SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
การเขียนคำาสั่งควบคุมขั้นพื้น
ฐาน
                       นาย พิธิวัต ศรี
                   มานพ ม.6/1        
 เลขที่ 11
                 นาย นขรินทร์ อัตถ
         จรรยากุล ม.6/1          เลขที่
15
                     นาย พรปฐม รวมสุข
                      ม.6/1        
 เลขที่ 17
               นางสาว มานิดา ครุธนาค
                   ม.6/1          เลขที่
26
         นางสาว กนกกาญจน์ กองจันทร์
• 1.ลักษณะการทำางานของภาษาซี
• ลักษณะการทำางานของภาษาซี
•  ภาษาซีเป็นภาษาที่มีการพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง
ภาษาซีรุ่นแรกทำางานภายใต้ระบบปฏิบัติการคอส
(cos)  ปัจจุบันทำางานภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์
(Windows)  ภาษาซีใช้วิธีแปลรหัสคำาสั่งให้เป็นเลข
   ฐานสองเรียกว่า คอมไพเลอร์ การศึกษาภูมิหลังการ
เป็นมาของภาษาซีและกระบวนการแปลภาษาจะช่วย
 ให้ผู้ใช้ภาษาซีในรุ่นและบริษัทผู้ผลิตแตกต่างกัน
สามารถใช้ภาษาได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
• 1.1.ความเป็นมาของภาษาซี
• ภาษาซีได้รับการพัฒนาเมื่อปี ค.ศ.1972  โดยนายเดน
   นิส ริตซี่ ตั้งชื่อว่าซีเพราะพัฒนามาจากภาษา BCLP
และภาษา B ในช่วงแรกใช้ทดลองเขียนคำาสั่งควบคุมใน
ห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratoorics) เท่านั้น เมื่อปี
ค.ศ.1978    นายไบรอัน เคอร์นิกฮัน และ นายเดนนิส
 ริตซี่ ร่วมกันกำาหนดนิยามรายละเอียดของภาษาซี เผย
แพร่ความรู้โดยจัดทำาหนังสือ The C Programming
Language มีหลายบริษัท ให้ความสนใจนำาไปพัฒนาต่อ
จนมีภาษาซีหลายรูปแบบและแพร่หลายไปทั่วโลก แต่ยัง
ไม่มีมาตรฐานคำาสั่งเพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ ดัง
นั้นเมื่อปี ค.ศ.1988 นายริตซี่ ได้ร่วมกับสถาบันกำาหนด
มาตรฐาน ANSI สร้างมาตรฐานภาษาซีขึ้นมามีผลให้
โปรแกรมคำาสั่งที่สร้างด้วยภาษาซีสังกัดบริษัทใดๆก็ตาม
ที่ใช้คำาสั่งมาตรฐานของภาษาสามารถนำามาทำางานร่วม
กันได้
• 1.2การทำางานของตอมไพเลอร์ภาษาซี
• คอมไพเลอร์เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อ
แปลลภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่งมักใช้กับโปรแกรม
 เชิงโครงสร้าง ลักษณะการแปลจะอ่านรหัสคำาสั่งทั้ง
 โปรแกรมตั้งแต่บรรทัดคำาสั่งแรกถึงบรรทัดสุดท้าย
หากมีข้อผิดพลาดจะรายงานทุกตำาแหน่งคำาสั่งที่ใช้ผิด
 กฎไวยากรณ์ของภาษา กระบวนการคอมไพเลอร์
โปรแกรมคำาสั่งของภาษาซี มีดังนี้
• 1.จัดทำาโปรแกรมต้นฉบับ (Source Program)
 หลังจากพิมคำาสั่งงาน ตามโครงสร้างภาษาที่
สมบูรณ์แล้วทุกส่วนประกอบ ให้บันทึกโดย
กำาหนดชนิดงานเป็น .c    เช่น work.c
• 2.การแปลรหัสคำาสั่งเป็นภาษาเครื่อง (Compile) หรือ
การบิวด์ (Build)  เครื่องจะตรวจสอบคำาสั่งทีละคำาสั่ง
เพื่อวิเคราะห์ว่าใช้งานได้ถูกต้องตามรูปแบบไวยากรณ์
ที่ภาษาซีกำาหนดไว้หรือหากมีข้อผิดพลาดจะแจ้งให้
 ทราบ หากไม่มีข้อผิดพลาดจะไปกระบวนการ3
• 3.การเชื่อมโยงโปรแกรม (Link) ภาษาซีมีฟังก์ชัน
มาตรฐานให้ใช้งาน เช่น printf() ซึ่งจัดเก็บไว้ใน
   เฮดเดอร์ไพล์ หรือเรียกว่า ไลบรารี ในตำาแหน่งที่
กำาหนดชื่อแตกต่างกันไป ผู้ใช้ต้องศึกษาและเรียกใช้
เฮดเดอร์ไฟล์กับฟังก์ชันให้สัมพันธ์เรียกว่าเชื่อมโยงกับ
ไลบรารี กระบวนการนี้ได้ผลลัพธ์เป็นไฟล์ชนิด .exe
• 2.ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
• สำาหรับโครงสร้างของภาษาซีในเบื้องต้นนี้จะกล่าวถึง
เฉพาะรายละเอียดที่นำาไปใช้ในการเขียนคำาสั่งควบคุม
 ระดับพื้นฐาน ผู้สร้างงานโปรแกรมจะใช้งานส่วน
ประกอบในภาษาซีเพียง2ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วน
 ฟังก์ชันหลัก ดังนี้
•   2.1ส่วนหัวของโปรแกรม(Header File)
•  หรือเรียกว่าฟรีโปรเซสเซอร์ไดเรกที ใช้ระบุชื่อเฮดเด
 อร์ ควบคุมการทำางานของฟังก์ชันมาตรฐานที่ถูกเรียก
ใช้งานในส่วน main( ) เฮดเดอร์ไฟล์มีชนิดเป็น h.
 จัดเก็บในไลบรารีฟังก์ชัน ผู้เขียนคำาสั่งต้องศึกษาว่า
 ฟังก์ชันที่ใช้งานอยู่นั้นอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์ชื่ออะไร จึง
จะเรียกใช้งานได้ถูกต้อง
• 2.2 ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function)
• เป็นส่วนเขียนคำาสั่งควบคุมการทำางานภายในขอบเขต
เครื่องหมาย{ }ของฟังก์ชันหลักคือ main( ) ต้องเขียน
คำาสั่งตามลำาดับขั้นตอนจากกระบวนการวิเคราะห์ระบบ
