SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
การเขียนคาสั่งควบคุม
ขั้นพื้นฐาน
สมาชิก
1.นายธนดล วิบูลย์เชื้อ เลขที่ 10
2.น.ส.กุลณัฐ กาฬภักดี เลขที่ 11
3.น.ส.วรันธร ภุมรินทร์ เลขที่13
4.น.ส.รัชชนก นุชยิ้มย่อง เลขที่16
5.น.ส.ณัฐริกานต์ ธรรมโชติ เลขที่33
ชั้นม.5/4
ลักษณะการทางานของภาษาซี
ภาษาซีเป็นภาษาที่มีการพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ภาษาซีรุ่นแรกทางานภายใต้
ระบบปฏิบัติการคอส (cos) ปัจจุบันทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์
(Windows) ภาษาซีใช้วิธีแปลรหัสคาสั่งให้เป็นเลขฐานสอง เรียกว่าคอมไพเลอร์
การศึกษาภูมิหลังการเป็นมาของภาษาซีและกระบวนการแปลภาษาจะช่วยให้ผู้ใช้ภาษาซีใน
รุ่นและบริษัทผู้ผลิตแตกต่างกัน สามารถใช้ภาษาได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
การทางานของคอมไพเลอร์ภาษาซี
คอมไพเลอร์เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อแปลภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
มักใช้กับโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ลักษณะการแปลจะอ่านรหัสคาสั่งทั้งโปรแกรมตั้งแต่
บรรทัดคาสั่งแรกถึงบรรทัดสุดท้าย หากมีข้อผิดพลาดจะรายงานทุกตาแหน่งคาสั่งที่ใช้
ผิดกฎไวยากรณ์ของภาษา กระบวนการคอมไพเลอร์โปรแกรมคาสั่งของภาษาซี มีดังนี้
1.จัดทาโปรแกรมต้นฉบับ (Source Program) หลังจากพิมพ์คาสั่งงาน ตาม
โครงสร้างภาษาที่สมบูรณ์แล้วทุกส่วนประกอบ ให้บันทึกโดยกาหนดชนิดงานเป็น .c
เช่น work.c
2.การแปลรหัสคาสั่งเป็นภาษาเครื่อง (Compile) หรือการบิวด์ (Build) เครื่อง
จะตรวจสอบคาสั่งทีละคาสั่ง เพื่อวิเคราะห์ว่าใช้งานได้ถูกต้องตามรูปแบบไวยากรณ์ที่
ภาษาซีกาหนดไว้หรือหากมีข้อผิดพลาดจะแจ้งให้ทราบ หากไม่มีข้อผิดพลาดจะไป
กระบวนการ3
3.การเชื่อมโยงโปรแกรม (Link) ภาษาซีมีฟังก์ชันมาตรฐานให้ใช้งาน เช่น
printf() ซึ่งจัดเก็บไว้ในเฮดเดอร์ไพล์ หรือเรียกว่า ไลบรารี ในตาแหน่งที่กาหนด
ชื่อแตกต่างกันไป ผู้ใช้ต้องศึกษาและเรียกใช้เฮดเดอร์ไฟล์กับฟังก์ชันให้สัมพันธ์เรียกว่า
เชื่อมโยงกับไลบรารี กระบวนการนี้ได้ผลลัพธ์เป็นไฟล์ชนิด .exe
ส่วนประกอบในโครงสร้างภาษาซี
การเขียนโปรแกรมไม่ว่าจะเป็นภาษาใดก็ตาม ก็จะมีโครงสร้างของตัวภาษาอยู่ภาษาซีก็
เช่นเดียวกัน โดยส่วนใหญ่ประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลักๆ คือ ส่วนหัว(Header)
ส่วนประกาศตัวแปร(Declaration) และส่วนคาสั่ง(Body)
ส่วนที่ 1 ส่วนหัว (header)
ส่วนหัวเป็นส่วนที่ระบุซีคอมไพเลอร์เตรียมการทางานที่กาหนดในส่วนนี้ไว้โดย
หน้าคาสั่งจะมีเครื่องหมาย # ตัวอย่าง
# include <stdio.h>
หมายถึง เป็นการระบุให้นาไฟล์ stdio.h มารวมกับไฟล์นี้ เพื่อที่จะสามารถ
ใช้คาสั่งที่อยู่ในไฟล์นี้มาใช้งานได้
# define START 0
หมายถึง เป็นการกาหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปร START โดยให้มีค่าเป็น 0
# define temp 37
หมายถึง เป็นการกาหนดให้ตัวแปร temp มีค่าเท่ากับ 37
ส่วนที่ 2 ประกาศตัวแปร (Declaration)
ส่วนประกาศตัวแปร เป็นการกาหนดชนิดข้อมูลที่จะใช้ในโปรแกรม ซึ่งตัวแปร
หรือข้อมูลต่างๆนั้นจะถูกประกาศ(Declare) ในส่วนนี้ก่อน จึงจะสามารถนาไปใช้ใน
