SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
Download to read offline
เสนอ
อ.ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
ภาษาซีเป็นภาษาที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ภาษาซีรุ่น
แรกทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการคอส (cos) ปัจจุบันทางาน
ภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) ภาษาซีใช้วิธีแปล
รหัสคาสั่งให้เป็นเลขฐานสองเรียกว่า คอมไพเลอร์
การศึกษาภูมิหลังการเป็นมาของภาษาซีและกระบวนการ
แปลภาษาจะช่วยให้ผู้ใช้ภาษาซีในรุ่นและบริษัทผู้ผลิตแตกต่าง
กัน สามารถใช้ภาษาได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
1. ความเป็นมาของภาษาซี
ภาษาซีได้รับการพัฒนาเมื่อปี ค.ศ. 1972 โดยนายเดนนิส
ริตซี่ ตั้งชื่อว่าซีเพราะพัฒนามาจากภาษา BCLP และภาษา B
ในช่วงแรกใช้ทดลองเขียนคาสั่งควบคุมในห้องปฏิบัติการเบล(
Bell Laboratoories) เท่านั้น
เมื่อปี ค.ศ. 1972 นายไบรอัน เคอร์นิกฮัน และนายเดนนิส
ริตซี่ ร่วมกันกาหนดนิยามรายละเอียดของภาษาซี เผยแพร่
ความรู้โดยจัดทาหนังสือ The C Programming Language มี
หลายบริษัทให้ความสนใจนาไปพัฒนาต่อ จนมีภาษาซีหลาย
รูปแบบและแพร่หลายไปทั่วโลก แต่ยังไม่มีมาตรฐานคาสั่ง
เพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกันได้
ดังนั้นเมื่อปี ค.ศ. 1988ท นายริตซี่ ได้ร่วมกับสถาบัน
กาหนดมาตรฐาน ANSI สร้างมาตรฐานภาษาซีขึ้นมา มีผลให้
โปรแกรมคาสั่งที่สร้างด้วยภาษาซีสังกัดบริษัทใดๆ ก็ตามที่ใช้
คาสั่งมาตรฐานของภาษาสามารถนามาทางานร่วมกันได้
2.การทางานของคอมไพเลอร์ภาษาซี
คอมไพเลอร์เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อ
แปลภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่งมักใช้กับโปรแกรมเชิง
โครงสร้าง ลักษณะการแปลจะอ่านรหัสคาสั่งทั้งโปรแกรม
ตั้งแต่บรรทัดคาสั่งแรกถึงบรรทัดสุดท้าย หากมีข้อผิดพลาดจะ
รายงานทุกตาแหน่งคาสั่งที่ใช้งานผิดกฎไวยากรณ์ของภาษา
กระบวนการคอมไพล์โปรแกรมคาสั่งของภาษาซี มีดังนี้
1. จัดทาโปรแกรมต้นฉบับ (Source Program) หลักจาก
พิมพ์คาสั่งงาน ตามโครงสร้างภาษาที่สมบูรณ์แล้วทุก
ส่วนประกอบ ให้บันทึกโดยกาหนดชนิดงานเป็น .c เช่น
work.c
รูป แสดงโปรแกรมต้นฉบับภาษาซี รูปการบันทึกกาหนดชนิดเป็น.c
2. การแปลรหัสคาสั่งเป็นภาษาเครื่อง (Compile) หรือการ
บิวด์ (Build) เครื่องจะตรวจสอบคาสั่งทีละคาสั่ง เพื่อวิเคราะห์
ว่าใช้งานได้ถูกต้องตามรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษาซีกาหนดไว้
หรือไม่หากมีข้อผิดพลาดจะแจ้งให้ทราบ หากไม่มีข้อผิดพลาด
จะไปกระบวนการ A
3. การเชื่อมโยงโปรแกรม( Link) ภาษาซีมีฟังก์ชันมาตรฐาน
ให้ใช้งาน เช่น printf () ซึ่งจัดเก็บไว้ในเฮดเดอร์ไพล์ หรือ
เรียกว่า ไลบรารี ในตาแหน่งที่กาหนดชื่อแตกต่างกันไป ผู้ใช้
ต้องศึกษาและเรียกใช้เฮดเดอร์ไฟล์กับฟังก์ชันให้สัมพันธ์
เรียกว่าเชื่อมโยงกับไลบรารี กระบวนการนี้ได้ผลลัพธ์เป็นไฟล์
ชนิด exe
แสดงกระบวนการแปลรหัสคาสั่งของภาษาซี
สาหรับโครงสร้างของภาษาซีในเบื้องต้นนี้จะกล่าวถึง
เฉพาะรายละเอียดที่นาไปใช้ในการเขียนคาสั่งควบคุม
ระดับพื้นฐาน ผู้สร้างงานโปรแกรมจะใช้งานส่วนประกอบใน
ภาษาซีเพียงส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนฟังก์ชันหลัก ดังนี้
# include < header file > 1
Main ( )
{
Statements ; 2
}
1 ส่วนหัวของโปรแกรม (Header File)
หรือเรียกว่าฟรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ ใช้ระบุชื่อเฮดเดอร์ไฟล์
ควบคุมการทางานของฟังก์ชันมาตรฐานที่ถูกเรียกใช้งานในส่วนของ
main ( ) เฮดเดอร์ไฟล์มีชนิดเป็น.h จัดเก็บในไลบรารีฟังก์ชัน ผู้เขียน
คาสั่งงานต้องศึกษาว่าฟังก์ชันที่ใช้งานนั้นอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์ชื่ออะไร
จึงจะเรียกใช้งานได้ถูกต้อง นิยมใช้รูปแบบคาสั่ง ดังนี้
รูปแบบ # include < header_name>
อธิบาย header_name ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ที่ควบคุมฟังก์ชันมาตรฐาน
เช่น ฟังก์ชัน printf ใช้ควบคุมการแสดงผล จัดเก็บในไลบรารีชื่อ
#include <stdio.h>
ตัวอย่างคาสั่ง ประกาศฟรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ ที่ใช้ควบคุม
ฟังก์ชันมาตรฐานภาษาซี
# include <stdio.h>
อธิบาย ให้คอมไพเลอร์ค้นหาไลบรารีไฟล์ชื่อ stdio.h จากไดเรก
เทอรี include
ข้อควรจา
#include <stdio.h> เก็บฟังก์ชันรับข้อมูลแสดงผลที่ต้องใช้
งานทุกโปรแกรมดังนั้น ส่วนดันทุกโปรแกรมจึงปรากฏคาสั่งนี้
แสดงตาแหน่งไฟล์ stdio.h .o ในไดเรกเทอรี include
2. ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function)
เป็นส่วนเขียนคาสั่งควบคุมการทางานภายในขอบเขต
เครื่องหมาย { } ของฟังก์ชันหลักคือ main ( ) ต้องเขียนคาสั่ง
ตามลาดับขั้นตอนจากกระบวนการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น
และขั้นวางแผนลาดับการทางานที่ได้จัดทาล่วงหน้าไว้
เช่น ลาดับการทางานด้วยแผนผังโปรแกรมเพื่อลด
ข้อผิดพลาดในขั้นตอนลาดับคาสั่งควบคุมงาน ในส่วนนี้พึง
ระมัดระวังเรื่องเดียวคือ ต้องใช้งานคาสั่งตามรูปแบบไวยากรณ์
ของภาษาซีที่กาหนดไว้
3. การพิมพ์คาสั่งควบคุมงานในโครงสร้างภาษาซี
คาแนะนาในการพิมพ์คาสั่งงาน ซึ่งภาษาซีเรียกว่า ฟังก์ชัน
(ต่อไปนี้จะเรียกว่า คาสั่ง ตามที่นิยมทั่วไป) ในส่วนประกอบ
ภายในโครงสร้างภาษาซีมีแนวทางปฏิบัติดังนี้
1. คาสั่งที่ใช้ควบคุมการประมวลผลตามลาดับที่ได้
วิเคราะห์ไว้ ต้องเขียนภายในเครื่องหมาย {} ที่อยู่ภายใต้การ
ควบคุมของ ฟังก์ชันหลักชิ่อ main ()
2. ปกติคาสั่งควบคุมงานจะเป็นอักษรตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้นบางคาสั่ง
ที่ภาษากาหนดว่าต้องเป็นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ต้องปฏิบัติตามนั้น
เพราะภาษาซีมีความแตกต่างในเรื่องตัวอักษร
3. เมื่อสิ้นสุดคาสั่งงาน ต้องพิมพ์เครื่องหมายเซมิโคลอน (;)
4. ใน 1 บรรทัด พิมพ์ได้มากกว่า 1 คาสั่ง แต่นิยมบรรทัดละ 1
คาสั่ง เพราะว่าอ่านโปรแกรมง่ายเมื่อมีข้อผิดพลาด ย่อม
ตรวจสอบและค้นหาเพื่อแก้ไขได้เร็ว
5. การพิมพ์คาสั่ง หากมีส่วนย่อย นิยมเคาะเยื้องเข้าไป เพื่ออ่าน
โปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อมีข้อผิดพลาดย่อมตรวจสอบและค้นหา
เพื่อแก้ไขได้รวดเร็ว
แสดงลักษณะการพิมพ์คาสั่งในโครงสร้างภาษาซี
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาคอมพิวเตอร์ ภาษา
กาหนดให้ดาเนินการผ่านซื่อ(identifier) ที่ผู้สร้างงานโปรแกรม
เป็นผู้กาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บชื่อและตาแหน่งที่
อยู่ (Address ) ในหน่วยความจา เพื่ออ้างอิงนาข้อมูลที่จัดเก็บนั้น
มาใช้งาน
การกาหนดชื่อที่ใช้เก็บข้อมูลต้องทาภายใต้กฎเกณฑ์ และ
ต้องศึกษาวิธีกาหนดลักษณะการจัดเก็บข้อมูลตามที่ภาษา
กาหนดไว้ ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ แบบค่าคงที่
และแบบตัวแปร ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคาสั่งกาหนดการจัดเก็บ
ข้อมูล ควรมีความรู้ในเรื่องชนิดข้อมูลก่อน
1.ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาทั้งแบค่าคงที่หรือแบบตัว
แปร ต้องกาหนดชนิดข้อมูลให้ระบบรับทราบ ในที่นี้กล่าวถึงชนิด
ข้อมูลแบบพื้นฐาน 3 กลุ่มหลักเท่านั้น
ข้อควรจา
ข้อมูลแบบข้อความใช้แบบข้อมูลแบบตัวแปรชุด เช่น char a [20] :
หมายเหตุ
ตารางแสดงชนิดข้อมูลของภาษาซีทุกชนิดแสดงในภาคผนวก
2.คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่าคงที่
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาไม่
สามารถเปลี่ยนแปลงได้
รูปแบบ Const data_type var = data ;
อธิบาย data_type คือที่ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
Var คือชื่อหน่วยความจาที่ผู้ใช้ต้องกาหนดตามกฎการตั้งชื่อ
Data คือข้อมูลที่กาหนดเป็นค่าคงที่
3 คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบตัวแปร
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาสามารถ
เปลี่ยนแปลงได้
รูปแบบ 1 var_type var_name[,….];
รูปแบบ 2 var_type var_name = data ;
อธิบาย var_type คือหน่วยชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
var name คือชื่อหน่วยความจา ที่ผู้ใช้ต้องกาหนดตามกฎการตั้งชื่อ
data คือข้อมูลที่กาหนดเป็นค่าเริ่มต้น (อาจมีหรือไม่ก็ได้)
คาสั่งที่ใช้ควบคุมการทางานขั้นพื้นฐานมี 3 กลุ่มคือ คาสั่ง
รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์แล้วนาไปจัดเก็บหน่ายความจา (input )
การเขียนสมการคานวณโดยใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์(Process)
และคาสั่งแสดงผลข้อมูล หรือข้อมูลที่จัดเก็บในหน่วยความจา
(Qutput )
1 คาสั่งแสดงผล : printf ( )
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ใช้แสดงผล สิ่งต่อไปนี้ เช่น ข้อความ ข้อมูล
จากค่าคงที่ หรือตัวแปรที่จอภาพ
รูปแบบ 1 Printf (“ string_format” , data_list ) ;
รูปแบบ 2 Printf (“string_format” ) ;
อธิบาย string_format คือลักษณะของสิ่งต่อไปนี้ เช่น ข้อความ (text ) รหัสรูปแบบ
ข้อมูล เช่น %d รหัสควบคุม เช่น n
Data_list คือข้อมูลแสดงผลอาจเป็นค่าคงที่ตัวแปร นิพจน์ หากมีหลายตัวใช้ ,
คั่น
รหัสรูปแบบข้อมูลระดับพื้นฐาน
รหัส format code ความหมาย
%c ใช้กับข้อมูลแบบ char
%d ใช้กับข้อมูลแบบ int เฉพาะฐาน10
%s ใช้กับข้อมูลแบบ string
หมายเหตุ รหัสรูปแบบข้อมูลรูปแบบ แสดงในภาคผนวก
2. คาสั่งรับข้อมูล : รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ แล้วจัดเก็บลงหน่วย
ความจาของตัวแปร
รูปแบบ Scanf ( “ string_format” , & address_list ) ;
อธิบาย string_format คือรูปแบบการแสดงผลของข้อมูลเท่านั้น เช่น %d
Address_list คือการระบุตาแหน่งที่อยู่ในหน่วยความจาต้องใช้สัญลักษณ์
&(Ampersand) นาหน้าชื่อตัวแปรเสมอ
ข้อควรจา กรณีเป็นตัวแปรข้อความ (String) สามารถยกเว้นไม่ต้องใช้ & นาหน้าได้
3. คาสั่งประมวลผล : expression
ประสิทธิภาพคาสั่ง : เขียนคาสั่งแบบนิพจน์เพื่อประมวลผล แล้ว
นาข้อมูลที่ได้ไปจัดเก็บในหน่วยความจาของตัวแปรที่ต้อง
กาหนดชื่อและชนิดข้อมูลไว้แล้ว
รูปแบบ Var = expression ;
อธิบาย var คือชื่อหน่วยความจาชนิดตัวแปร
Expression คือสมการนิพจน์ เช่น สูตรคานวณทางคณิตศาสตร์
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1. ส่วนป้อนข้อมูล ผู้ใช้ระบบงานป้อนค่า ; เก็บในหน่วยความจา
x และป้อนค่า A เก็บในหน่วยความจา y ด้วยคาสั่ง
Printf ( “data x=” ) ; scanf ( “%d ,&x ) ;
Printf ( “data y=” ) ; scanf ( “%d ,&y ) ;
2.ส่วนประมวลผล ระบบจะนาค่าไปประมวลผลตามนิพจน์
คณิตศาสตร์
r = 2 + 3 * 2 ; ได้คาตอบคือ 8
s = (2 + 3 ) * 2; ได้คาตอบคือ 10
t = 2 + 3 * 2-1 ; ได้คาตอบคือ 7
ทั้งนี้คอมพิวเตอร์ประมวลผล โดยยึดหลักลาดับความสาคัญของเครื่องหมาย
ทางคณิตศาสตร์ เช่นคานวณเครื่องหมาย * ก่อนเครื่องหมาย +
3.ส่วนแสดงผล คาสั่งควบคุมให้แสดงผลลัพธ์
Printf ( “r = x + y * 2 = %d n” , r ) ;
Printf ( “r = (x + y X* 2 = %d n” , s ) ;
Printf ( “r = x + y * 2-1 = %d n” , t ) ;
ภาษาซีมีคาสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพาะข้อมูลประเภท 8
อักขระ (char )ดังนี้
5.1 คาสั่ง putchar ( )
แสดงผลข้อมูลจากหน่วยความจาของตัวแปร ทางจอภาพครั้งละ1
อักขระเท่านั้น
รูปแบบ Putchar ( char_argument) ;
อธิบาย putchar_argument คือ ข้อมูลชนิดอักขระ
ผลทดสอบโปรแกรม
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1. กาหนดค่า ‘A’ เก็บในตัวแปรประเภท char ชื่อ word1 และ
กาหนดค่า ‘1’ เก็บในตัวแปรชื่อ word2 ด้วยคาสั่ง char
word1=’A’ , word2=’1’
2. เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลทีละ 1 อักขระ โดยไม่ต้องใช้
สัญลักษณ์ขึ้นบรรทัดใหม่ด้วยคาสั่ง putchar(word1);
putcar(word2); จึงพิมพ์คาว่า A1 ที่จอภาพ
5.2คาสั่ง getchar ( )
รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ และแสดงอักขระที่
จอภาพ จากนั้นต้องกดแป้นพิมพ์ที่ Enter เพื่อนาข้อมูลบันทึกลง
หน่วยความจาด้วย
รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร
getchar ( ) ;
รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร
char_var = getchar ( ) ;
อธิบาย char_var คือ ข้อมูลชนิด char
ผลทดสอบโปรแกรม
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1.เขียนคาสั่งควบคุมการป้อนข้อมูลประเภทอักขระด้วยคาสั่ง
printf ( “Key 1 Character = “ ) ;
word = getchar ( );
หมายถึงป้อนอักขระ 1 ตัว เช่น a จะแสดงค่า ให้เห็นที่
หน้าจอด้วย แล้ว ต้องกดแป้นEnter เพื่อนาข้อมูลบันทึกลง
หน่วยความจาตัวแปรประเภท char ชื่อ word
2 . เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลจากหน่วยความจา word จึง
เห็นค่า a ( แทนที่ word)
printf ( “You key Character is = %cn”, word ) ;
5.3 คาสั่ง getch ( )
รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ แต่ ไม่ปรากฏ
อักษรบนจอภาพ และ ไม่ต้องกดแป้น Enter
รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร
getch( ) ;
รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร
char_var = getch 1( ) ;
อธิบาย char_var คือ ข้อมูลชนิดอักขระ
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1.เขียนคาสั่งควบคุมการป้อนข้อมูลประเภทอักขระด้วยคาสั่ง
printf ( “Key 1 Character = “ ) ;
word = getch ( );
หมายถึงป้อนค่าใดทางแป้นพิมพ์เป็นอักขระ 1 ตัว เช่น a จะ
ไม่แสดง ค่าให้เห็นที่หน้าจอไม่ต้อง กดแป้น Enter เพื่อนาข้อมูล
บันทึกลงหน่วยความจาตัวแปรประเภท char ชื่อ word
2.เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลจากหน่วยความจา word จึงเห็น
ค่า a ( แทนที่ word )
printf ( “You key Character is = %cn”, word ) ;
5.4 คาสั่ง getche( )
รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ และ แสดง อักษรบน
จอภาพ และ ไม่ต้องกดแป้น Enter
รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร getche ( );
รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร char_var =
getche ( );
อธิบาย char_var คือ ข้อมูลชนิดอักขระ
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1.เขียนคาสั่งควบคุมการป้อนข้อมูลประเภทอักขระด้วยคาสั่ง
printf ( “Key 1 Character = “ ) ;
word = getche ( );
หมายถึงป้อนค่าใดทางแป้นพิมพ์เป็นอักขระ 1 ตัว เช่น a จะ
แสดง ค่าให้เห็นที่หน้าจอ และไม่ต้อง กดแป้น Enter เพื่อนา
ข้อมูลบันทึกลงหน่วยความจาตัวแปรประเภท char ชื่อ word
2.เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลเพื่อแสดงค่าจากหน่วยความจา
word จึงเห็นค่า a ( แทนทิ่ word )
printf ( “You key Character is = %cn”, word ) ;
ผลทดสอบโปรแกรม
ภาษาซีมีคาสั่งใช้ในการรับข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความ
(String) ในภาษาซีคือชนิดข้อมูล char [n] จัดเก็บใน
หน่วยความจา และแสดงผลข้อมูลประเภทข้อความเท่านั้น มี
รายละเอียดดังนี้
6.1.คาสั่ง puts( )
6.2.คาสั่ง gets( )
6.1.คาสั่ง puts( )
แสดงผลข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความทางจอภาพครั้งละ 1
ข้อความ
รูปแบบputs ( string_argument ) ;
อธิบาย string_argument คือ ข้อมูลชนิดข้อความ
ผลทดสอบโปรแกรม
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1.เขียนคาสั่งกาหนดค่าข้อความเก็บในตัวแปรชื่อ word
Char word [15] = “*Example * “ ;
2.เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลในลักษณะข้อความด้วย puts
Puts ( word ) ;
Puts (“**************”);
6.2คาสั่ง gets ( )
รับข้อมูล ข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้องกดแป้น Enter
รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร gets ( );
รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร
string_var =gets ( ) ;
อธิบาย string_var คือ ข้อมูลชนิดข้อความ
ผลทดสอบโปรแกรม
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคมการทางาน
1.เขียนคาสั่งให้รับข้อมูล ชนิดข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้อง
กดแป้น Enter เพื่อนาข้อความบันทึกลงตัวแปรชนิดข้อความ
ด้วยคาสั่ง gets (word) ;
2.เขียนคาสั่งควบคุมให้แสดงผลลักษณะข้อความด้วย
printf ( “You name is = %sn”, word ) ;
1. กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานดาเนินงานข้อมูล
ประเภทตัวแปร
ผลทดสอบโปรแกรม
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1.ประกาศพรีดปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ #include <stdio.h>ระบุ
ไลบรารีควบคุมคาสั่ง
2.เขียนหมายเหตุ (remark) เช่น /* calculate// cal1.c*/ชื่อแฟ้มงาน
ที่จัดเก็บโปรแกรมนี้
3.กาหนดชื่อหน่วยความจา ประเภทตัวแปรและชนิดข้อมูลที่
จัดเก็บในที่นี้คือ int n1,n2,result;(ตัวแปร3ตัว คือ n1,n2และ
result เก็บค่าจานวนเต็ม)
4.พิมพ์หัวข้อรายงานของโปรแกรมระบบงานนี้ เช่น
printf(“*calculate Add*nn*);n คือ เลื่อนเคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัด
ใหม่
5.ส่วนป้อนข้อมูลเข้าระบบ เขียนคาสั่งควบคุม printf (“key number
1 =”) ; scanf(“%d”,&n1); ผลลัพธ์ คือ key number 1 =(ป้อน
ข้อมูลตัวเลขจานวนเต็ม)
6.ส่วนเขียนนิพจน์ เพื่อประมวลผลสมการ เช่น result= n1+n2; (นา
ค่าในตัวแปร n1 กับ n2 บวกกัน แล้วเก็บในตัวแปรชื่อ result)
7.ส่วนแสดงผล ที_เก็บไว้ในตัวแปรจากนิพจน์ เช่น
printf (“n**Result =%dn” ,result);
(เลื่อนเคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัดใหม่แล้วพิมพ์ ** Result = ตามด้วยค่า
result ที่เป็นเลขจานวนเต็ม %d แล้วเลื่อนเคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัด
ใหม่)
2.กรณีศึกษาใช้คาสั่งควบคุมพื้นฐาน ดาเนินงานข้อมูลประเภท
ค่าคงที่และแสดงนิพจน์ที่ระบบคานวณตามลาดับความสาคัญ
ของเครื่องหมาย
ผลทดสอบโปรแกรม
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1.เขียนคาสั่งกาหนดชื่อหน่วยความจา
1.1 ) หน่วยความจาประเภทค่าคงที่ พร้อมกาหนดค่าให้เก็บใน
หน่วยความจา
const char line[20] = “**************”;
const int n3 =2;
1.2)หน่วยความจาประเภทตัวแปร
int n1,n2 ,result ;
2. พิมพ์หัวข้อรายงาน
printf("*Calculate Value * nn");
printf(line);
3.ส่วนป้อนข้อมูล เขียนคาสั่งควบคุมให้พิมพ์ข้อความ และคาสั่ง
ควบคุมให้ป้อนข้อมูลเข้าระบบ
printf("n key number 8 = "); scanf("%d" , &n8);
printf(" key number ; = "); scanf("%d" , &n;);
4.ส่วนประมวลผล เขียนคาสั่งควบคุมประมวลผลนิพจน์
คณิตศาสตร์
result = n8 + n; * nA;
5. ส่วนแสดงผล เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลตัวแปร
printf("n %d + %d * %d = %d n" , n8, n;, nA, result);
3.กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมพื้นฐานดาเนินงานข้อมูลประเภท
ทศนิยม
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1. ส่วนป้อนข้อมูล เขียนคาสั่งควบคุมให้ผู้ใช้ระบบป้อนข้อมูลชื่อ
นักศึกษาและคะแนนด้วยคาสั่ง
printf (“n key syudent name :”) ; scanf (“%s” , name);
printf (“key score :”); scanf(“%d” , &score);
2. ส่วนประมวลผล เขียนคาสั่งควบคุมการประมวลผลนิพจน์ตาม
โจทย์กาหนด
result = (score * 100) /250 ;
3. ส่วนแสดงผล เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลด้วยคาสั่ง
printf(“n * percentage = %f n” , result) ;
4. กรณีศึกษา แสดงขั้นตอนการสร้างงานโปรแกรม และชุดคาสั่ง
ควบคุมพื้นฐาน
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1. วิเคราะห์คุณสมบัติหน่วยความจา ด้วยการกาหนดชื่อตัวแปร
และชนิดข้อมูล
char name[30];
int code, sum,num;
float avg;
2. ส่วนป้อนข้อมูล เขียนคาสั่งควบคุมการนาข้อมูลเข้า
หน่วยความจาตัวแปร
printf(“ code =>”); scanf(“%d”, &code);
printf(“ name =>”); scanf(“%s”, &name);
printf(“ summit =>”); scanf(“%d”, &sum);
printf(“ number =>”); scanf(“%d”, &num);
3. ส่วนประมวลผล เขียนคาสั่งควบคุมการทางานของนิพจน์
avg = sum/num;
4. ส่วนแสดงผล เขียนคาสั่งควบคุมแสดงผลลัพธ์จากตัวแปร
printf(“* average = % .2f n” , avg);
ผลทดสอบโปรแกรม
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1. วิเคราะห์คุณสมบัติหน่วยความจา ด้วยการกาหนดชื่อตัว
แปรและชนิดข้อมูล
char name[40];
float budget, maint, pub, remain ;
2. ส่วนป้อนข้อมูล เขียนคาสั่งควบคุมการนาข้อมูลเข้า หน่วยความจาตัว
แปร
printf(“project name = ”); scanf(“%s” , name);
printf(“budget = ”) ; scanf(“%f” , &budget) ;
3. ส่วนประมวลผล เขียนคาสั่งควบคุมประมวลผลนิพจน์
maint = budget * 20/100 ;
pub = (budget - maint) * </8BB ;
remain = budget – maint – pub ;
4. ส่วนแสดงผล เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลลัพธ์จากตัวแปร
printf(“n ** maintenance = %.2f n” , maint);
printf(“n ** public utility = %.2f n” , pub);
printf(“n ** remain = %.2f n” , remain);
มัธยมศึกษาปีที่ 6/2
1.นายธนกาญจน์ สังข์สุวรรณ เลขที่ 4
2.นายศิวกร ชาติสิงหเดช เลขที่ 6
3.นายศุภชีพ กนกพัฒนากร เลขที่ 7
4.นายธนนนท์ สงเจริญ เลขที่ 12
5.นางสาวดลญา เหลืองทอง เลขที่ 17
6.นางสาวนพรัตน์ โชติกปฏิพัทธ์ เลขที่ 19
7.นางสาวอัจฉราวรรณ ฉิมพวัน เลขที่ 24

More Related Content

What's hot

การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมBaramee Chomphoo
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานVi Vik Viv
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานRatchanok Nutyimyong
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมKashima Seto
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2 1118192239
 
บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)N'Name Phuthiphong
 
รายงานบทที่ 5
รายงานบทที่ 5รายงานบทที่ 5
รายงานบทที่ 5Sarapao' Oat
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกSupicha Ploy
 

What's hot (18)

3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
 
บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
รายงานบทที่ 5
รายงานบทที่ 5รายงานบทที่ 5
รายงานบทที่ 5
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูลตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 

Similar to การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBoOm mm
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C ProgrammingWarawut
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]Mook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระMook Sasivimon
 
ตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอPz'Peem Kanyakamon
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดPear Pimnipa
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 

Similar to การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2 (20)

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ภาษาซึี
ภาษาซึีภาษาซึี
ภาษาซึี
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
 
7 1 dev c++
7 1 dev c++7 1 dev c++
7 1 dev c++
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอ
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Intro c
Intro cIntro c
Intro c
 

More from Tay Atcharawan

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2Tay Atcharawan
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรTay Atcharawan
 

More from Tay Atcharawan (7)

Mymap
MymapMymap
Mymap
 
Netbeans
NetbeansNetbeans
Netbeans
 
It new dream
It new dreamIt new dream
It new dream
 
It news
It newsIt news
It news
 
Com
ComCom
Com
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 

การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2