งานเบื้องต้นและขั้นวางแผนลำาดับการทำางานที่ได้จัด
ทำาไว้ล่วงหน้า เช่น ลำาดับการทำางานด้วยแผนผัง
โปรแกรมเพื่อลดข้อผิดพลาดในขั้นตอนลำาดับคำาสั่ง
ควบคุมงาน ในส่วนนี้พึงระมัดระวังเรื่องเดียวคือต้องใช้
งานคำาสั่งตามรูปแบบไวยากรณ์ของภาษาซีที่กำาหนด
ไว้
• 2.3การพิมพ์คำาสั่งควบคุมงานในโครงสร้างภาษาซี
• คำาแนะนำาในการพิมพ์คำาสั่งงาน ซึ่งภาษาซีเรียกว่า
ฟังก์ชัน (ต่อไปนี้จะเรียกว่า คำาสั่งตามที่นิยมทั่วไป) ใน
ส่วนประกอบภายในโครงสร้างภาษาซีมีแนวทางปฏิบัติ
ดังนี้
• 1.คำาสั่งที่ใช้ควบคุมการประมวลผมตามลำาดับที่
วิเคราะห์ไว้ ต้องเขียนภายในเครื่องหมาย { } ที่อยู่ภาย
ใต้การควบคุมงานของฟังก์ชันหลักชื่อ main {}
• 2.ปกติคำาสั่งควบคุมงานเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก ยกเว้น
บางคำาสั่งที่ภาษากำาหนดว่าต้องเป็นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่
ต้องปฏิบัติตามนั้น เพราะภาษาซีมีความแตกต่างเรื่อง
ตัวอักษร
• 3.เมื่อสิ้นสุดคำาสั่งงาน ต้องพิมพ์โคลอน(:)
• 4.ใน 1 บรรทัดพิมพ์ได้มากกว่า1 คำาสั่ง แต่นิยม
บรรทัดละ 1 คำาสั่ง เพราะว่าอ่านโปรแกรมง่ายเมื่อมีข้อ
ผิดพลาด ย่อมตรวจสอบและค้นหาเพื่อแก้ไขได้เร็ว
• 5.การพิมพ์คำาสั่ง หากมีส่วนย่อยนิมยมเคาะเยื้องเข้าไป
เพื่ออ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อมีข้อผิดพลาดย่อม
ตรวจสอบและแก้ไขได้รวดเร็ว
• 3. คำาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจำา
• การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจำาคอมพิวเตอร์ ภาษา
กำาหนดให้ดำาเนินการผ่านซื้อ (identifier) ที่ผู้สร้าง
งานโปรแกรมเป็นผู้กำาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัด
เก็บชื่อและตำาแหน่งที่อยู่ (address) ในหน่วยความจำา
เพื่ออ้างอิงนำาข้อมูลที่จัดเก็บนั้นมาใช้งาน การกำาหนด
ชื่อที่ใช้เก็บข้อมูลต้องทำาภายใต้กฎเกณฑ์ และต้อง
ศึกษาวิธีกำาหนดลักษณะการจัดเก็บข้อมูลที่ภาษา
กำาหนดไว้ ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ แบบ
ค่าคงที่และแบบตัวแปร ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคำาสั่ง
กำาหนดการจัดเก็บข้อมูล ควรมีความรู้ในเรื่องชนิด
ข้อมูลก่อน
• 3.1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจำาทั้งแบบค่าคงที่หรือ
แบบตัวแปร ต้องกำาหนดชนิดข้อมูลให้ระบบรับทราบ
ในที่นี้กล่าวถึงชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน 3 กลุ่มหลัก
เท่านั้น
• 3.2 คำาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่าคงที่
• ประสิทธิภาพคำาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วย
ความจำาไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
• 4.คำำสั่งควบคุมกำรทำำงำนขั้นพื้นฐำน
•  คำำสั่งที่ใช้ควบคุมกำรทำำงำนขั้นพื้นฐำน มี3 กลุ่ม
 ใหญ่คือ คำำสั่งรับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์แล้ว นำำไปจัด
เก็บหน่วยควำมจำำ (input) กำรเขียนสมกำรคำำนวณ
โดยใช้นิพจน์ทำงคณิตศำสตร์ (process)  และคำำสั่ง
 แสดงผลข้อมูล หรือข้อมูลที่จัดเก็บในหน่วยควำมจำำ
(output)
• 4.1 คำำสั่งแสดงผล printf ( )
•  ประสิทธิภำพคำำสั่ง :   ใช้แสดงผลสิ่งต่อไปนี้เช่น
 ข้อควำม ข้อมูลจำกค่ำคงที่ หรือตัวแปลที่จอภำพ
• 4.2คำำสั่งรับข้อมูล : รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ แล้วจัด
เก็บลงหน่วยควำมจำำ ของตัวแปล
• 4.3คำำสั่งประมวลผล : expreeion
• ประสิทธิภำพคำำสั่ง  : เขียนคำำสั่งแบบนิพจน์
 เพื่อประมวลผล แล้วนำำข้อมูลทีได้ไปจัดเก็บ ใน
หน่วยควำมจำำของตัวแปล ที่ต้องกำำหนดชื่อและ
ชนิดข้อมูลไว้แล้ว
• แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมในกำรทำำงำน
•  ส่วนป้อนข้อมูล ผู้ใช้ระบบงำนป้อนค่ำ 2  เก็บใน
หน่วยควำมจำำ x และป้อนค่ำ 3 เก็บในหน่วยควำมจำำ
y ด้วยคำำสั่ง
• Printf (“data x = “ ) scant (“%&x) :
• Printf (“data  = “ ) scant (“%&y) :
•  
• 2.ส่วนประมวลผล ระบบจำำนำำค่ำไปประมวลผล ตำม
นิพจน์คณิตศำสตร์
• R = 2+3 *2 ; ได้คำำตอบคือ 8
• S= (2+3) *2 ; ได้คำำตอบคือ 10
• T= 2+3 *2-1  ; ได้คำำตอบคือ 7
•  ทั้งนี้คอมพิวเตอร์ประมวลผล โดยยึดหลักควำมสำำคัญ
 ของ เครื่องหมำยทำงคณิตศำสตร์ เช่น คำำนวณ
เครื่องหมำย *  ก่อนเครื่องหมำย +
• ส่วนแสดงผล คำำสั่งควบคุมให้แสดงผลลัพธ์
• Printf (“ r=x+y*2=%dn”,r) :
• Printf (“ r=(x+yX*2=5dn”,s) :
• Printf(“ r=x+y*2-1 =%dn”,t) :
• 5.คำำสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพำะอักขระ
• ภำษำซีมีคำำสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพำะข้อมูล
ประเภท 1 อักขระ (char) ดังนี้
• 5.1 คำำสั่ง putchar ( )    5.2 คำำสั่ง getchar ( )
• 5.3 คำำสั่ง getch ( )       5.4 คำำสั่ง getche ( )
• 5.1  คำำสั่ง putchar ( )
• แสดงข้อมูลจำกหน่อยควำมจำำของตัวแปร ทำงจอภำพ
ครั้งละ1อักขระเท่ำนั้น
• แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน
•   1. ‘กำำหนดค่ำ A’เก็บในตัวแปรประเภท char
ชื้อ word1  ‘และกำำหนดค่ำ 1’  เก็บในตัวแปรชื่อ
word2 ด้วยคำำสั่ง char word1=‘A’ , word2=‘1’
•   2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลทีละ 1
อักขระโดยไม่ต้องใช้สัญลักษณ์ขึ้นบรรทัดใหม่ ด้วย
คำำสั่ง ยputchar(word1);   putchar(word2); จึง
พิมพ์คำำว่ำ A1 ที่จอภำพ
• 5.2 คำำสั่ง getchar ( )
•      รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ และแสดง
อักขระที่จอภำพ จำกนั้นต้องกดแป้นพิมพ์ที่ Enter  เพื่อนำำ
ข้อมูลบันทึกลงหน่วยควำมจำำด้วย
• แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน
•  1.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรป้อนข้อมูลประเภทอักขระ
ด้วยคำำสั่ง
• Printf (“Key 1 Character=”) ;
• Word = getchar ( ) ;
• หมำยถึงป้อนอักขระ 1 ตัว เช่น a จะแสดงค่ำให้เห็นที่หน้ำ
จอด้วย แล้วต้องกดแป้น Enter เพื่อนำำข้อมูลบันทึกลง
หน่วยควำมจำำตัวแปรประเภท char ชื่อ word
•  2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลจำกหน่วยควำม
จำำ wordจึงเห็นค่ำ a (แทนที่word)
• Printf (“You key Character is =%cn”,word) ;
• 5.3 คำำสั่ง getch ( )
• รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ แต่ไม่ปรำกฏอักษรบน
จอภำพและไม่ต้องกดแป้น Enter
•   แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน
•  1.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรป้อนข้อมูลประเภทอักขระ
ด้วยคำำสั่ง
•            printf (“Key 1 Character =” ) ;
• word = getch ( ) ;
• หมำยถึงป้อนค่ำใดทำงแป้นพิมพ์เป็นอักขระ 1 ตัว เช่น a จะไม่
  แสดงค่ำให้เห็นที่หน้ำจอ ไม่ต้องกดแป้ น Enter เพื่อนำำข้อมูล
บันทึกลงหน่วยควำมจำำตัวแปรประเภท char ชื่อ word
• 2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลจำกหน่วยควำมจำำ
word จึงเห็นค่ำ a (แทนที่word)
•      printf (“Key 1 Character =%cn”,word ) ;
• 5.4 คำำสั่ง getche ( )
• รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ และแสดงอักษรบน
จอภำพ และไม่ต้องกดแป้น Enter
• แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน
• 1.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรป้อนข้อมูลประเภทอักขระด้วย
คำำสั่ง
•               printf (“Key 1 Character =” ) ;
• word = getcher ( ) ;
• หมำยถึงกำรป้อนค่ำใดทำงแป้นพิมพ์เป็นอักขระ 1 ตัว เช่น a จะ
แสดงค่ำให้เห็นที่หน้ำจอ และไม่ต้องกดแป้น Enter เพื่อนำำ
ข้อมูลบันทึกลงหน่วยควำมจำำตัวแปรประเภท char ชื่อ word
• 2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลเพื่อแสดงค่ำจำก
หน่วยควำมจำำ word จึงเห็นค่ำ a (แทนที่word)
•                printf (“Key 1 Character =
%cn”,word ) ;
• 6.คำำสั่งแสดงผล-เฉพำะข้อมูล เฉพำะข้อควำม
• ภำษำซีมีคำำสั่งใช้ในดำรรับข้อมมูลเฉพำะประเภท
ข้อควำม (String) ในภำษำซีคือชนิดข้อมูล char[n]
จัดเก็บในหน่วยควำมจำำ และแสดงผลข้อมูลประเภท
ข้อควำมเท่ำนั้น มีรำยละเอียดดังนี้
• 6.1 คำำสั่ง puts() แสดงผลเฉพำะประเภทข้อควำม
ทำงจอภำพครั้งละ 1 ข้อควำม
• แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน
• 1.เขียนคำำสั่งกำำหนดค่ำข้อควำมในตัวแปรชื่อ
word
• Char word [15] = “*Example*”;
• 2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลในลักษณะ
ข้อควำมด้วย puts
• Puts (word) ;
• Puts (“*************”);
•  6.2 คำำสั่ง gets( ) รับข้อมูล ข้อควำมจำกแป้น
พิมพ์และต้องกดแป้น Enter
• รูปแบบ 1ไม่นำำข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยควำมจำำของ
ตัวแปร
• แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำทำำงำน
• 1.เขียนคำำสั่งให้รับข้อมูลนิดข้อควำมจำก
แป้นพิมพ์และต้องกดแป้น Enter เพื่อนนำำ
ข้อควำมบันทึกลงตัวแปรชนิดข้อควำมด้วยคำำสั่ง
gets (word);
• 2.เขียนคำำสั่งควบคุมให้แสดงผลลักษณะ
 ข้อควำมด้วย printf (You name is =

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีNattawut Kathaisong
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมmr.somsak phoolpherm
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำToey Sunisa
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมabhichatdotcom
 

What's hot (6)

บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
รหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo codeรหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo code
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
 

Viewers also liked

Configuracion 1 gm_yazmin_
Configuracion 1 gm_yazmin_Configuracion 1 gm_yazmin_
Configuracion 1 gm_yazmin_Naeicledc
 
140 FA 15 Presidency
140 FA 15 Presidency140 FA 15 Presidency
140 FA 15 Presidencyatrantham
 
Color Business Card (Back)
Color Business Card (Back)Color Business Card (Back)
Color Business Card (Back)Jon Pineiro
 
Jay Tosi Resume Presentation
Jay Tosi Resume PresentationJay Tosi Resume Presentation
Jay Tosi Resume PresentationJay Tosi
 
Introducció a la competència científica
Introducció a la competència científicaIntroducció a la competència científica
Introducció a la competència científicatresorderecursos
 
140 FA 15 Congress
140 FA 15 Congress140 FA 15 Congress
140 FA 15 Congressatrantham
 
Certificate of Project Management
Certificate of Project ManagementCertificate of Project Management
Certificate of Project ManagementUsama Khan
 
Kalite etiketleri
Kalite etiketleriKalite etiketleri
Kalite etiketleriNurcan Ari
 
Educación y nativos digitales brayerlin
Educación  y  nativos  digitales brayerlinEducación  y  nativos  digitales brayerlin
Educación y nativos digitales brayerlinBrayerlin Araujo
 
Vergelijking eenmanszaak 2
Vergelijking eenmanszaak 2Vergelijking eenmanszaak 2
Vergelijking eenmanszaak 2benedictevm
 
formación
 formación formación
formaciónaldrey88
 
CONGESTIÓN
CONGESTIÓNCONGESTIÓN
CONGESTIÓNpinedab
 

Viewers also liked (20)

Islam is for lovers
Islam is for loversIslam is for lovers
Islam is for lovers
 
MohammadHadi Aali resume
MohammadHadi Aali resumeMohammadHadi Aali resume
MohammadHadi Aali resume
 
Configuracion 1 gm_yazmin_
Configuracion 1 gm_yazmin_Configuracion 1 gm_yazmin_
Configuracion 1 gm_yazmin_
 
Asitencia dia cuatro
Asitencia  dia  cuatroAsitencia  dia  cuatro
Asitencia dia cuatro
 
Đánh cắp ý tưởng
Đánh cắp ý tưởngĐánh cắp ý tưởng
Đánh cắp ý tưởng
 
789_F03
789_F03789_F03
789_F03
 
140 FA 15 Presidency
140 FA 15 Presidency140 FA 15 Presidency
140 FA 15 Presidency
 
JR Resume final
JR Resume finalJR Resume final
JR Resume final
 
Color Business Card (Back)
Color Business Card (Back)Color Business Card (Back)
Color Business Card (Back)
 
Jay Tosi Resume Presentation
Jay Tosi Resume PresentationJay Tosi Resume Presentation
Jay Tosi Resume Presentation
 
Introducció a la competència científica
Introducció a la competència científicaIntroducció a la competència científica
Introducció a la competència científica
 
140 FA 15 Congress
140 FA 15 Congress140 FA 15 Congress
140 FA 15 Congress
 
Certificate of Project Management
Certificate of Project ManagementCertificate of Project Management
Certificate of Project Management
 
Kalite etiketleri
Kalite etiketleriKalite etiketleri
Kalite etiketleri
 
Educación y nativos digitales brayerlin
Educación  y  nativos  digitales brayerlinEducación  y  nativos  digitales brayerlin
Educación y nativos digitales brayerlin
 
Vergelijking eenmanszaak 2
Vergelijking eenmanszaak 2Vergelijking eenmanszaak 2
Vergelijking eenmanszaak 2
 
Presentacion samir
Presentacion samirPresentacion samir
Presentacion samir
 
Great Seal Article
Great Seal ArticleGreat Seal Article
Great Seal Article
 
formación
 formación formación
formación
 
CONGESTIÓN
CONGESTIÓNCONGESTIÓN
CONGESTIÓN
 

Similar to งานนำเสนอ1

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Last'z Regrets
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานKEk YourJust'one
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานIce Ice
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานRatchanok Nutyimyong
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 

More from HamHam' Kc

รายงาน Wordpress กล มท__ 2 (1)
รายงาน Wordpress กล  มท__ 2 (1)รายงาน Wordpress กล  มท__ 2 (1)
รายงาน Wordpress กล มท__ 2 (1)HamHam' Kc
 
รายงาน Wordpress กล มท__ 2
รายงาน Wordpress กล  มท__ 2รายงาน Wordpress กล  มท__ 2
รายงาน Wordpress กล มท__ 2HamHam' Kc
 
รายงาน Wordpress กล มท__ 2
รายงาน Wordpress กล  มท__ 2รายงาน Wordpress กล  มท__ 2
รายงาน Wordpress กล มท__ 2HamHam' Kc
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1HamHam' Kc
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานHamHam' Kc
 
การเข ยนคำส _งควบค_มข__นพ__นฐาน (1)
การเข ยนคำส _งควบค_มข__นพ__นฐาน (1)การเข ยนคำส _งควบค_มข__นพ__นฐาน (1)
การเข ยนคำส _งควบค_มข__นพ__นฐาน (1)HamHam' Kc
 
กระชากใจคอเนต
กระชากใจคอเนตกระชากใจคอเนต
กระชากใจคอเนตHamHam' Kc
 
เอชทีซี
เอชทีซีเอชทีซี
เอชทีซีHamHam' Kc
 
เอชทีซี
เอชทีซีเอชทีซี
เอชทีซีHamHam' Kc
 

More from HamHam' Kc (13)

รายงาน Wordpress กล มท__ 2 (1)
รายงาน Wordpress กล  มท__ 2 (1)รายงาน Wordpress กล  มท__ 2 (1)
รายงาน Wordpress กล มท__ 2 (1)
 
รายงาน Wordpress กล มท__ 2
รายงาน Wordpress กล  มท__ 2รายงาน Wordpress กล  มท__ 2
รายงาน Wordpress กล มท__ 2
 
รายงาน Wordpress กล มท__ 2
รายงาน Wordpress กล  มท__ 2รายงาน Wordpress กล  มท__ 2
รายงาน Wordpress กล มท__ 2
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Brand
BrandBrand
Brand
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเข ยนคำส _งควบค_มข__นพ__นฐาน (1)
การเข ยนคำส _งควบค_มข__นพ__นฐาน (1)การเข ยนคำส _งควบค_มข__นพ__นฐาน (1)
การเข ยนคำส _งควบค_มข__นพ__นฐาน (1)
 
itnews
itnewsitnews
itnews
 
ซีน
ซีนซีน
ซีน
 
กระชากใจคอเนต
กระชากใจคอเนตกระชากใจคอเนต
กระชากใจคอเนต
 
เอชทีซี
เอชทีซีเอชทีซี
เอชทีซี
 
เอชทีซี
เอชทีซีเอชทีซี
เอชทีซี
 

งานนำเสนอ1

  • 1. การเขียนคำาสั่งควบคุมขั้นพื้น ฐาน                        นาย พิธิวัต ศรี                    มานพ ม.6/1          เลขที่ 11                  นาย นขรินทร์ อัตถ          จรรยากุล ม.6/1          เลขที่ 15                      นาย พรปฐม รวมสุข                       ม.6/1          เลขที่ 17                นางสาว มานิดา ครุธนาค                    ม.6/1          เลขที่ 26          นางสาว กนกกาญจน์ กองจันทร์
  • 2. • 1.ลักษณะการทำางานของภาษาซี • ลักษณะการทำางานของภาษาซี •  ภาษาซีเป็นภาษาที่มีการพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ภาษาซีรุ่นแรกทำางานภายใต้ระบบปฏิบัติการคอส (cos)  ปัจจุบันทำางานภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows)  ภาษาซีใช้วิธีแปลรหัสคำาสั่งให้เป็นเลข    ฐานสองเรียกว่า คอมไพเลอร์ การศึกษาภูมิหลังการ เป็นมาของภาษาซีและกระบวนการแปลภาษาจะช่วย  ให้ผู้ใช้ภาษาซีในรุ่นและบริษัทผู้ผลิตแตกต่างกัน สามารถใช้ภาษาได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
  • 3. • 1.1.ความเป็นมาของภาษาซี • ภาษาซีได้รับการพัฒนาเมื่อปี ค.ศ.1972  โดยนายเดน    นิส ริตซี่ ตั้งชื่อว่าซีเพราะพัฒนามาจากภาษา BCLP และภาษา B ในช่วงแรกใช้ทดลองเขียนคำาสั่งควบคุมใน ห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratoorics) เท่านั้น เมื่อปี ค.ศ.1978    นายไบรอัน เคอร์นิกฮัน และ นายเดนนิส  ริตซี่ ร่วมกันกำาหนดนิยามรายละเอียดของภาษาซี เผย แพร่ความรู้โดยจัดทำาหนังสือ The C Programming Language มีหลายบริษัท ให้ความสนใจนำาไปพัฒนาต่อ จนมีภาษาซีหลายรูปแบบและแพร่หลายไปทั่วโลก แต่ยัง ไม่มีมาตรฐานคำาสั่งเพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ ดัง นั้นเมื่อปี ค.ศ.1988 นายริตซี่ ได้ร่วมกับสถาบันกำาหนด มาตรฐาน ANSI สร้างมาตรฐานภาษาซีขึ้นมามีผลให้ โปรแกรมคำาสั่งที่สร้างด้วยภาษาซีสังกัดบริษัทใดๆก็ตาม ที่ใช้คำาสั่งมาตรฐานของภาษาสามารถนำามาทำางานร่วม กันได้
  • 4. • 1.2การทำางานของตอมไพเลอร์ภาษาซี • คอมไพเลอร์เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อ แปลลภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่งมักใช้กับโปรแกรม  เชิงโครงสร้าง ลักษณะการแปลจะอ่านรหัสคำาสั่งทั้ง  โปรแกรมตั้งแต่บรรทัดคำาสั่งแรกถึงบรรทัดสุดท้าย หากมีข้อผิดพลาดจะรายงานทุกตำาแหน่งคำาสั่งที่ใช้ผิด  กฎไวยากรณ์ของภาษา กระบวนการคอมไพเลอร์ โปรแกรมคำาสั่งของภาษาซี มีดังนี้
  • 5. • 1.จัดทำาโปรแกรมต้นฉบับ (Source Program)  หลังจากพิมคำาสั่งงาน ตามโครงสร้างภาษาที่ สมบูรณ์แล้วทุกส่วนประกอบ ให้บันทึกโดย กำาหนดชนิดงานเป็น .c    เช่น work.c
  • 6. • 2.การแปลรหัสคำาสั่งเป็นภาษาเครื่อง (Compile) หรือ การบิวด์ (Build)  เครื่องจะตรวจสอบคำาสั่งทีละคำาสั่ง เพื่อวิเคราะห์ว่าใช้งานได้ถูกต้องตามรูปแบบไวยากรณ์ ที่ภาษาซีกำาหนดไว้หรือหากมีข้อผิดพลาดจะแจ้งให้  ทราบ หากไม่มีข้อผิดพลาดจะไปกระบวนการ3 • 3.การเชื่อมโยงโปรแกรม (Link) ภาษาซีมีฟังก์ชัน มาตรฐานให้ใช้งาน เช่น printf() ซึ่งจัดเก็บไว้ใน    เฮดเดอร์ไพล์ หรือเรียกว่า ไลบรารี ในตำาแหน่งที่ กำาหนดชื่อแตกต่างกันไป ผู้ใช้ต้องศึกษาและเรียกใช้ เฮดเดอร์ไฟล์กับฟังก์ชันให้สัมพันธ์เรียกว่าเชื่อมโยงกับ ไลบรารี กระบวนการนี้ได้ผลลัพธ์เป็นไฟล์ชนิด .exe
  • 8. •   2.1ส่วนหัวของโปรแกรม(Header File) •  หรือเรียกว่าฟรีโปรเซสเซอร์ไดเรกที ใช้ระบุชื่อเฮดเด  อร์ ควบคุมการทำางานของฟังก์ชันมาตรฐานที่ถูกเรียก ใช้งานในส่วน main( ) เฮดเดอร์ไฟล์มีชนิดเป็น h.  จัดเก็บในไลบรารีฟังก์ชัน ผู้เขียนคำาสั่งต้องศึกษาว่า  ฟังก์ชันที่ใช้งานอยู่นั้นอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์ชื่ออะไร จึง จะเรียกใช้งานได้ถูกต้อง
  • 9. • 2.2 ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) • เป็นส่วนเขียนคำาสั่งควบคุมการทำางานภายในขอบเขต เครื่องหมาย{ }ของฟังก์ชันหลักคือ main( ) ต้องเขียน คำาสั่งตามลำาดับขั้นตอนจากกระบวนการวิเคราะห์ระบบ งานเบื้องต้นและขั้นวางแผนลำาดับการทำางานที่ได้จัด ทำาไว้ล่วงหน้า เช่น ลำาดับการทำางานด้วยแผนผัง โปรแกรมเพื่อลดข้อผิดพลาดในขั้นตอนลำาดับคำาสั่ง ควบคุมงาน ในส่วนนี้พึงระมัดระวังเรื่องเดียวคือต้องใช้ งานคำาสั่งตามรูปแบบไวยากรณ์ของภาษาซีที่กำาหนด ไว้
  • 10. • 2.3การพิมพ์คำาสั่งควบคุมงานในโครงสร้างภาษาซี • คำาแนะนำาในการพิมพ์คำาสั่งงาน ซึ่งภาษาซีเรียกว่า ฟังก์ชัน (ต่อไปนี้จะเรียกว่า คำาสั่งตามที่นิยมทั่วไป) ใน ส่วนประกอบภายในโครงสร้างภาษาซีมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ • 1.คำาสั่งที่ใช้ควบคุมการประมวลผมตามลำาดับที่ วิเคราะห์ไว้ ต้องเขียนภายในเครื่องหมาย { } ที่อยู่ภาย ใต้การควบคุมงานของฟังก์ชันหลักชื่อ main {}
  • 11. • 2.ปกติคำาสั่งควบคุมงานเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก ยกเว้น บางคำาสั่งที่ภาษากำาหนดว่าต้องเป็นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ต้องปฏิบัติตามนั้น เพราะภาษาซีมีความแตกต่างเรื่อง ตัวอักษร • 3.เมื่อสิ้นสุดคำาสั่งงาน ต้องพิมพ์โคลอน(:)
  • 12. • 4.ใน 1 บรรทัดพิมพ์ได้มากกว่า1 คำาสั่ง แต่นิยม บรรทัดละ 1 คำาสั่ง เพราะว่าอ่านโปรแกรมง่ายเมื่อมีข้อ ผิดพลาด ย่อมตรวจสอบและค้นหาเพื่อแก้ไขได้เร็ว • 5.การพิมพ์คำาสั่ง หากมีส่วนย่อยนิมยมเคาะเยื้องเข้าไป เพื่ออ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อมีข้อผิดพลาดย่อม ตรวจสอบและแก้ไขได้รวดเร็ว
  • 13. • 3. คำาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจำา • การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจำาคอมพิวเตอร์ ภาษา กำาหนดให้ดำาเนินการผ่านซื้อ (identifier) ที่ผู้สร้าง งานโปรแกรมเป็นผู้กำาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัด เก็บชื่อและตำาแหน่งที่อยู่ (address) ในหน่วยความจำา เพื่ออ้างอิงนำาข้อมูลที่จัดเก็บนั้นมาใช้งาน การกำาหนด ชื่อที่ใช้เก็บข้อมูลต้องทำาภายใต้กฎเกณฑ์ และต้อง ศึกษาวิธีกำาหนดลักษณะการจัดเก็บข้อมูลที่ภาษา กำาหนดไว้ ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ แบบ ค่าคงที่และแบบตัวแปร ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคำาสั่ง กำาหนดการจัดเก็บข้อมูล ควรมีความรู้ในเรื่องชนิด ข้อมูลก่อน
  • 14. • 3.1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจำาทั้งแบบค่าคงที่หรือ แบบตัวแปร ต้องกำาหนดชนิดข้อมูลให้ระบบรับทราบ ในที่นี้กล่าวถึงชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน 3 กลุ่มหลัก เท่านั้น • 3.2 คำาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่าคงที่ • ประสิทธิภาพคำาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วย ความจำาไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
  • 15. • 4.คำำสั่งควบคุมกำรทำำงำนขั้นพื้นฐำน •  คำำสั่งที่ใช้ควบคุมกำรทำำงำนขั้นพื้นฐำน มี3 กลุ่ม  ใหญ่คือ คำำสั่งรับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์แล้ว นำำไปจัด เก็บหน่วยควำมจำำ (input) กำรเขียนสมกำรคำำนวณ โดยใช้นิพจน์ทำงคณิตศำสตร์ (process)  และคำำสั่ง  แสดงผลข้อมูล หรือข้อมูลที่จัดเก็บในหน่วยควำมจำำ (output)
  • 16. • 4.1 คำำสั่งแสดงผล printf ( ) •  ประสิทธิภำพคำำสั่ง :   ใช้แสดงผลสิ่งต่อไปนี้เช่น  ข้อควำม ข้อมูลจำกค่ำคงที่ หรือตัวแปลที่จอภำพ • 4.2คำำสั่งรับข้อมูล : รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ แล้วจัด เก็บลงหน่วยควำมจำำ ของตัวแปล
  • 17. • 4.3คำำสั่งประมวลผล : expreeion • ประสิทธิภำพคำำสั่ง  : เขียนคำำสั่งแบบนิพจน์  เพื่อประมวลผล แล้วนำำข้อมูลทีได้ไปจัดเก็บ ใน หน่วยควำมจำำของตัวแปล ที่ต้องกำำหนดชื่อและ ชนิดข้อมูลไว้แล้ว
  • 18. • แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมในกำรทำำงำน •  ส่วนป้อนข้อมูล ผู้ใช้ระบบงำนป้อนค่ำ 2  เก็บใน หน่วยควำมจำำ x และป้อนค่ำ 3 เก็บในหน่วยควำมจำำ y ด้วยคำำสั่ง • Printf (“data x = “ ) scant (“%&x) : • Printf (“data  = “ ) scant (“%&y) : •  
  • 19. • 2.ส่วนประมวลผล ระบบจำำนำำค่ำไปประมวลผล ตำม นิพจน์คณิตศำสตร์ • R = 2+3 *2 ; ได้คำำตอบคือ 8 • S= (2+3) *2 ; ได้คำำตอบคือ 10 • T= 2+3 *2-1  ; ได้คำำตอบคือ 7
  • 20. •  ทั้งนี้คอมพิวเตอร์ประมวลผล โดยยึดหลักควำมสำำคัญ  ของ เครื่องหมำยทำงคณิตศำสตร์ เช่น คำำนวณ เครื่องหมำย *  ก่อนเครื่องหมำย + • ส่วนแสดงผล คำำสั่งควบคุมให้แสดงผลลัพธ์ • Printf (“ r=x+y*2=%dn”,r) : • Printf (“ r=(x+yX*2=5dn”,s) : • Printf(“ r=x+y*2-1 =%dn”,t) :
  • 21. • 5.คำำสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพำะอักขระ • ภำษำซีมีคำำสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพำะข้อมูล ประเภท 1 อักขระ (char) ดังนี้ • 5.1 คำำสั่ง putchar ( )    5.2 คำำสั่ง getchar ( ) • 5.3 คำำสั่ง getch ( )       5.4 คำำสั่ง getche ( )
  • 22. • 5.1  คำำสั่ง putchar ( ) • แสดงข้อมูลจำกหน่อยควำมจำำของตัวแปร ทำงจอภำพ ครั้งละ1อักขระเท่ำนั้น • แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน •   1. ‘กำำหนดค่ำ A’เก็บในตัวแปรประเภท char ชื้อ word1  ‘และกำำหนดค่ำ 1’  เก็บในตัวแปรชื่อ word2 ด้วยคำำสั่ง char word1=‘A’ , word2=‘1’ •   2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลทีละ 1 อักขระโดยไม่ต้องใช้สัญลักษณ์ขึ้นบรรทัดใหม่ ด้วย คำำสั่ง ยputchar(word1);   putchar(word2); จึง พิมพ์คำำว่ำ A1 ที่จอภำพ
  • 23. • 5.2 คำำสั่ง getchar ( ) •      รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ และแสดง อักขระที่จอภำพ จำกนั้นต้องกดแป้นพิมพ์ที่ Enter  เพื่อนำำ ข้อมูลบันทึกลงหน่วยควำมจำำด้วย • แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน •  1.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรป้อนข้อมูลประเภทอักขระ ด้วยคำำสั่ง • Printf (“Key 1 Character=”) ; • Word = getchar ( ) ; • หมำยถึงป้อนอักขระ 1 ตัว เช่น a จะแสดงค่ำให้เห็นที่หน้ำ จอด้วย แล้วต้องกดแป้น Enter เพื่อนำำข้อมูลบันทึกลง หน่วยควำมจำำตัวแปรประเภท char ชื่อ word •  2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลจำกหน่วยควำม จำำ wordจึงเห็นค่ำ a (แทนที่word) • Printf (“You key Character is =%cn”,word) ;
  • 24. • 5.3 คำำสั่ง getch ( ) • รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ แต่ไม่ปรำกฏอักษรบน จอภำพและไม่ต้องกดแป้น Enter •   แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน •  1.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรป้อนข้อมูลประเภทอักขระ ด้วยคำำสั่ง •            printf (“Key 1 Character =” ) ; • word = getch ( ) ; • หมำยถึงป้อนค่ำใดทำงแป้นพิมพ์เป็นอักขระ 1 ตัว เช่น a จะไม่   แสดงค่ำให้เห็นที่หน้ำจอ ไม่ต้องกดแป้ น Enter เพื่อนำำข้อมูล บันทึกลงหน่วยควำมจำำตัวแปรประเภท char ชื่อ word • 2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลจำกหน่วยควำมจำำ word จึงเห็นค่ำ a (แทนที่word) •      printf (“Key 1 Character =%cn”,word ) ;
  • 25. • 5.4 คำำสั่ง getche ( ) • รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ และแสดงอักษรบน จอภำพ และไม่ต้องกดแป้น Enter • แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน • 1.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรป้อนข้อมูลประเภทอักขระด้วย คำำสั่ง •               printf (“Key 1 Character =” ) ; • word = getcher ( ) ; • หมำยถึงกำรป้อนค่ำใดทำงแป้นพิมพ์เป็นอักขระ 1 ตัว เช่น a จะ แสดงค่ำให้เห็นที่หน้ำจอ และไม่ต้องกดแป้น Enter เพื่อนำำ ข้อมูลบันทึกลงหน่วยควำมจำำตัวแปรประเภท char ชื่อ word • 2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลเพื่อแสดงค่ำจำก หน่วยควำมจำำ word จึงเห็นค่ำ a (แทนที่word) •                printf (“Key 1 Character = %cn”,word ) ;
  • 26. • 6.คำำสั่งแสดงผล-เฉพำะข้อมูล เฉพำะข้อควำม • ภำษำซีมีคำำสั่งใช้ในดำรรับข้อมมูลเฉพำะประเภท ข้อควำม (String) ในภำษำซีคือชนิดข้อมูล char[n] จัดเก็บในหน่วยควำมจำำ และแสดงผลข้อมูลประเภท ข้อควำมเท่ำนั้น มีรำยละเอียดดังนี้
  • 27. • 6.1 คำำสั่ง puts() แสดงผลเฉพำะประเภทข้อควำม ทำงจอภำพครั้งละ 1 ข้อควำม • แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำรทำำงำน • 1.เขียนคำำสั่งกำำหนดค่ำข้อควำมในตัวแปรชื่อ word • Char word [15] = “*Example*”; • 2.เขียนคำำสั่งควบคุมกำรแสดงผลในลักษณะ ข้อควำมด้วย puts • Puts (word) ; • Puts (“*************”);
  • 28. •  6.2 คำำสั่ง gets( ) รับข้อมูล ข้อควำมจำกแป้น พิมพ์และต้องกดแป้น Enter • รูปแบบ 1ไม่นำำข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยควำมจำำของ ตัวแปร • แนวคิดในกำรเขียนคำำสั่งควบคุมกำทำำงำน • 1.เขียนคำำสั่งให้รับข้อมูลนิดข้อควำมจำก แป้นพิมพ์และต้องกดแป้น Enter เพื่อนนำำ ข้อควำมบันทึกลงตัวแปรชนิดข้อควำมด้วยคำำสั่ง gets (word); • 2.เขียนคำำสั่งควบคุมให้แสดงผลลักษณะ  ข้อควำมด้วย printf (You name is =