โปรแกรมได้ดังตัวอย่าง
int stdno;
หมายถึง เป็นตัวกาหนดว่าตัวแปร stdno เป็นชนิดข้อมูลจานวนเต็ม
integer ซึ่งอาจได้แก่ค่า 0,4,-1,-3,...เป็นต้น
float score;
หมายถึง เป็นการกาหนดว่าตัวแปร score เป็นข้อมูลชนิดเลขมีจุดทศนิยม
(floating point) ซึ่งอาจมีค่า 0.23, 1.34, -21.002,….เป็นต้น
ส่วนที่ 3 ส่วนตัวคาสั่ง (Boddy)
ส่วนตัวคาสั่ง คือส่วนของโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยฟังก์ชัน main ()
แล้วใส่เครื่องหมายกาหนดขอบเขตเริ่มต้นของตัวโปรแกรมคือ { หลังจากนั้นใส่คาสั่งหรือ
ฟังก์ชันต่างๆโดยแต่ล่ะคาสั่งหรือฟังก์ชันนั้นๆ จะต้องปิดด้วยเครื่องหมาย ; เมื่อต้องการ
จบโปรแกรมให้ใส่เครื่องหมาย } ดังตัวอย่าง
main ()
{ /*เริ่มต้นโปรแกรม*/
คาสั่งต่างๆ ;
ฟังก์ชั่น ;
....................
.....................
}/*จบโปรแกรม*/
คาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจา
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาคอมพิวเตอร์ ภาษากาหนดให้ดาเนินการผ่านที่
ผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้กาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บชื่อและตาแหน่งซื่อ
identifier ที่อยู่ (Address) ในหน่วยความจา เพื่ออ้างอิงนาข้อมูลที่จัดเก็บนั้น
มาใช้งาน การกาหนดชื่อที่ใช้เก็บข้อมูลต้องทาภายใต้กฎเกณฑ์ และต้องศึกษาวิธีกาหนด
ลักษณะ
การจัดเก็บข้อมูลตามที่ภาษากาหนดไว้ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ แบบค่าคงที่
และแบบตัวแปร
ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคาสั่งกาหนดการจัดเก็บข้อมูล ควรมีความรู้ในเรื่องชนิดข้อมูลก่อน
1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาทั้งแบค่าคงที่หรือแบบตัวแปร ต้องกาหนดชนิดข้อมูล
ให้ระบบรับทราบ
ในที่นี้กล่าวถึงชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน 3 กลุ่มหลักเท่านั้น
2 คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่าคงที่
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาไม่สามารถเปลี่ยนแปลง
ได้
3 คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบตัวแปร
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาสามารถเปลี่ยนแปลง
ได้
หมายเหตุ หากมีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว แต่เป็นตัวแปรเก็บข้อมูลประเภทเดียว ใช้
คอมม่า (,) คั่น
4.คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นฐาน
คาสั่งที่ใช้ควบคุมการทางานขั้นพื้นฐานมี 3 กลุ่มคือ คาสั่งรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์แล้ว
นาไปจัดเก็บหน่ายความจา (input ) การเขียนสมการคานวณโดยใช้นิพจน์ทาง
คณิตศาสตร์(Process) และคาสั่งแสดงผลข้อมูล หรือข้อมูลที่จัดเก็บในหน่วยความจา
(Qutput )
4.1 คาสั่งแสดงผล : printf ( )
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ใช้แสดงผล สิ่งต่อไปนี้ เช่น ข้อความ ข้อมูลจากค่าคงที่ หรือตัวแปร
ที่จอภาพ
รูปแบบ 1 Printf (“ string_format” , data_list ) ;
รูปแบบ 2 Printf (“string_format” ) ;
อธิบาย string_format คือลักษณะของสิ่งต่อไปนี้ เช่น ข้อความ (text ) รหัส
รูปแบบข้อมูล เช่น %d รหัสควบคุม เช่น n
4.2 คาสั่งรับข้อมูล : รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ แล้วจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร
รูปแบบ Scanf ( “ string_format” , & address_list ) ;
อธิบาย string_format คือรูปแบบการแสดงผลของข้อมูลเท่านั้น เช่น %d
Address_list คือการระบุตาแหน่งที่อยู่ในหน่วยความจาต้องใช้สัญลักษณ์
&(Ampersand) นาหน้าชื่อตัวแปรเสมอ
4.3 คาสั่งประมวลผล : expression
ประสิทธิภาพคาสั่ง : เขียนคาสั่งแบบนิพจน์เพื่อประมวลผล แล้วนาข้อมูลที่ได้ไปจัดเก็บ
ในหน่วยความจาของตัวแปรที่ต้องกาหนดชื่อและชนิดข้อมูลไว้แล้ว
รูปแบบ Var = expression ;
อธิบาย var คือชื่อหน่วยความจาชนิดตัวแปร
5.คาสั่งเเสดงผล-รับข้อมูล เฉพาะอักขระ
ภาษาซีมีคาสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพาะข้อมูลประเภท 4 อักขระ (char) ดังนี้
5.1 คาสั่ง putchar ( )
ในการแสดงผลตัวอักษรหรืออักขระ ( char ) ออกทางหน้าจอ นอกจากใช้คาสั่ง
printf พร้อมกับกาหนดรหัสควบคุมรูปแบบ %c แล้ว เราสามารถเรียกใช้คาสั่งสาหรับ
แสดงตัวอักษรหรืออักขระโดยเฉพาะได้อีกด้วย โดยคาสั่งนั้นคือ คาสั่ง putchar() ซึ่ง
มีรูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง ดังแสดงต่อไปนี้
putchar(ch); ch : ตัวอักษรหรืออักขระเขียนอยู่ภายในเครื่องหมาย ‘c' หรือตัว
แปรชนิด char
5.2 คาสั่ง getchar ( )
เป็นคาสั่งที่รับข้อมูลชนิดอักขระจากผู้ใช้เพียงตัวเดียวโดยเมือป้อนข้อมูลแล้วต้องกด
Enter มีรูปแบบคาสั่งคือ
ch = getchar();ch คือ ตัวแปรชนิดอักขระที่นาค่าที่รับมาเก็บไว้
5.3 คาสั่ง getch ( )
เป็นคาสั่งที่รับข้อมูลชนิดอักขระเพียงตัวเดียวโดยเมื่อป้อนข้อมูลจะไม่แสดงอักขระที่
ป้อนให้เห็นทางจองภาพ ที่สาคัญ getch(); จะต้องใช้พรีโปรเซสเซอร์ไดเรคทีฟชื่อ
ว่า conio.h มีรูปแบบการใช้คาสั่งคือ
ch = getch();ch คือ ตัวแปรชนิดอักขระที่นาค่าที่นับมาเก็บไว้
5.4 คาสั่ง getche( )
จะรับตัวอักษร 1 ตัวที่ป้อนทางแป้นพิมพ์ และจะแสดงตัวอักษรบนจอภาพ เมื่อป้อน
ข้อมูลเสร็จไม่ต้องกด Enter และเคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่
ch = getche(); ch คือ ตัวแปรชนิดอักขระที่นาค่าที่นับมาเก็บไว้
6.คาสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพาะข้อความ
ภาษาซีมีคาสั่งใช้ในการรับข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความ (String) ในภาษาซี
คือชนิดข้อมูล char [n] จัดเก็บในหน่วยความจา และแสดงผลข้อมูลประเภทข้อความ
เท่านั้น มีรายละเอียดดังนี้
6.1.คาสั่ง puts( )
แสดงผลข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความทางจอภาพครั้งละ 1 ข้อความ
7.2คาสั่ง gets ( )
รับข้อมูล ข้อความ จากแป้นพิมพ์และต้องกดแป้น Enter
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1.เขียนคาสั่งให้รับข้อมูล ชนิดข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้อง กดแป้น Enter เพื่อนา
ข้อความบันทึกลงตัวแปรชนิดข้อความ ด้วยคาสั่ง gets (word) ;
2.เขียนคาสั่งควบคุมให้แสดงผลลักษณะข้อความด้วย
printf ( “You name is = %sn”, word ) ;
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน

More Related Content

What's hot

การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)N'Name Phuthiphong
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2Tay Atcharawan
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรKomkai Pawuttanon
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Windows
ส่วนประกอบของโปรแกรม Windowsส่วนประกอบของโปรแกรม Windows
ส่วนประกอบของโปรแกรม WindowsTudcha Siangjindarat
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีmycomc55
 

What's hot (19)

การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Windows
ส่วนประกอบของโปรแกรม Windowsส่วนประกอบของโปรแกรม Windows
ส่วนประกอบของโปรแกรม Windows
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
53011220072
5301122007253011220072
53011220072
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
SQL By Sayuri
SQL By Sayuri SQL By Sayuri
SQL By Sayuri
 

Viewers also liked

Creatividad y Nuevas Herramientas Social Media para Periodistas.
Creatividad y Nuevas Herramientas Social Media para Periodistas.Creatividad y Nuevas Herramientas Social Media para Periodistas.
Creatividad y Nuevas Herramientas Social Media para Periodistas.Verónica Alejandra Mosti
 
Enhancing Social Media Skills
Enhancing Social Media SkillsEnhancing Social Media Skills
Enhancing Social Media Skillsarifuddinmoh
 
Poliomyelitis vaccine presentation
Poliomyelitis vaccine presentationPoliomyelitis vaccine presentation
Poliomyelitis vaccine presentationreidunsquires
 
Liikuntaa tunti päivässä.
Liikuntaa tunti päivässä.Liikuntaa tunti päivässä.
Liikuntaa tunti päivässä.Mikko Sävilahti
 
Diego loaiza manejo de word (1)
Diego loaiza manejo de word (1)Diego loaiza manejo de word (1)
Diego loaiza manejo de word (1)1984bulldog
 
Must do things for marketing
Must do things for marketingMust do things for marketing
Must do things for marketingSantiago Agdeppa
 
Anthro raunds & sepia smiles 20140608
Anthro raunds & sepia smiles 20140608Anthro raunds & sepia smiles 20140608
Anthro raunds & sepia smiles 20140608Lance Jones
 
Acton Accounting and Bookkeeping
Acton Accounting and BookkeepingActon Accounting and Bookkeeping
Acton Accounting and BookkeepingMarguax Campel
 

Viewers also liked (11)

Creatividad y Nuevas Herramientas Social Media para Periodistas.
Creatividad y Nuevas Herramientas Social Media para Periodistas.Creatividad y Nuevas Herramientas Social Media para Periodistas.
Creatividad y Nuevas Herramientas Social Media para Periodistas.
 
Enhancing Social Media Skills
Enhancing Social Media SkillsEnhancing Social Media Skills
Enhancing Social Media Skills
 
Symfonia
SymfoniaSymfonia
Symfonia
 
Poliomyelitis vaccine presentation
Poliomyelitis vaccine presentationPoliomyelitis vaccine presentation
Poliomyelitis vaccine presentation
 
Liikuntaa tunti päivässä.
Liikuntaa tunti päivässä.Liikuntaa tunti päivässä.
Liikuntaa tunti päivässä.
 
Ict english
Ict englishIct english
Ict english
 
Diego loaiza manejo de word (1)
Diego loaiza manejo de word (1)Diego loaiza manejo de word (1)
Diego loaiza manejo de word (1)
 
Regulamin 121212
Regulamin 121212Regulamin 121212
Regulamin 121212
 
Must do things for marketing
Must do things for marketingMust do things for marketing
Must do things for marketing
 
Anthro raunds & sepia smiles 20140608
Anthro raunds & sepia smiles 20140608Anthro raunds & sepia smiles 20140608
Anthro raunds & sepia smiles 20140608
 
Acton Accounting and Bookkeeping
Acton Accounting and BookkeepingActon Accounting and Bookkeeping
Acton Accounting and Bookkeeping
 

Similar to การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานKEk YourJust'one
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานJa Phenpitcha
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBoOm mm
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานNoTe Tumrong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1HamHam' Kc
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานPitchaya Jitbowornwong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 

Similar to การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน (20)

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Pbl 2
Pbl 2Pbl 2
Pbl 2
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 

การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน