspot.com 
จากเอกสารและเว็บต่างๆ 
2.3 จัดทา เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 
2.4 ประเมินผลงานให้ครูประจา วิชาประเมินและให้เพื่อนผู้ที่สนใจร่วมประเมิน 
13 
ขั้นตอนการสร้าง Blogger 
การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ นี้ผู้จัดทา ได้มีผลการดา เนินงาน ดังนี้ 
การสร้างบัญชี 
1.ให้เข้าไปที่ www.gmail.com เพื่อเข้าไปสมัครใช้งาน Gmail นั่นเอง 
2.ให้สังเกตด้านบนสุดขวามือของเว็บไซต์จะแสดงสี่เหลี่ยมสีแดงที่ เขียนว่า สร้างบัญชี 
อยู่ให้คลิกไปที่สี่เหลี่ยมสีแดงที่เขียนว่า สร้างบัญชีได้ทันที
3.หน้าต่อไปจะเห็นด้านขวามือนั้นมีช่องสี่เหลี่ยมสีขาวให้กรอกข้อมูลเยอะแยะไปหมดเลยมาเริ่มจา 
กด้านบนก่อน ดังนี้ 
14 
กรอกชื่อ และ นามสกุล ของเราลงไปจริงๆ ไม่จา เป็นจะต้องกรอกชื่อ หรือ นามสกุล 
ของคุณจริงก็ได้สามารถใช้ชื่อที่ตั้งเอาเองก็ได้ในส่วนนี้แต่ชื่อที่ใช้นั้น ต้องเป็นคนละชื่อกับที่เราจะตั้งเป็นชื่อ 
Gmail ของเรา
เลือกชื่อผู้ใช้ ให้ตั้งชื่อที่เราต้องการใช้เป็นชื่ออีเมล์แอดเดรส เช่น xxx@gmail.com นั่นเอง 
เพราะเป็นชื่อที่จะต้องใช้เข้าสู่ระบบ Gmail ทุกครั้ง 
สร้างรหัสผ่าน และ ยืนยันรหัสผ่าน ในช่องนี้ให้ตั้งรหัสผ่าน ด้วยตัวเลข หรือ 
ตัวอักษรก็ได้ซึ่งต้องมีความยาวไม่ต่า กว่า 8 อักขระ 
และควรเป็นรหัสผ่านที่จา ได้ด้วยไม่เช่นนั้นถ้าลืมขึ้นมาแล้วอาจจะเข้าใช้งานอีเมล์ของไม่ได้ 
วัน เดือน ปี ในส่วนนี้ให้กรอก วัน เดือน ปี เกิดให้ถูกต้อง 
ข้นัตอนต่อไป คือ การระบุเพศของคุณ ชาย หญิง 
15 
ที่อยู่อีเมล์ปัจจุบันของคุณ 
ในส่วนนี้ถ้ามีที่อยู่อีเมล์อื่นอยู่แล้วค่อยกรอกแต่ถ้าไม่มีก็ไม่จา เป็นที่จะต้องกรอกปล่อยเว้นว่างเอาไว้ก็ได้
พิสูจน์ว่าคุณไม่ได้เป็นหุ่นยนต์ แค่กรอกเลข หรือ 
ตัวอักษรตามรูปภาพที่ขึ้นอยู่ในช่องสี่เหลี่ยมสีขาวด้านล่างให้ถูกต้องก็พิสูจน์ได้ว่าคุณไม่ใช่หุ่นยนต์แล้ว 
ตาแหน่งที่อยู่ ให้คุณเลือกเป็น ประเทศ ไทย 
หลังจากนั้นจะมีช่องสี่เหลี่ยมสีขาวให้คุณเลือกติ๊กเครื่องหมายถูกคุณจะติ๊กเฉพาะอันบน หรือ 
เลือกติ๊กอันล่างด้วยก็ได้ในส่วนนี้ 
16
เพียงเท่านี้คุณก็สามารถสมัครใช้งาน Gmail ได้เรียบร้อย และ 
ขั้นตอนต่อไปนั่นคือการเลือกรูปใส่ประจา โปรไฟล์ Gmail ของคุณก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยสมัคร 
Gmailง่ายๆ เพียงไม่กี่นาทีคุณก็มี Gmail เป็นของตัวเองแล้วคุณสามารถที่จะรับส่งจดหมายผ่านทาง Gmail 
เพื่อติดต่อกับเพื่อน หรือ ติดต่องานได้ อย่างสะดวกสบายสุดๆ ที่สา คัญ Gmail 
นั้นยังมีรูปแบบในการใช้งานที่ง่ายอีกด้วย 
การสร้างบล็อก 
เมื่อต้องการเริ่มเขียนบล็อกด้วยบล็อกเกอร์ ให้ไปที่ หน้าแรกบล็อกเกอร์ 
ใส่ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านของคุณ จากนั้นคลิกลงชื่อเข้าใช้ ป้อนชื่อที่แสดง 
และยอมรับข้อกา หนดในการให้บริการของบล็อกเกอร์ จากนั้นคลิกที่ลิงก์ สร้างบล็อก แล้วเริ่มต้นได้เลย! 
เลือกที่อยู่ (URL) และชื่อบล็อก จากนั้นเลือกเทมเพลตบล็อกที่คุณชอบ 
(นี่คือลักษณะหน้าตาของบล็อกเมื่อคุณเผยแพร่) จากนั้นก็เริ่มใช้ความคิดสร้างสรรค์ 
เพิ่มข้อมูลในโปรไฟล์ส่วนบุคคลของคุณ และปรับแต่งลักษณะของบล็อก 
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน 
ในการศึกษาโครงงานครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสา รวจเพื่อศึกษา 
“ความพอใจในการเผยแพร่ความรู้บทความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System” 
ซึ่งประกอบด้วย 
1. วิชา ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น (2204-2002) 
2. วิชา โปรแกรมประมวลผลคา (2204-2108) 
3. วิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ (2001-2001) 
รวม 3 รายวิชาดังกล่าว โดยการบูรณาการร่วมกัน เป็นการนา เสนอผลการทา โครงงานคอมพิวเตอร์ 
ผลการประเมินได้จากการเก็บข้อมูลกลุ่มนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพห้อง พณ. 1/12 
ผู้จัดทา ขอนา เสนอผลงาน รวม Blogspot ทุกชั้นเรียน ระดับ ปวช. แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของครู ธิดารัตน์ 
พลพันธ์ 
สิงห์ http://kvcthidarat.blogspot.com/ ซึ่งรวมทุก Blogspot ในระดับชั้น ปวช. 1 แผนกสาขาคอมพิวเตอร์ 
ผู้จัดทา Blogspot เพื่อเผยแพร่ ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) 
http://gu-lockza55.blogspot.com/ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยจา แนกรายละเอียด ตามวิธีการศึกษาข้อมูลดังนี้ 
Blogspot ของครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ รวมทุก Blogspot ของนักเรียน ระดับ ปวช. 1 
แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 
18
Blogspot http://gu-lockza55.blogspot.com/ ซึ่งเป็นของคณะผู้จัดทา 
ได้ทา บทความความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) 
และใน Blogspot ได้นา เอาโครงงาน บทความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ (OS: Operating 
System) ลงในบทความ โดยการแปลง File จาก โปรแกรม Microsoft Word เป็น Pdf file เพื่อ Upload ลงใน 
Website: slideshare.net 
19
ผลการประเมินประสิทธิภาพ 
ผลการประเมินประสิทธิภาพของ การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: 
Operating System) แสดงค่าคะแนนเฉลี่ย ( x ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 
และค่าระดับประสิทธิภาพของกลุ่มตัวอย่างของผู้ใช้งานจา นวน 34 มีดังต่อไปนี้ 
ตารางที่1 แบบประเมินเพื่อหาการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ (OS: Operating 
System) 
รายการประเมิน x S.D. ความหมาย 
1.ความชัดเจนของข้อความที่แสดงบนจอภาพ 4.21 0.419 ดี 
2.ความเหมาะสมของการใช้สีตัวอักษรพื้นหลังและรูปภาพ 4.05 0.524 ดี 
3.ความเหมาะสมของตา แหน่งการจัดวางส่วนต่างๆบนจอภาพ 3.95 0.405 ดี 
4.คา สั่งบนหน้าจอใช้สื่อสารกับผู้ใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ 3.67 0.820 ดี 
5.การใช้งานง่าย 4.20 0.419 ดี 
6.ความเหมาะสมของปริมาณข้อมูลที่นาเสนอในแต่ละจอภาพ 3.40 0.513 พอใช้ 
รวมเฉลี่ย 3.90 0.353 ดี 
จากตาราง แบบประเมินเพื่อหาการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ (OS: Operating 
System) มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดี ( x = 3.90)
บทที่ 5 
สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ 
การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating 
System) นี้ สรุปผลการดา เนินและข้อเสนอแนะได้ ดังนี้ 
1.สรุปผลการดาเนินงานของระบบปฏิบัติการ 
ผู้จัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating 
System) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 
1.1 เนื้อหาในบทเรียน 
1.2 ที่มาและความสา คัญของระบบปฏิบัติการ 
1.3 ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
1.4โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน 
2.อุปสรรคในการทาโครงงาน 
การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) 
และได้มีการทดลองทา ให้พบปัญหาต่าง ๆ ดังนี้ 
2.1 มีปัญหาในการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เกิดจากอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร 
2.2 เครื่องคอมพิวเตอร์มีปัญหาเนื่องจากไวรัสเข้าเครื่องทา ให้งานหายบ่อย 
3.ข้อเสนอแนะ 
3.1 ควรมีการจัดทา โครงงานอย่างต่อเนื่อง 
เพื่อที่จะได้เผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อออนไลน์ได้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
บรรณานุกรม 
1. ความหมายของระบบปฏิบัติการ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: 
https://sites.google.com/site/operatingsystemeng1/khwam-hmay-khxng-rabb-ptibati-kar 
[วันที่สืบค้น: 2 กันยายน 2557] 
2.ระบบปฏิบัติการ DOS [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : 
http://beerkung.wordpress.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E 
0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B 
8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9 
A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2- 
2/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E 
0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B 
8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9 
5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2/ 
[วันที่สืบค้น: 2 กันยายน 2557] 
3.ระบบปฏิบัติการ Windows [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: 
https://sites.google.com/site/hxngreiynxxnlinbykhruniw/rabb-ptibati-kar-windows-1 
[วันที่สืบค้น: 3 กันยายน 2557] 
4.ระบบปฏิบัติการ Linux [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: 
http://linuxunix54321.tripod.com/Linux01.htm 
[สืบค้นวันที่: 3 กันยายน 2557]
ภาคผนวก
รูปภาพที่1 
รูปภาพที่2

More Related Content

What's hot

แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานพัน พัน
 
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล noeiinoii
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์Wirachat Inkhamhaeng
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.rubtumproject.com
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointpoomarin
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นchaiwat vichianchai
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
 
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpoint
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์oiw1234
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์wanuporn12345
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานwanuporn12345
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานknokrat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ภาคิน ดวงคุณ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kanoksuk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas55
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
223333
223333223333
223333
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 

More from jamiezaa123

แบบทดสอบหลังนำเสนองาน
แบบทดสอบหลังนำเสนองานแบบทดสอบหลังนำเสนองาน
แบบทดสอบหลังนำเสนองานjamiezaa123
 
งานนำเสนอ Linux
งานนำเสนอ  Linuxงานนำเสนอ  Linux
งานนำเสนอ Linuxjamiezaa123
 
แบบทดสอบDos
แบบทดสอบDosแบบทดสอบDos
แบบทดสอบDosjamiezaa123
 
Android and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการAndroid and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการjamiezaa123
 
งานนำเสนอ Linux
งานนำเสนอ  Linuxงานนำเสนอ  Linux
งานนำเสนอ Linuxjamiezaa123
 
ระบบปฏิบัติการ Os
ระบบปฏิบัติการ Os ระบบปฏิบัติการ Os
ระบบปฏิบัติการ Os jamiezaa123
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบjamiezaa123
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานjamiezaa123
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์jamiezaa123
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 

More from jamiezaa123 (16)

แบบทดสอบหลังนำเสนองาน
แบบทดสอบหลังนำเสนองานแบบทดสอบหลังนำเสนองาน
แบบทดสอบหลังนำเสนองาน
 
งานนำเสนอ Linux
งานนำเสนอ  Linuxงานนำเสนอ  Linux
งานนำเสนอ Linux
 
Taskbar.
Taskbar.Taskbar.
Taskbar.
 
แบบทดสอบDos
แบบทดสอบDosแบบทดสอบDos
แบบทดสอบDos
 
Android and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการAndroid and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการ
 
Dos
DosDos
Dos
 
DOS
DOSDOS
DOS
 
งานนำเสนอ Linux
งานนำเสนอ  Linuxงานนำเสนอ  Linux
งานนำเสนอ Linux
 
ระบบปฏิบัติการ Os
ระบบปฏิบัติการ Os ระบบปฏิบัติการ Os
ระบบปฏิบัติการ Os
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Symbian
Symbian Symbian
Symbian
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
 
Jamie
JamieJamie
Jamie
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ เสนอ อาจารย์ ธิดารัตน์ พลพันสิงห์ จัดทา โดย นางสาววานุพร ภูขาว รหัส 5722040435 นายกนกพล นาเม็ง รหัส 5722040443 นายภาคิน ดวงคุณ รหัส 5722040449 วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปีการศึกษา 1/2557
  • 2. เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อพัฒนาสื่อการศึกษา ระดับชั้น ปวช.1 โดย 1.นางสาววานุพร ภูขาว 2.นายนายกนกพล นาเม็ง 3.นายภาคิน ดวงคุณ โรงเรียน วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น สังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา ครูที่ปรึกษา อ.ธิดารัตน์ พลพันสิงห์ ปีการศึกษา 1/2557
  • 3. ก บทคัดย่อ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพ ร่ความรู้ เรื่อง ระบ บ ป ฏิบัติการ (OS: Operating System) จัด ท าขึ้น โด ยมีวัต ถุป ระส งค์ดังนี้ 1). เพื่อ เผ ย แพ ร่ค ว าม รู้เกี่ย ว กับ เรื่อ งระบ บ ป ฏิบัติก าร 2).เพื่อใช้เป็นสื่อในการศึกษ าส าห รับ ผู้ที่ส น ใจเรื่อง ระบ บ ป ฏิบัติการ (OS: Operating System) การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ในครั้งนี้ คือ 1) โปรแกรม Google Chrome 2) โปรแกรม Microsoft Word 2007 3) www.gmail.com 4) www.blogger.com ผลการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) ใน blogger.com ประกอบด้วย เนื้อหาของระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) และผลการประเมินของการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS : Operating System) มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี ( x = 3.90)
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สา เร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์ธิดารัตน์ พลพันสิงห์และคุณครูดวงใจ คุณสุทธ์ิ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คา เสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนโครงงานนี้สา เร็จ ผู้ศึกษาจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบคุณ คุณครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์และคุณครูดวงใจ คุณสุทธ์ิคุณครูที่ให้คา ปรึกษาในการแก้ไขตลอดจนทา ให้โครงงานนี้สา เร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้คา แนะนา และสนับสนุนในเรื่องต่าง ๆ รวมทั้งเป็นกา ลังใจที่ดีเสมอ สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆที่ให้การช่วยเหลือและสนับสนุนเกี่ยวกับโครงงานนี้ คณะผู้จัดทา วานุพร ภูขาว กนกพล นาเม็ง ภาคิน ดวงคุณ
  • 5. ค สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสา คัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตการศึกษา 2 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ความหมายของระบบปฏิบัติการ 3 ระบบปฏิบัติการคืออะไร ? 4-5 ระบบปฏิบัติการ DOS 6-9 ระบบปฏิบัติการ Windows 10 ระบบปฏิบัติการ Linux 11 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 12 ขั้นตอนการทา งาน 13-16 บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงงาน ผลการดา เนินงานระบบปฏิบัติการ 17- 19บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ สรุปผลการดา เนินงานระบบปฏิบัติการ 20 ข้อเสนอแนะ 20 บรรณานุกรม ภาคผนวก
  • 6. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ถ้ามีรถยนต์อยู่แต่ขับรถยนต์ไม่เป็น รถยนต์คันดังกล่าวก็จะไม่มีประโยชน์อะไรเลย คอมพิวเตอร์ก็เช่นเดียวกัน ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเพียงใดก็ตาม ถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวไม่มีระบบปฏิบัติการคอยควบคุมการทา งาน ซึ่งเปรียบได้กับรถยนต์ที่ไม่มีคนขับ เครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวก็จะไม่มีประโยชน์เลย ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงมีความสา คัญเปรียบเสมือนกับคนขับรถยนต์ที่จะต้องคอยควบคุมรถให้เดินทางไป ถึงที่หมายอย่างถูกต้อง และปลอดภัย ระบบปฏิบัติการก็จะต้องควบคุมการทา งานของคอมพิวเตอร์ให้ทา งานตามที่ต้องการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ในปัจจุบันระบบปฏิบัติการไม่ได้นา มาใช้งานกับคอมพิวเตอร์เท่านั้น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์สมัยใหม่ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องเล่นเกม หรือแม้กระทั่งเครื่องซักผ้า ก็มีระบบปฏิบัติการในการควบคุมการทา งานเช่นกัน แต่จะเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาสา หรับอุปกรณ์นั้น ๆ โดยเฉพาะ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างสภาพการใช้ งานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพ สา หรับผู้ใช้ในการใช้ทรัพยากร ต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.เพื่อใช้เป็นสื่อในการศึกษา ให้กับผู้ที่สนใจเรื่องระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System)
  • 7. 2 ขอบเขตการศึกษา 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) ซึ่งประกอบด้วย ระบบปฏิบัติการ DOS, ระบบปฏิบัติการ Windows, ระบบปฏิบัติการ Linux 2. โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน ได้แก่ 2.1 โปรแกรม Microsoft Word 2007 2.2 โปรแกรม Google Chrome 2.3 www.blogger.com 2.4 www.gmail.com ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้เรียนรู้และสามารถพัฒนาระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้ในการศึกษาได้จริง 2. ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3. สามารถนา เอาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) ไปใช้ในการศึกษาได้
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) นี้ผู้จัดทา ได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อไปนี้ 1. ความหมายของระบบปฏิบัติการ 2. ระบบปฏิบัติการคืออะไร ? 3. ระบบปฏิบัติการ DOS 4. ระบบปฏิบัติการ Windows 5. ระบบปฏิบัติการ Linux 1. ความหมายของระบบปฏิบัติการ จากองค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ข้างต้นก็จะเห็นได้ว่าระบบปฏิบัติการถือเป็นส่วนสาคัญส่วนห นึ่ง ใ น ร ะ บ บ ค อ ม พิว เ ต อ ร์ ซึ่งระบบปฏิบัติการจัดเป็นโปรแกรมระบบที่ใช้สาหรับควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากรในระบบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นระบบปฏิบัติการ หรือมักเรียกสั้นๆ ว่าโอเอสนั้นจึงหมายถึงชุดโปรแกรมที่ทา หน้าที่ในการควบคุม ดูแลการดา เนินการต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ ประสานการทา งานระหว่างทรัพยากรต่างๆ ในระบบ ทั้งในส่วนที่ซอฟต์แวร์ แ ล ะ ส่ว น ที่เป็ น ฮ า ร์ด แ ว ร์ใ ห้ส า ม า ร ถ ด า เนิน ก า ร ท า ง า น ร่ว ม กัน ไ ด้อ ย่า ง เห ม า ะ ส ม โดยมีเป้าหมายเพื่อเป็นตัวกลางที่ช่วยในการประสานการทา งานของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ด้วยการตอบส น อ ง ต่อ ผู้ใ ช้ง า น ท า ใ ห้ผู้ใ ช้ง า น ส า ม า ร ถ โ ต้ต อ บ กับ ค อ ม พิว เต อ ร์ไ ด้อ ย่า ง ส ะ ด ว ก แ ล ะ เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ โดยผู้ใช้งานไม่จา เป็นต้องรู้ว่าภายในคอมพิวเตอร์ต้องทา งานอย่างไรปล่อยให้เป็นหน้าที่ของตัวระบบปฏิบัติ การเป็นผู้จัดการแทน
  • 9. 4 ระบบปฏิบัติการคืออะไร ? ระบบคอมพิวเตอร์แทบทุกระบบถือว่าระบบปฏิบัติการเป็นส่วนสา คัญของระบบ โดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประยุกต์ และผู้ใช้ 1. ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วยทรัพยากรต่างๆ ที่มีในระบบ ได้แก่ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยความจา นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง โปรแกรมภาษาเครื่อง และไมโครโปรแกรม ซึ่งเป็นส่วนที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นซอร์ฟแวร์ในระดับพื้นฐาน (Primitive level) โดยสามารถทา งานได้โดยตรงกับทรัพยากรระบบด้วยคา สั่งง่ายๆ เช่น ADD MOVE หรือ JUMP คา สั่งเหล่านี้จะถูกกา หนดเป็นขั้นตอน การทา งานของวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ชุดคา สั่งที่ไมโครโปรแกรมต้องแปลหรือตีความหมายจะอยู่ใน รูปแบบภาษาเครื่องและมักเป็นคา สั่งในการคา นวณ เปรียบเทียบ และการควบคุมอุปกรณ์นา ข้อมูลเข้า/ออก 2. ระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมที่ทา งานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้เครื่องและฮาร์ดแวร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้ระบบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยจะเอื้ออา นวยการพัฒนาและการใช้โปรแกรมต่างๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. โปรแกรมประยุกต์ คือซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทา งานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ เช่น งานส่วนตัว งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ โปรแกรมทางธุรกิจ เกมส์ต่างๆ ระบบฐานข้อมูล ตลอดจนตัวแปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า User's Program โปรแกรมประเภทนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงในการพัฒนา เช่นภาษา C, C++, COBOL, PASCAL, BASIC ฯลฯ ตัวอย่างของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นใช้ในทางธุรกิจ เช่น โปรแกรมระบบบัญชีจ่ายเงินเดือน (Payroll Program) โปรแกรมระบบเช่าซื้อ (Hire Purchase) โปรแกรมระบบสินค้าคงหลัง (Stock Program) ฯลฯ ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็จะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์มที่แตกต่างกัน ตามความต้องการหรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งโปรแกรม
  • 10. 5 ประเภทนี้เราสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมเองได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานโปรแกรม โปรแกรมเหล่านี้เป็นตัวกา หนดแนวทางในการใช้ทรัพยากรระบบ เพื่อทา งานต่างๆ ให้แก่ผู้ใช้หลากหลายประเภท ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งบุคคล โปรแกรม หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นตัวแปรภาษาต้องใช้ทรัพยากรระบบในการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องแก่โปรแกรม เมอร์ ดังนั้น ระบบปฏิบัติการต้องควบคุมและประสานงานในการใช้ทรัพยากรระบบของผู้ใช้ให้เป็นไปอย่างถูกต้อง 4. ผู้ใช้ ถึงแม้ระบบคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แต่ระบบคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทา งานได้ถ้าขาดอีกองค์ประกอบหนึ่ง ซึ่งได้แก่ องค์ประกอบทางด้านบุคลากรที่จะเป็นผู้จัดการและควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่า งราบรื่น คอยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ รวมไปถึงการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ที่ถูกพัฒนาขึ้น
  • 11. 6 ระบบปฏิบัติการ DOS เริ่มมีใช้ครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรียกว่าโปรแกรม PC-DOS ต่อมาบริษัทไมโครซอฟต์ได้สร้าง MS-DOS สา หรับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน ตั้งแต่รุ่น Versions 1.0 2.0 3.0 3.30 4.0 5.0 6.0 และ 6.22 ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ทา งานภายใต้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS อยู่เป็นจา นวนมาก โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าๆ ที่มีทรัพยากรของระบบน้อย ตัวอย่างหน้าต่างระบบปฏิบัติการ MS-Dos การใช้คา สั่งดอส โดยการพิมพ์คา สั่งที่เครื่องหมายพร้อมรับคา สั่ง ในลักษณะ Command Line ซึ่ง DOS ติดต่อกับผู้ใช้ด้วยการพิมพ์คา สั่ง ไม่มีภาพกราฟิกให้ใช้ เรียกว่าทา งานในโหมดตัวอักษร Text Mode ข้อเสีย คือ ติดต่อกับผู้ใช้ไม่สะดวก เพราะผู้ใช้ต้องจา และพิมพ์คา สั่งให้ถูกต้องโปรแกรมจึงจะทา งาน ดังนั้นประมาณปี ค.ศ. 1985 บริษัทไมโครซอฟต์ได้พัฒนา Microsoft Windows Version 1.0
  • 12. และเรื่อยมาจนถึง Version 3.11 ในปีค.ศ. 1990 ซอฟต์แวร์ดังกล่าว ทา งานแบบกราฟิกเรียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทา หน้าที่แทนดอส ทา ให้เกิดความสะดวกแก่ผู้ใช้อย่างมาก คุณสมบัติเด่นของ Microsoft Windows 3.11 7 ความยาวของชื่อ-นามสกุล ไฟล์ ความแตกต่างที่เห็นในชัดของชื่อไฟล์ในระบบ DOS กับ Windows คือ ความยาวของชื่อไฟล์ Windows สามารถตั้งชื่อให้ยาวได้มากถึง 255 ตัวอักษร ส่วนในระบบ DOS ชื่อและนามสกุลของไฟล์จะถูกจา กัดได้เพียง ชื่อยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร นามสกุลยาวไม่เกิน 3 ตัวอักษร ตัวอย่าง Readme.TXT (ชื่อไฟล์ Readme หลังจุดคือนามสกุล TXT) คาสั่งระบบ DOS พื้นฐาน 1. DIR (Directory) – คา สั่งในการแสดงรายชื่อไฟล์ รายชื่อไดเรกทอรี่ (Folder ใน windows ปัจจุบัน) ตัวอย่างการใช้งาน (รวมคา สั่งย่อย ๆ) Dir – แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ทั้งหมด พร้อมทั้งขนาดไฟล์ + วันเวลาอัพเดทล่าสุด Dir /p – แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ในแนวนอน ให้หยุดแสดงทีละหน้า (กรณีที่มีจา นวนไฟล์ยาวมากกว่า 1 หน้าจอ) Dir /w – แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ในแนวนอน Dir /s, – แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ และไฟล์ที่อยู่ในไดเรกทอรี่ย่อยด้วย Dir /od – แสดงรายชื่อไฟล์ ให้เรียงตามวันที่อัพเดท Dir /n – แสดงรายชื่อไฟล์ ให้เรียงตามชื่อ 2. CLS (Clear Screen) – คา สั่งสา หรับลบหน้าจอออก 3. DEL (Delete) – คา สั่งในการลบชื่อไฟล์ที่ต้องการ เช่น DEL readme.txt หมายถึงให้ลบชื่อไฟล์README.TXT ตัวอย่างการใช้งาน (รวมคา สั่งย่อย ๆ) Del readme.txt – ลบไฟล์ชื่อ readme.txt
  • 13. Del *.* – ให้ลบไฟล์ทั้งหมดที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน Del *. – ให้ลบไฟล์ทั้งหมดที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน เฉพาะไฟล์ที่ไม่มีนามสกุล 8 4. MD (Make Directory) – คา สั่งในการสร้างไดเรกทอรี่ เช่น MD Photo จะได้ไดเรกทอรี่ C: Photo 5. CD (Change Directory) – คา สั่งในการเข้าไปในไดเรกทอรี่ (CD คือคา สั่งในการออกจากห้องไดเรกทอรี่) 6. RD (Remove Directory) – คา สั่งในการลบไดเรกทอรี่ เช่น RD Photo (เราจะต้องอยู่นอกห้องไดเรอทอรี่ Photo) 7. REN (Rename) – คา สั่งในการเปลี่ยนชื่อ เช่น REN readme.txt read.me หมายถึงการเปลี่ยนชื่อไฟล์เป็น READ.ME ชนิดคาสั่ง DOS คา สั่งของ DOS มีอยู่ 2 ชนิดคือ 1. คาสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคา สั่งที่เรียกใช้ได้ทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปิดใช้งานอยู่ เพราะคา สั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหน่วยความจา หลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS ส่วนมากจะเป็นคา สั่งที่ใช้อยู่เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น 2. คาสั่งภายนอก (External Command) คา สั่งนี้จะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือแผ่น DOS คา สั่งเหล่านี้จะไม่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจา เมื่อต้องการใช้คา สั่งเหล่านี้คอมพิวเตอร์จะเรียกคา สั่งเข้าสู่หน่วยความจา ถ้าแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ไม่มีคา สั่งที่ต้องการใช้อยู่ก็ไม่สามารถเรียกคา สั่งนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น คา สั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น รูปแบบและการใช้คาสั่งต่างๆ ในการใช้คา สั่งต่าง ๆ ของ DOS จะมีการกา หนดอักษรหรือสัญลักษณ์ ใช้แทนข้อความของรูปแบบคา สั่ง ดังนี้
  • 14. [d:] หมายถึง Drive เช่น A:, B: [path] หมายถึง ชื่อไดเรกทอรี่ย่อย [filename] หมายถึง ชื่อแฟ้มข้อมูล หรือ ชื่อไฟล์ [.ext] หมายถึง ส่วนขยาย หรือนามสกุล หมายเหตุ : ข้อความที่อยู่ในวงเล็บ ([ ] ) ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องใส่ในคา สั่ง 9 ทดลองใช้คาสั่ง DOS ใน Windows สา หรับผู้ใช้งาน Windows 95,98 สามารถทดสอบการใช้งานระบบ DOS ได้ มีวิธีเรียกใช้งานดังนี้ 1. คลิกปุ่ม Start เลือก คา สั่ง RUN พิมพ์คา ว่า Command หรือ 2. คลิกปุ่ม Start เลือกเมนู Program และเลือกโปรแกรม MS-DOS 3. ต้องการให้หน้าจอแสดง DOS เตม็จอให้กดปุ่ม ALT พร้อมกับปุ่ม Enter 4. และถ้าต้องการให้หน้าจอเล็กดังเดิม ก็ให้กดปุ่ม ALT พร้อมกับปุ่ม Enter เช่นเดียวกัน 5. เลิกทดสอบและต้องการเข้าระบบ Windows ให้พิมพ์คา ว่า EXIT การติดตั้งโปรแกรมดอสจากแผ่นดิสก์ 4 แผ่น 1. ให้นาแผ่น DOS แผ่นที่ 1 ใส่ในไดร์ฟ A แล้ว Restart เครื่อง 2. รอสักพักจะมีหน้าจอสีฟ้า ให้กด Enter เลยไป 3. พบกรอบสี่เหลี่ยมมีข้อความให้เลือก 2 บรรทัด คือ บรรทัดแรกออกจากไป DOS Prompt 4. บรรทัดที่ 2 ให้ SETUP โปรแกรม DOS ให้เลือกรายการ SETUP กด N 5. จะพบข้อความว่า The Setting are Correct แปลว่า การติดตั้งถูกต้องให้กด Enter 6. จะพบข้อความให้เปลี่ยนชื่อ Directory C:DOS ถ้าไม่ประสงค์จะเปลี่ยนให้กด Enter 7. จะพบข้อความสีฟ้าอ่อน ความหมายคือ โปรแกรมจะเริ่มตรวจเช็คค่าที่จา เป็นเกี่ยวกับภาษา กด Enter 8. จะพบกรอบข้อความที่มีข้อความว่า เก็บค่า เก็บค่าออกจากโปรแกรม ให้เลื่อนแถบสีแดงมาทับ แล้วกด Enter 9. โปรแกรมจะเริ่ม COPY ไฟล์จากแผ่นลงฮาร์ดดิสก์จากแผ่นที่ 1 ไปเรื่อย ๆ จนมีรายการหน้าจอให้ใส่แผ่นที่ 2 , 3 และ 4 ตามลา ดับ
  • 15. 10. ส่วนแผ่นที่ 4 พอได้ 99% จะมีรายงานให้กด Y กด Y แล้วกดดังรูป 11. แล้วรอสักพักจะมีรายงานให้กด Enter และมีรายงานให้นา แผ่นออกจากไดร์ฟ A แล้ว Restart เครื่องอีกครั้ง การลงโปรแกรม DOS ก็เสร็จเรียบร้อย 10 ระบบปฏิบัติการ Windows Windows คือ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง (operating system) สร้างขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เนื่องจากความยากในการใช้งานดอสทา ให้บริษัท ไมโครซอฟต์ได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า Windows ที่มีลักษณะเป็น GUI (Graphic-User Interface) ที่นา รูปแบบของสัญลักษณ์ภาพกราฟิกเข้ามาแทนการป้อนคา สั่งทีละบรรทัด ซึ่ง ใกล้เคียงกับแมคอินทอชโอเอส เพื่อให้การใช้งานดอสทา ได้ง่ายขึ้น แต่วินโดวส์จะยังไม่ใช่ระบบปฏิบัติการจริง ๆ เนื่องจากมันจะทา งานอยู่ภายใต้การควบคุมของดอสอีกที กล่าวคือจะต้องมีการติดตั้งดอสก่อนที่จะติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows และผู้ใช้จะสามารถเรียกใช้คา สั่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ในดอสได้โดยผ่านทางWindows ซึ่ง Windows จะง่ายต่อการใช้งานมากกว่าดอส ระบบปฏิบัติการ Windows ใช้หลักการแบ่งงานเป็นส่วน เรียกว่า หน้าต่างงาน (windows) ที่แสดงผลลัพธ์แต่ละโปรแกรม มีการผลิตและจา หน่ายหลายรุ่น เช่น... ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 95 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 95 พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ และวางจา หน่ายในช่วงปลายปี 1995 เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไป ที่มีคุณลักษณะ ฮาร์ดแวร์และหน่วยความจา สูงกว่าระบบปฏิบัติการดอส ต้องใช้ซีพียูที่มีความเร็ว ในการประมวลผลด้วย ตัวโปรแกรมต้องใช้พื้นที่ฮาร์ดดิสก์ประมาณ 40 MB มีรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) เป็นภาพกราฟิก ทา ให้ง่าย และสะดวกต่อการใช้งานยิ่งขึ้น (Friendly User Interface)
  • 16. วินโดวส์ 95 ติดต่อกับผู้ใช้โดยใช้ภาพกราฟิก การใช้งานควบคุมโปรแกรม โดยใช้เมาส์เป็นส่วนใหญ่ ผู้ใช้ไม่ต้องจา คา สั่ง สะดวกต่อการใช้งานมาก นอกจากนั้นยังมี DOS Prompt ให้สามารถใช้คา สั่ง ที่จา เป็นของดอสในวินโดวส์ 95 ได้อีกด้วย ความสามารถของวินโดวส์ 95 คือเตรียมโปรแกรม สา หรับการควบคุม การเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก ไว้จา นวนมาก สามารถตรวจสอบอุปกรณ์ ที่นา มาเชื่อมต่อใหม่ได้อย่างอัตโนมัติ ทา ให้ผู้ใช้สะดวกอย่างมาก ในการติดตั้งอุปกรณ์ใหม่ เข้ากับคอมพิวเตอร์ การทา งานในลักษณะนี้เรียกว่า Pnp (Plug and Play) 11 ระบบปฏิบัติการ LINUX ลีนุกซ์ระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิต ที่เป็นยูนิกซ์โคลน สา หรับเครื่องพีซี และแจกจ่ายให้ใช้ฟรี สนับสนุนการใช้งานแบบหลากงาน หลายผู้ใช้ (MultiUser-MultiTasking) มีระบบ X วินโดวส์ ซึ่งเป็นระบบการติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก ที่ไม่ขึ้นกับโอเอสหรือฮาร์ดแวร์ใดๆ (มักใช้กันมากในระบบยูนิกซ์) และมาตรฐานการสื่อสาร TCP/IP ที่ใช้เป็นมาตรฐานการสื่อสารในอินเทอร์เนตมาให้ในตัว ลีนุกซ์มีความเข้ากันได้ (compatible) กับ มาตรฐาน POSIX ซึ่งเป็นมาตรฐานอินเทอร์เฟสที่ระบบยูนิกซ์ส่วนใหญ่จะต้องมีและมีรูปแบบบางส่วนที่คล้ายกับระบบปฏิบัติ การยูนิกซ์จากค่าย Berkeley และ System V โดยความหมายทางเทคนิคแล้วลีนุกซ์ เป็นเพียงเคอร์เนล (kernel) ของระบบปฏิบัติการ ซึ่งจะทา หน้าที่ในด้านของการจัดสรรและบริหารโพรเซสงาน การจัดการไฟล์และอุปกรณ์ I/O ต่างๆ แต่ผู้ใช้ทั่วๆไปจะรู้จักลีนุกซ์ผ่านทางแอพพลิเคชั่นและระบบอินเทอร์เฟสที่เขาเหล่านั้นเห็น (เช่น Shell หรือ X วินโดวส์) ถ้าคุณรันลีนุกซ์บนเครื่อง 386 หรือ 486 ของคุณ มันจะเปลี่ยนพีซีของคุณให้กลายเป็นยูนิกซ์เวิร์กเตชันที่มีความสามารถสูง เคยมีผู้เทียบประสิทธิภาพระหว่างลีนุกซ์บนเครื่องเพนเทียม และเครื่องเวิร์กเตชันของซันในระดับกลาง และได้ผลออกมาว่าให้ประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกัน และนอกจากแพลตฟอร์มอินเทลแล้ว ปัจจุบันลีนุกซ์ยังได้ทา การพัฒนาระบบเพื่อให้สามารถใช้งานได้บนแพลตฟอร์มอื่นๆด้วย เช่น DEC Alpha , Motorolla Power-PC , MIPS เมื่อคุณสร้างแอพพลิเคชันขึ้นมาบนแพลตฟอร์มใดแพลตฟอร์มหนึ่งแล้ว คุณก็สามารถย้ายแอพพลิเคชันของคุณไปวิ่งบนแพลตฟอร์มอื่นได้ไม่ยาก ลีนุกซ์มีทีมพัฒนาโปรแกรมที่ต่อเนื่อง ไม่จา กัดจา นวนของอาสาสมัครผู้ร่วมงาน
  • 17. และส่วนใหญ่จะติดต่อกันผ่านทางอินเทอร์เนต เพราะที่อยู่อาศัยจริงๆของแต่ละคนอาจจะอยู่ไกลคนละซีกโลกก็ได้ และมีแผนงานการพัฒนาในระยะยาว ทา ให้เรามั่นใจได้ว่า ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่มีอนาคต และจะยังคงพัฒนาต่อไปได้ตราบนานเท่านาน บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ และเผยแพร่ความรู้ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 1.1โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน ได้แก่ 1) Microsoft Word 2007 2) โปรแกรม Google Chrome 3) Blogger.com 4) G-mail.com 2.ข้นัตอนการดาเนินงาน
  • 18. 2.1 ศึกษาหัวข้อที่ครูประจา วิชาที่มอบหมาย 2.2 ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องที่ ได้หมอบหมาย คือเรื่อง ระบบปฏิบัติการ และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ต่างๆ และจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทา เนื้อหาจากเว็บ Google และ bolgspot.com จากเอกสารและเว็บต่างๆ 2.3 จัดทา เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 2.4 ประเมินผลงานให้ครูประจา วิชาประเมินและให้เพื่อนผู้ที่สนใจร่วมประเมิน 13 ขั้นตอนการสร้าง Blogger การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ นี้ผู้จัดทา ได้มีผลการดา เนินงาน ดังนี้ การสร้างบัญชี 1.ให้เข้าไปที่ www.gmail.com เพื่อเข้าไปสมัครใช้งาน Gmail นั่นเอง 2.ให้สังเกตด้านบนสุดขวามือของเว็บไซต์จะแสดงสี่เหลี่ยมสีแดงที่ เขียนว่า สร้างบัญชี อยู่ให้คลิกไปที่สี่เหลี่ยมสีแดงที่เขียนว่า สร้างบัญชีได้ทันที
  • 19. 3.หน้าต่อไปจะเห็นด้านขวามือนั้นมีช่องสี่เหลี่ยมสีขาวให้กรอกข้อมูลเยอะแยะไปหมดเลยมาเริ่มจา กด้านบนก่อน ดังนี้ 14 กรอกชื่อ และ นามสกุล ของเราลงไปจริงๆ ไม่จา เป็นจะต้องกรอกชื่อ หรือ นามสกุล ของคุณจริงก็ได้สามารถใช้ชื่อที่ตั้งเอาเองก็ได้ในส่วนนี้แต่ชื่อที่ใช้นั้น ต้องเป็นคนละชื่อกับที่เราจะตั้งเป็นชื่อ Gmail ของเรา
  • 20. เลือกชื่อผู้ใช้ ให้ตั้งชื่อที่เราต้องการใช้เป็นชื่ออีเมล์แอดเดรส เช่น xxx@gmail.com นั่นเอง เพราะเป็นชื่อที่จะต้องใช้เข้าสู่ระบบ Gmail ทุกครั้ง สร้างรหัสผ่าน และ ยืนยันรหัสผ่าน ในช่องนี้ให้ตั้งรหัสผ่าน ด้วยตัวเลข หรือ ตัวอักษรก็ได้ซึ่งต้องมีความยาวไม่ต่า กว่า 8 อักขระ และควรเป็นรหัสผ่านที่จา ได้ด้วยไม่เช่นนั้นถ้าลืมขึ้นมาแล้วอาจจะเข้าใช้งานอีเมล์ของไม่ได้ วัน เดือน ปี ในส่วนนี้ให้กรอก วัน เดือน ปี เกิดให้ถูกต้อง ข้นัตอนต่อไป คือ การระบุเพศของคุณ ชาย หญิง 15 ที่อยู่อีเมล์ปัจจุบันของคุณ ในส่วนนี้ถ้ามีที่อยู่อีเมล์อื่นอยู่แล้วค่อยกรอกแต่ถ้าไม่มีก็ไม่จา เป็นที่จะต้องกรอกปล่อยเว้นว่างเอาไว้ก็ได้
  • 21. พิสูจน์ว่าคุณไม่ได้เป็นหุ่นยนต์ แค่กรอกเลข หรือ ตัวอักษรตามรูปภาพที่ขึ้นอยู่ในช่องสี่เหลี่ยมสีขาวด้านล่างให้ถูกต้องก็พิสูจน์ได้ว่าคุณไม่ใช่หุ่นยนต์แล้ว ตาแหน่งที่อยู่ ให้คุณเลือกเป็น ประเทศ ไทย หลังจากนั้นจะมีช่องสี่เหลี่ยมสีขาวให้คุณเลือกติ๊กเครื่องหมายถูกคุณจะติ๊กเฉพาะอันบน หรือ เลือกติ๊กอันล่างด้วยก็ได้ในส่วนนี้ 16
  • 22. เพียงเท่านี้คุณก็สามารถสมัครใช้งาน Gmail ได้เรียบร้อย และ ขั้นตอนต่อไปนั่นคือการเลือกรูปใส่ประจา โปรไฟล์ Gmail ของคุณก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยสมัคร Gmailง่ายๆ เพียงไม่กี่นาทีคุณก็มี Gmail เป็นของตัวเองแล้วคุณสามารถที่จะรับส่งจดหมายผ่านทาง Gmail เพื่อติดต่อกับเพื่อน หรือ ติดต่องานได้ อย่างสะดวกสบายสุดๆ ที่สา คัญ Gmail นั้นยังมีรูปแบบในการใช้งานที่ง่ายอีกด้วย การสร้างบล็อก เมื่อต้องการเริ่มเขียนบล็อกด้วยบล็อกเกอร์ ให้ไปที่ หน้าแรกบล็อกเกอร์ ใส่ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านของคุณ จากนั้นคลิกลงชื่อเข้าใช้ ป้อนชื่อที่แสดง และยอมรับข้อกา หนดในการให้บริการของบล็อกเกอร์ จากนั้นคลิกที่ลิงก์ สร้างบล็อก แล้วเริ่มต้นได้เลย! เลือกที่อยู่ (URL) และชื่อบล็อก จากนั้นเลือกเทมเพลตบล็อกที่คุณชอบ (นี่คือลักษณะหน้าตาของบล็อกเมื่อคุณเผยแพร่) จากนั้นก็เริ่มใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพิ่มข้อมูลในโปรไฟล์ส่วนบุคคลของคุณ และปรับแต่งลักษณะของบล็อก บทที่ 4
  • 23. ผลการดาเนินงาน ในการศึกษาโครงงานครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสา รวจเพื่อศึกษา “ความพอใจในการเผยแพร่ความรู้บทความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System” ซึ่งประกอบด้วย 1. วิชา ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น (2204-2002) 2. วิชา โปรแกรมประมวลผลคา (2204-2108) 3. วิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ (2001-2001) รวม 3 รายวิชาดังกล่าว โดยการบูรณาการร่วมกัน เป็นการนา เสนอผลการทา โครงงานคอมพิวเตอร์ ผลการประเมินได้จากการเก็บข้อมูลกลุ่มนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพห้อง พณ. 1/12 ผู้จัดทา ขอนา เสนอผลงาน รวม Blogspot ทุกชั้นเรียน ระดับ ปวช. แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของครู ธิดารัตน์ พลพันธ์ สิงห์ http://kvcthidarat.blogspot.com/ ซึ่งรวมทุก Blogspot ในระดับชั้น ปวช. 1 แผนกสาขาคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทา Blogspot เพื่อเผยแพร่ ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) http://gu-lockza55.blogspot.com/ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยจา แนกรายละเอียด ตามวิธีการศึกษาข้อมูลดังนี้ Blogspot ของครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ รวมทุก Blogspot ของนักเรียน ระดับ ปวช. 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 18
  • 24. Blogspot http://gu-lockza55.blogspot.com/ ซึ่งเป็นของคณะผู้จัดทา ได้ทา บทความความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) และใน Blogspot ได้นา เอาโครงงาน บทความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) ลงในบทความ โดยการแปลง File จาก โปรแกรม Microsoft Word เป็น Pdf file เพื่อ Upload ลงใน Website: slideshare.net 19
  • 25. ผลการประเมินประสิทธิภาพ ผลการประเมินประสิทธิภาพของ การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) แสดงค่าคะแนนเฉลี่ย ( x ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าระดับประสิทธิภาพของกลุ่มตัวอย่างของผู้ใช้งานจา นวน 34 มีดังต่อไปนี้ ตารางที่1 แบบประเมินเพื่อหาการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) รายการประเมิน x S.D. ความหมาย 1.ความชัดเจนของข้อความที่แสดงบนจอภาพ 4.21 0.419 ดี 2.ความเหมาะสมของการใช้สีตัวอักษรพื้นหลังและรูปภาพ 4.05 0.524 ดี 3.ความเหมาะสมของตา แหน่งการจัดวางส่วนต่างๆบนจอภาพ 3.95 0.405 ดี 4.คา สั่งบนหน้าจอใช้สื่อสารกับผู้ใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ 3.67 0.820 ดี 5.การใช้งานง่าย 4.20 0.419 ดี 6.ความเหมาะสมของปริมาณข้อมูลที่นาเสนอในแต่ละจอภาพ 3.40 0.513 พอใช้ รวมเฉลี่ย 3.90 0.353 ดี จากตาราง แบบประเมินเพื่อหาการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดี ( x = 3.90)
  • 26. บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) นี้ สรุปผลการดา เนินและข้อเสนอแนะได้ ดังนี้ 1.สรุปผลการดาเนินงานของระบบปฏิบัติการ ผู้จัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 เนื้อหาในบทเรียน 1.2 ที่มาและความสา คัญของระบบปฏิบัติการ 1.3 ความหมายของระบบปฏิบัติการ 1.4โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน 2.อุปสรรคในการทาโครงงาน การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) และได้มีการทดลองทา ให้พบปัญหาต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 มีปัญหาในการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เกิดจากอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร 2.2 เครื่องคอมพิวเตอร์มีปัญหาเนื่องจากไวรัสเข้าเครื่องทา ให้งานหายบ่อย 3.ข้อเสนอแนะ 3.1 ควรมีการจัดทา โครงงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะได้เผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อออนไลน์ได้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
  • 27. บรรณานุกรม 1. ความหมายของระบบปฏิบัติการ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/operatingsystemeng1/khwam-hmay-khxng-rabb-ptibati-kar [วันที่สืบค้น: 2 กันยายน 2557] 2.ระบบปฏิบัติการ DOS [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://beerkung.wordpress.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E 0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B 8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9 A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2- 2/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E 0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B 8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9 5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2/ [วันที่สืบค้น: 2 กันยายน 2557] 3.ระบบปฏิบัติการ Windows [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/hxngreiynxxnlinbykhruniw/rabb-ptibati-kar-windows-1 [วันที่สืบค้น: 3 กันยายน 2557] 4.ระบบปฏิบัติการ Linux [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http://linuxunix54321.tripod.com/Linux01.htm [สืบค้นวันที่: 3 กันยายน 2557]