SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
การเขียนคาสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
เสนอ
ครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
จัดทำโดย
นำย วสุ น้อยทิพย์ เลขที่7 ม.6/1
นำงสำว ชุติมณฑน์ แดงจันทร์ เลขที่28 ม.6/1
นำงสำว ธนัชพร ทวนทอง เลขที่30 ม.6/1
นำงสำว มัลลิกำ แจ่มจำรัส เลขที่31 ม.6/1
นำงสำว วริสรำ ศรีจันทร์ เลขที่32 ม.6/1
นำงสำว อนัดตำ วัชรำมหำพงศ์เลขที่33 ม.6/1
นำงสำว เพ็ญนภำ เมืองแพน เลขที่34 ม.6/1
ลักษณะการทางานของภาษาซี
ภำษำซีเป็นภำษำที่มีกำรพัฒนำกำรมำอย่ำงต่อเนื่อง ภำษำซีรุ่นแรกทำงำนภำยใต้
ระบบปฏิบัติกำรดอส (dos) ปัจจุบันทำงำนภำยใต้ระบบปฏิบัติกำรวินโดวส์ (Windows)
ภำษำซีใช้วิธีแปลรหัสคำสั่งให้เป็นเลขฐำนสองเรียกว่ำ”คอมไพเลอร์” กำรศึกษำภูมิหลัง
กำรเป็นมำของภำษำซีและกระบวนกำรแปลภำษำจะช่วยให้ผู้ใช้ภำษำซีในรุ่นและบริษัทผู้ผลิต
แตกต่ำงกัน สำมำรถใช้ภำษำได้อย่ำงเข้ำใจมำกขึ้น
ลักษณะการทางานของภาษาซี
1. ควำมเป็นมำของภำษำซี
ภำษำซีได้รับกำรพัฒนำเมื่อปี ค.ศ. 1972 โดยนำยเดนนิส ริตซี่ ตั้งชื่อว่ำ “ซี”
เพรำะพัฒนำมำจำกภำษำ BCLP และภำษำ B ในช่วงแรกใช้ทดลองเขียนคำสั่ง
ควบคุมในห้องปฏิบัติกำรเบล (Bell Laboratoories) เท่ำนั้น เมื่อปี ค.ศ.
1972 นำยไบรอัน เคอร์นิกฮัน และนำยเดนนิส ริตซี่ ร่วมกันกำหนดนิยำมรำยละเอียด
ของภำษำซี เผยแพร่ควำมรู้โดยจัดทำหนังสือ The CProgramming
Language
ลักษณะการทางานของภาษาซี
1.1 ควำมเป็นมำของภำษำซี
มีหลำยบริษัทให้ควำมสนใจนำไปพัฒนำต่อ จนมีภำษำซีหลำยรูปแบบและ
แพร่หลำยไปทั่วโลก แต่ยังไม่มีมำตรฐำนคำสั่งเพื่อให้สำมำรถใช้งำนร่วมกันได้ ดังนั้น
เมื่อปี ค.ศ. 1988 นำยริตซี่ ได้ร่วมกับสถำบันกำหนดมำตรฐำน ANSI สร้ำง
มำตรฐำนภำษำซีขึ้นมำ มีผลให้ โปรแกรมคำสั่งที่สร้ำงด้วยภำษำซีสังกัดบริษัทใดๆ ก็
ตำมที่ใช้คำสั่งมำตรฐำนของภำษำสำมำรถนำมำทำงำนร่วมกันได้
ลักษณะการทางานของภาษาซี
1.2 กำรทำงำนของคอมไพเลอร์ภำษำซี
คอมไพเลอร์ (compiler)
เป็นโปรแกรมที่ได้รับกำรพัฒนำมำเพื่อแปลภำษำคอมพิวเตอร์
รูปแบบหนึ่งมักใช้ กับโปรแกรมเชิงโครงสร้ำง ลักษณะกำรแปลจะอ่ำน
รหัสคำสั่งทั้งโปรแกรมตั้งแต่บรรทัดคำสั่งแรกถึงบรรทัดสุดท้ำย หำกมี
ข้อผิดพลำดจะรำยงำนทุกตำแหน่งคำสั่งที่ใช้งำนผิดกฎไวยำกรณ์ของภำษำ
กระบวนกำรคอมไพล์โปรแกรมคำสั่งของภำษำซีดังนี้
ลักษณะการทางานของภาษาซี
1.จัดทำโปรแกรมต้นฉบับ (Source Program)
หลังจำกพิมพ์คำสั่งงำน ตำมโครงสร้ำงภำษำที่สมบูรณ์แล้วทุกส่วนประกอบ
ให้บันทึกโดยกำหนดชนิดงำนเป็น .c เช่น work.c
ลักษณะการทางานของภาษาซี
2.กำรแปลรหัสคำสั่งเป็นภำษำเครื่อง (Compile) หรือกำรบิวด์ (Build) เครื่อง
จะตรวจสอบคำสั่งทีละคำสั่ง เพื่อวิเครำะห์ว่ำใช้งำนได้ถูกต้องตำมรูปแบบ
ไวยำกรณ์ที่ภำษำซีกำหนดไว้หรือหำกมีข้อผิดพลำดจะแจ้งให้ทรำบ หำกไม่มี
ข้อผิดพลำดจะไปกระบวนกำร A
ลักษณะการทางานของภาษาซี
3.กำรเชื่อมโยงโปรแกรม (Link)
ภำษำซีมีฟังก์ชันมำตรฐำนให้ใช้งำน เช่น printf() ซึ่งจัดเก็บไว้ในเฮด
เดอร์ไพล์ หรือเรียกว่ำ ไลบรำรี ในตำแหน่งที่กำหนดชื่อแตกต่ำงกันไป ผู้ใช้ต้อง
ศึกษำและเรียกใช้เฮดเดอร์ไฟล์กับฟังก์ชันให้สัมพันธ์เรียกว่ำเชื่อมโยงกับไลบรำรี
กระบวนกำรนี้ได้ผลลัพธ์เป็นไฟล์ชนิด .exe
ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
สำหรับโครงสร้ำงของภำษำซีในเบื้องต้นนี้จะกล่ำวถึงเฉพำะรำยละเอียดที่
นำไปใช้ในกำรเขียนคำสั่งควบคุมระดับพื้นฐำนผู้สร้ำงงำนโปรแกรมจะใช้งำน
ส่วนประกอบในภำษำซีเพียง ; ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนฟังก์ชันหลัก ดังนี้
ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
2.1 ส่วนหัวของโปรแกรม (Header File)
ใช้ระบุชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ ควบคุมกำรทำงำนของฟังก์ชันมำตรฐำนที่ถูก
เรียกใช้งำนในส่วนของ main ( ) เฮดเดอร์ไฟล์มีชนิดเป็น.h จัดเก็บในไลบรำรี
ฟังก์ชัน ผู้เขียนคำสั่งงำนต้องศึกษำว่ำฟังก์ชันที่ใช้งำนนั้นอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์ชื่ออะไร
จึงจะเรียกใช้งำนได้ถูกต้อง นิยมใช้รูปแบบคำสั่ง ดังนี้
ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
รูปแบบ # include < header_name>
อธิบำย header_name ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ที่ควบคุมฟังก์ชันมำตรฐำน เช่น
ฟังก์ชัน printf ใช้ควบคุมกำรแสดงผล จัดเก็บในไลบรำรีชื่อ #include
<stdio.h>
ตัวอย่ำงคำสั่ง ประกำศฟรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ ที่ใช้ควบคุมฟังก์ชันมำตรฐำน
ภำษำซี # include <stdio.h>
อธิบำย ให้คอมไพเลอร์ค้นหำไลบรำรีไฟล์ชื่อ stdio.h จำกไดเรกเทอรี
include
ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
2.2 ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function)
เป็นส่วนเขียนคำสั่งควบคุมกำรทำงำนภำยในขอบเขตเครื่องหมำย { } ของ
ฟังก์ชันหลักคือ main ( ) ต้องเขียนคำสั่งตำมลำดับขั้นตอนจำกกระบวนกำร
วิเครำะห์ระบบงำนเบื้องต้นและขั้นวำงแผนลำดับกำรทำงำนที่ได้จัดทำล่วงหน้ำไว้เช่น
ลำดับกำรทำงำนด้วยแผนผังโปรแกรมเพื่อลดข้อผิดพลำดในขั้นตอนลำดับคำสั่ง
ควบคุมงำน ในส่วนนี้พึงระมัดระวังเรื่องเดียวคือ ต้องใช้งำนคำสั่งตำมรูปแบบ
ไวยำกรณ์ของภำษำซีที่กำหนดไว้
ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
2.3 กำรพิมพ์คำสั่งควบคุมงำนในโครงสร้ำงภำษำซี
คำแนะนำในกำรพิมพ์คำสั่งงำน ซึ่งภำษำซีเรียกว่ำ ฟังก์ชัน (ต่อไปนี้จะ
เรียกว่ำ คำสั่ง ตำมที่นิยมทั่วไป) ในส่วนประกอบภำยในโครงสร้ำงภำษำซีมีแนวทำง
ปฏิบัติดังนี้
1. คำสั่งที่ใช้ควบคุมกำรประมวลผลตำมลำดับที่ได้วิเครำะห์ไว้ ต้องเขียน
ภำยใน เครื่องหมำย {} ที่อยู่ภำยใต้กำรควบคุมของ ฟังก์ชันหลักชิ่อ main ()
2.ปกติคำสั่งควบคุมงำนจะเป็นอักษรตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้นบำงคำสั่งที่ภำษำ
กำหนดว่ำต้องเป็นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ต้องปฏิบัติตำมนั้น เพรำะภำษำซีมี
ควำม แตกต่ำงในเรื่องตัวอักษร
ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
2.3 กำรพิมพ์คำสั่งควบคุมงำนในโครงสร้ำงภำษำซี
3. เมื่อสิ้นสุดคำสั่งงำน ต้องพิมพ์เครื่องหมำยเซมิโคลอน (;)
4. ใน 1 บรรทัด พิมพ์ได้มำกกว่ำ 1 คำสั่ง แต่นิยมบรรทัดละ 1 คำสั่ง เพรำะว่ำ
อ่ำนโปรแกรมง่ำยเมื่อมีข้อผิดพลำด ย่อมตรวจสอบและค้นหำเพื่อแก้ไขได้
เร็ว
5. กำรพิมพ์คำสั่ง หำกมีส่วนย่อย นิยมเคำะเยื้องเข้ำไป เพื่ออ่ำนโปรแกรมได้
ง่ำยขึ้น เมื่อมีข้อผิดพลำดย่อมตรวจสอบและค้นหำเพื่อแก้ไขได้รวดเร็ว
ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
คาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจา
กำรจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยควำมจำคอมพิวเตอร์ ภำษำกำหนดให้ดำเนินกำร
ผ่ำนที่ผู้สร้ำงงำนโปรแกรมเป็นผู้กำหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บชื่อและ
ตำแหน่งซื่อidentifier ที่อยู่ (Address) ในหน่วยควำมจำ เพื่ออ้ำงอิงนำ
ข้อมูลที่จัดเก็บนั้นมำใช้งำน กำรกำหนดชื่อที่ใช้เก็บข้อมูลต้องทำภำยใต้กฎเกณฑ์ และ
ต้องศึกษำวิธีกำหนดลักษณะกำรจัดเก็บข้อมูลตำมที่ภำษำกำหนดไว้ ลักษณะกำร
จัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ แบบค่ำคงที่ และแบบตัวแปร
ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคำสั่งกำหนดกำรจัดเก็บข้อมูล ควรมีควำมรู้ในเรื่องชนิด
ข้อมูลก่อน
คำสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยควำมจำ
3.1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาทั้งแบค่าคงที่หรือแบบตัวแปร
ต้องกาหนดชนิดข้อมูลให้ระบบรับทราบ ในที่นี้กล่าวถึงชนิดข้อมูลแบบ
พื้นฐาน 3 กลุ่มหลักเท่านั้น
ตารางที่ 2.1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
หมายเหตุ : ตารางแสดงชนิดข้อมูลของภาษาซีทุกชนิดแสดงในภาคนนวก
คำสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยควำมจำ
3.2 คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่าคงที่
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจา
ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
รูปแบบ Const data_type var = data ;
อธิบาย data_type คือ ที่ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
Var คือ ชื่อหน่วยความจาที่นู้ใช้ต้องกาหนดตามกฎ
การตั้งชื่อ
Data คือ ข้อมูลที่กาหนดเป็นค่าคงที่
คำสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยควำมจำ
ข้อควรจา กรณีข้อมูลมี 1 อักขระ กาหนดให้อยู่ใน ‘ ‘ (single
quotation)
กรณีข้อมูลมีมากกว่า 1 อักขระ กาหนดให้อยู่ใน “ ”
(double quotation)
กรณีข้อมูลเป็นชนิดตัวเลขใช้ในการคานวณไม่ต้องอยู่ใน ‘’ หรือ
“ ”
3.3 คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบตัวแปร
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจา
คำสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยควำมจำ
รูปแบบ 1 var_type var_name[,….];
รูปแบบ 2 var_type var_name = data ;
อธิบาย var_type คือ หน่วยชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
var name คือ ชื่อหน่วยความจา ที่นู้ใช้ต้องกาหนด
ตามกฎการตั้งชื่อ
data คือ ข้อมูลที่กาหนดเป็นค่าเริ่มต้น (อาจมีหรือไม่
ก็ได้)
หมายเหตุ หากมีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว แต่เป็นตัวแปรเก็บข้อมูลประเภท
เดียว ใช้คอมม่า (,) คั่น
คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นฐาน
คำสั่งที่ใช้ควบคุมกำรทำงำนขั้นพื้นฐำนมี 3 กลุ่มคือ คำสั่งรับข้อมูลจำก
แป้นพิมพ์แล้วนำไปจัดเก็บหน่ำยควำมจำ (input ) กำรเขียนสมกำรคำนวณโดยใช้
นิพจน์ทำงคณิตศำสตร์(Process) และคำสั่งแสดงผลข้อมูล หรือข้อมูลที่จัดเก็บ
ในหน่วยควำมจำ (Qutput )
4.1 คำสั่งแสดงผล : printf ( )
ประสิทธิภำพคำสั่ง : ใช้แสดงผล สิ่งต่อไปนี้ เช่น ข้อควำม ข้อมูลจำกค่ำคงที่
หรือตัวแปรที่จอภำพ
คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นฐาน
รูปแบบ 1 Printf (“ string_format” , data_list ) ;
รูปแบบ 2 Printf (“string_format” ) ;
อธิบำย string_format คือลักษณะของสิ่งต่อไปนี้ เช่น ข้อควำม
(text ) รหัสรูปแบบข้อมูล เช่น %d รหัสควบคุม เช่น n
Data_list คือข้อมูลแสดงผลอำจเป็นค่ำคงที่ตัวแปร นิพจน์ หำก
มีหลำยตัวใช้ , คั่น
คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นฐาน
ตารางที่ 2.2 รหัสรูปแบบข้อมูลระดับพื้นฐาน
หมายเหตุ รหัสรูปแบบข้อมูลรูปแบบแสดงในภาคผนวก
คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นฐาน
ตัวอย่ำงคำสั่ง ควบคุมกำรแสดงผลด้วย printf
Printf ( “ Data is %d n ” , score ) ;
อธิบำย พิมพ์ข้อควำมคำว่ำ data is ตำมด้วยค่ำข้อมูลในหน่วยควำมจำตัวแปรชื่อ
score ซึ่งเป็นข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม (%) แล้วเลื่อนคอร์เซอร์ไปไว้บรรทัดถัดไป (n)
4.2 คำสั่งรับข้อมูล : รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์แล้วจัดเก็บลงหน่วยควำมจำของตัวแปร
รูปแบบ Scanf ( “ string_format” , & address_list ) ;
อธิบำย string_format คือรูปแบบกำรแสดงผลของข้อมูลเท่ำนั้น เช่น %d
Address_list คือกำรระบุตำแหน่งที่อยู่ในหน่วยควำมจำต้องใช้สัญลักษณ์
&(Ampersand) นำหน้ำชื่อตัวแปรเสมอ
คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นฐาน
ข้อควรจำ กรณีเป็นตัวแปรข้อควำม (String) สำมำรถยกเว้นไม่ต้องใช้ &
นำหน้ำได้
ตัวอย่ำงคำสั่ง เขียนคำสั่งควบคุมกำรรับค่ำจำกแป้นพิมพ์ด้วย scanf
Scanf ( “%d ” , &score ) ;
อธิบำย รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์นำไปเก็บในหน่วยควำมจำชื่อ score เป็น
ข้อมูลประเภทจำนวนเต็ม
4.3 คำสั่งประมวลผล : expression
ประสิทธิภำพคำสั่ง : เขียนคำสั่งแบบนิพจน์เพื่อประมวลผล แล้วนำข้อมูลที่ได้ไป
จัดเก็บในหน่วยควำมจำของตัวแปรที่ต้องกำหนดชื่อและชนิดข้อมูลไว้แล้ว
คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นฐาน
รูปแบบ Var = expression ;
อธิบำย var คือชื่อหน่วยควำมจำชนิดตัวแปร
Expression คือสมกำรนิพจน์ เช่น สูตรคำนวณทำงคณิตศำสตร์
ตัวอย่ำงคำสั่ง นิพจน์ที่เป็นสูตรคำนวณทำงคณิตศำสตร์
Sum = a+b ;
อธิบำย ให้นำค่ำในหน่วยควำมจำตัวแปรชื่อ a กับ b มำ+กันแล้วนำค่ำไปเก็บใน
หน่วยควำมจำตัวแปรชื่อ sum
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1. ส่วนป้ อนข้อมูล นู้ใช้ระบบงานป้ อนค่า ; เก็บในหน่วยความจา x และป้ อนค่า A เก็บใน
หน่วยความจา y ด้วยคาสั่ง
Printf ( “data x=” ) ; scanf ( “%d ,&x ) ;
Printf ( “data y=” ) ; scanf ( “%d ,&y ) ;
2.ส่วนประมวลนล ระบบจะนาค่าไปประมวลนลตามนิพจน์คณิตศาสตร์
r = 2 + 3 * 2 ; ได้คาตอบคือ 8
s = (2 + 3 ) * 2; ได้คาตอบคือ 10
t = 2 + 3 * 2-1 ; ได้คาตอบคือ 7
ทั้งนี้คอมพิวเตอร์ประมวลนล โดยยึดหลักลาดับความสาคัญของเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ เช่น
คานวณเครื่องหมาย * ก่อนเครื่องหมาย +
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
3.ส่วนแสดงผล คำสั่งควบคุมให้แสดงผลลัพธ์
Printf ( “r = x + y * 2 = %d n” , r ) ;
Printf ( “r = (x + y X* 2 = %d n” , s
) ;
Printf ( “r = x + y * 2-1 = %d n” , t )
;
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
5.1 คำสั่ง putchar ( )
แสดงผลข้อมูลจำกหน่วยควำมจำของตัวแปร ทำงจอภำพครั้งละ1อักขระ
เท่ำนั้น
รูปแบบ Putchar ( char_argument) ;
อธิบำย putchar_argument คือ ข้อมูลชนิดอักขระ
คาสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพาะอักขระ
ภำษำซีมีคำสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพำะข้อมูลประเภท 8 อักขระ (char )ดังนี้
5.1 คำสั่ง putchar ( )
แสดงผลข้อมูลจำกหน่วยควำมจำของตัวแปร ทำงจอภำพครั้งละ1อักขระ
เท่ำนั้น
รูปแบบ Putchar ( char_argument) ;
อธิบำย putchar_argument คือ ข้อมูลชนิดอักขระ
คาสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพาะอักขระ
5.2คำสั่ง getchar ( )
รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ และแสดงอักขระที่จอภำพ จำกนั้น
ต้องกดแป้นพิมพ์ที่ Enter เพื่อนำข้อมูลบันทึกลงหน่วยควำมจำด้วย
รูปแบบ 1 ไม่นำข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยควำมจำของตัวแปร
getchar ( ) ;
รูปแบบ 2 นำข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยควำมจำของตัวแปร
char_var = getchar ( ) ;
คาสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพาะอักขระ
5.3 คำสั่ง getch ( )
รับข้อมูลจำกแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ แต่ ไม่ปรำกฏ อักษรบนจอภำพ
และ ไม่ต้องกดแป้น Enter
รูปแบบ 1 ไม่นำข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยควำมจำของตัวแปร
getch( ) ;
รูปแบบ 2 นำข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยควำมจำของตัวแปร
char_var = getch 1( ) ;
อธิบำย char_var คือ ข้อมูลชนิดอักขระ
คาสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพาะข้อความ
ภำษำซีมีคำสั่งใช้ในกำรรับข้อมูลเฉพำะประเภทข้อควำม (String) ใน
ภำษำซีคือชนิดข้อมูล char [n] จัดเก็บในหน่วยควำมจำ และแสดงผล
ข้อมูลประเภทข้อควำมเท่ำนั้น มีรำยละเอียดดังนี้
6.1.คำสั่ง puts( )
แสดงผลข้อมูลเฉพำะประเภทข้อควำมทำงจอภำพครั้งละ 1 ข้อควำม
รูปแบบ puts ( string_argument ) ;
อธิบำย string_argument คือ ข้อมูลชนิดข้อควำม
คาสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพาะข้อความ
6.2คำสั่ง gets ( )
รับข้อมูล ข้อควำม จำกแป้นพิมพ์และต้องกดแป้น Enter
รูปแบบ 1 ไม่นำข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยควำมจำของตัวแปร gets ( );
รูปแบบ 2 นำข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยควำมจำของตัวแปร
string_var =gets ( ) ;
อธิบำย string_var คือ ข้อมูลชนิดข้อควำม
อ้างอิง
นำยทยำวีร์ เจียจำรูญ และคณะ. 2557.กำรเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐำน.
(ออนไลน์). แหล่งที่มำ :
https://kakanpitcha45.wordpess.com/
11 มิ.ย.2559
จบการนาเสนอ

More Related Content

Similar to การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน

การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานRatchanok Nutyimyong
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานKEk YourJust'one
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKru.Mam Charoensansuay
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1HamHam' Kc
 
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือกKEk YourJust'one
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1HamHam' Kc
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthaiระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย SongthaiNew Evo'v
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานVi Vik Viv
 
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Officeคู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Officeพัน พัน
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Last'z Regrets
 
ชุดฝึกทักษะ 54
ชุดฝึกทักษะ 54ชุดฝึกทักษะ 54
ชุดฝึกทักษะ 54Orapan Chamnan
 

Similar to การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน (20)

การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
Q1
Q1Q1
Q1
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthaiระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Officeคู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
 
Pbl 2
Pbl 2Pbl 2
Pbl 2
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
ชุดฝึกทักษะ 54
ชุดฝึกทักษะ 54ชุดฝึกทักษะ 54
ชุดฝึกทักษะ 54
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 

More from นายแสงธรรม สระจันทร์

More from นายแสงธรรม สระจันทร์ (16)

Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Itnew
ItnewItnew
Itnew
 
ใน I tunes มีไวรัสจริงหรือ ?
ใน I tunes มีไวรัสจริงหรือ ?ใน I tunes มีไวรัสจริงหรือ ?
ใน I tunes มีไวรัสจริงหรือ ?
 
สอนใช้ SonyVegas ตัดต่อ VDO
สอนใช้ SonyVegas ตัดต่อ VDO สอนใช้ SonyVegas ตัดต่อ VDO
สอนใช้ SonyVegas ตัดต่อ VDO
 
Tips
TipsTips
Tips
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
Hyperloop
HyperloopHyperloop
Hyperloop
 
ซีบรา เทคโนโลยีส์
ซีบรา เทคโนโลยีส์ซีบรา เทคโนโลยีส์
ซีบรา เทคโนโลยีส์
 
PPT ก#2 สายคอม
PPT ก#2 สายคอมPPT ก#2 สายคอม
PPT ก#2 สายคอม
 
ทำรูปให้เป็นรูปการ์ตูน Ps
ทำรูปให้เป็นรูปการ์ตูน Psทำรูปให้เป็นรูปการ์ตูน Ps
ทำรูปให้เป็นรูปการ์ตูน Ps
 
boontarik
boontarikboontarik
boontarik
 
IT NEW - Khim
IT NEW - KhimIT NEW - Khim
IT NEW - Khim
 
ก#2 | การ print ติดตั้ง และการแชร์
ก#2 | การ print ติดตั้ง และการแชร์ก#2 | การ print ติดตั้ง และการแชร์
ก#2 | การ print ติดตั้ง และการแชร์
 
การเอา Vdo ลง powerpoint
การเอา Vdo ลง powerpointการเอา Vdo ลง powerpoint
การเอา Vdo ลง powerpoint
 
การ Create abbreviations
การ Create abbreviationsการ Create abbreviations
การ Create abbreviations
 
การ Coppy text แบบ เร็วป๊าดๆ
การ  Coppy text  แบบ เร็วป๊าดๆการ  Coppy text  แบบ เร็วป๊าดๆ
การ Coppy text แบบ เร็วป๊าดๆ
 

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน