SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
วิวัฒนาการการปกครองท้องถิ่นไทย

                  จัดทาโดย

        นางสาว พรพิมล อนุศาสน์โกศล

           รหัสนิสิต 53010118001


        สาขาวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นปี 2

วิชา คอมพิวเตอร์กับการนาเสนองาน กลุ่มเรียนที่6
วิวัฒนาการการปกครองท้องถิ่นไทย
การปกครองท้องถิ่นก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ
1.สมัยสุโขทัย (พ.ศ.1718-1893) สมัยสุโขทัยการจัดการปกครองจะเป็นแบบพ่อปกครองลูก
โดยมีศูนย์กลางที่เมืองหลวง มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข รายรอบเมืองหลวงประกอบด้วย
หัวเมืองต่า ง ๆ 3 ชั้น ได้แก่ หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก และหัวเมืองประเทศราชซึ่ ง
พลเมืองเป็นต่างชาติ
       ต่อมาสมัยกรุงศรีอยุธยาระยะแรกการปกครองได้เปลี่ยนแปลงไปบ้างจากสมัยสุโขทัย
ในสมั ย อยุ ธ ยาพระมหากษั ต ริ ย์ ท รงมี ฐ านะเสมื อ นเทพและการปกครองในระบอบสม
บูรณาญาสิทธิราช ทั้งนี้ เป็นผลจากอิทธิพลของลัทธิ เทวสิทธิ์ของขอมและอินเดีย แนวการ
ปกครองแบบนี้เรียกว่า การปกครองแบบนายปกครองบ่าว
       กล่าวได้ว่า สมัยสุโขทัยจนถึงอยุธยาก่อนการปฏิรูปของสมเด็จพรบรมไตรโลกนาถ
ประเทศไทยไม่มีการแบ่งการปกครองออกเป็น ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นอย่าง
ชัดเจน
2.สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (สมัยอยุธยา)
        ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) ทรงมีพระราชดาริที่จะรวม
อานาจสู่ส่วนกลาง และได้ทรงนาระบบจตุสดมภ์มาใช้ในการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วน
การจัดระเบียบการปกครองหัวเมือง ทรงได้แบ่งหัวเมืองเป็น 2 ชั้น ได้แก่ หัวเมืองชั้นใน และ
หัวเมืองชั้นนอกแบ่งออกเป็นเมืองชั้นเอก โท และตรี ภายใต้หัวเมืองทั้งสองประเภท ได้แบ่ง
เขตการปกครองออกเป็นส่วนย่อย ได้แก่
        1.เมือง (จังหวัดในปัจจุบัน) มีผู้รั้ง หรือเจ้าเมืองเป็นผู้ปกครอง
        2.แขวง (อาเภอในปัจจุบัน) มีผู้ปกครองแขวงเรียกว่า หมื่นแขวง
        3.ตาบล มีพนักงานปกครองตาบล ซึ่งมักมีบรรดาศักดิ์เป็น พัน เป็นผู้ดูแล
        4.บ้าน หรือหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งผู้ปกครองเมืองแต่งตั้ง
แนวคิดในการจัดการปกครองสมัยนี้คงให้ความสาคัญต่อการรวมอานาจที่ส่วนกลางหรือราช
ธานี ซึ่งจะมีบทบาทในการควบคุมหัวเมืองอย่า งใกล้ชิด เว้นแต่เมืองประเทศราชที่ให้คน
พื้นเมืองปกครองกันเอง สาหรับการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามแนวคิดในปัจจุบันยังไม่
ปรากฏชัดในระยะนี้
3.สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
                (สมัยรัตนโกสินทร์)
      กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ราชอาณาจักรสยามถูกการคุกคามจาก
ลัทธิจักรวรรดินิยมของประเทศอังกฤษ และฝรั่งเศส การขาดเอกภาพและความ
มั่นคง ราชอาณาจักรสยามจึงต้องมีการปรับตัวขนานใหญ่ เพื่อปฏิรูปประเทศให้
ทันสมัยและสามารถเผชิญหน้ากับชาติตะวันตกที่ออกล่าอาณานิคม
      นับ ตั้ ง แต่ รั ช สมัย พระบาทสมเด็ จพระจอมเกล้ า เจ้ าอยู่ หั ว สื บ เนื่ องมาถึ ง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการยกเลิกและปรับปรุงวัฒนธรรม
ประเพณีเดิม ตลอดจนมีการส่งนักเรียนไปศึกษาต่อในยุโรปและสหรัฐอเมริกา
รัชกาลที่ 5 ได้ทรงปฏิรูปการปกครองประเทศ จากลักษณะที่อานาจกระจายไปตาม
หัวเมืองต่าง ๆ ในยุคสยามกรุงเก่า ให้เป็นการรวมศูนย์อานาจเข้าส่วนกลางด้วย
เหตุผลเพื่อผนึกกาลังภายในประเทศต่อต้า นการรุกรานจากชาติม หาอานาจใน
ขณะนั้ น เป็ น ส าคั ญ การ ปกครองในสมั ย ร.5 แบ่ ง ออกเป็ น 3 ด้ า น ได้ แ ก่ การ
ปกครองส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
1) การจัดการปกครองส่วนกลาง
      ในการจัดระเบียบการปกครองส่วนกลาง รัชกาลที่ 5 ทรงศึกษาแบบแผนจาก
ชาติยุโรป โดยทรงยกเลิกระบบจตุสดมภ์ และประกาศใช้พ ระบรมราชโองการ
ปรับปรุงการบริหารส่วนกลาง โดยจัดตั้งกรม 12 กรม คือ กรมมหาดไทย กรมพระ
กลาโหม กรมการต่างประเทศ กรมวัง กรมเมืองหรือนครบาล กรมนาหรือเกษตราธิ
การ กรมพระคลังมหสมบัติ กรมยุติธรรม กรมยุทธนาธิการ กรมธรรมการ กรม
โยธาธิการ และกรมมุรธาธิการ ซึ่งแต่ละหน่วยต่างมีอานาจหน้าที่ที่กาหนดไว้อย่าง
ชัดเจน เพื่อป้องกันความยุ่งยากสับสนในการทางาน การจัดรูปบริหารส่วนกลาง
ใหม่นี้ เป็นการจัดกรอบโครงสร้างกลไกของรัฐให้เป็นเครื่องมือรับใช้เป้หมาย คือ
การสร้างรัฐ ซึ่งมีหน่วยงานดังกล่าวเป็นกลไกหลัก โดยมีหน้าที่ในการสร้างบูรณา
การแก่รัฐด้วยการเข้าไปควบคุมจัดการปกครองและเก็บภาษีในหัวเมืองต่าง ๆ ทั้งนี้
ภารกิจหลักของรัฐ มี 3 ด้าน คือ การรักษาพระราชอาณาเขต การจัดเก็บรายได้และ
การปกครอง ซึ่งประการสุดท้ายนี้หมายถึง การรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน
การชาระความขัดแย้งราษฎร
2) การจัดการปกครองส่วนภูมิภาค
      ในการจั ด การปกครองส่ว นภู มิ ภ าคหรื อ เรี ย กอี กอย่ า งหนึ่ ง ว่ า เป็ น ระบบ
มณฑลเทศาภิบาล ทรงมีพระราชดาริให้เป็นการเสริมความเป็นปึกแผ่น และเป็น
อันหนึ่งอันเดียวกันของราชอาณาจักร โดยอนุโลมตามแบบแผนการปกครองเดิมให้
มากที่สุด และทรงจัดให้มีหน่วยราชการเพิ่มเติม คือ “มณฑลเทศาภิบาล” เพื่อเป็น
ตัวแทนของรัฐบาลกลาง ทาหน้าที่ประสานงานระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
และอุดช่องโหว่ของระบบการควบคุมแต่เดิม หน่วยงานส่วนกลางที่รับผิดชอบดูแล
การจั ด การปกครองส่ ว นภู มิ ภ าค คื อ กระทรวงมหาดไทย การปกครองระบบ
มณฑลเทศาภิบาลเป็นระบบการปกครองที่สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพองค์
ปฐมเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ทรงปรับปรุงขึ้น ในสมัยนี้ได้แบ่งการปกครอง
ส่วนภูมิภาคออกเป็นระดับต่าง ๆ ดังนี้ (1) มณฑลเทศาภิบาล (2) เมืองหัวเมือง (3)
อาเภอ (และเมืองขึ้น) (4) ตาบล (5) หมู่บ้าน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1) การจัดระเบียบบริหารการปกครองของมณฑลเทศาภิบาล
        ลักษณะของมณฑลเทศาภิบาล มณฑลเทศาภิบาลเป็นหน่วยการปกครองส่วน
 ภูมิภาคที่ใหญ่ที่สุดประกอบด้วยหน่วยการปกครองชั้นรองลงไป ได้แก่ เมือง อาเภอ
 ตาบล และหมู่บ้าน
        การจั ด ส่ ว นราชการในมณฑลเทศาภิ บ าล การจั ด ส่ ว นราชการในมณฑล
 เทศาภิ บ าลแบ่ ง ออกเป็ น 3 แผนก ได้ แ ก่ แผนกมหาดไทย แผนกอั ย การ แผนก
 สรรพากร
        ข้าราชการประจามณฑลเทศาภิบาล มีชื่อเรียกตามตาแหน่งต่าง ๆ ดังนี้ข้าหลวง
 เทศาภิ บ าล ข้ า หลวงมหาดไทย ข้ า หลวงยุ ติ ธ รรม ข้ า หลวงคลั ง ปลั ด มณฑล
 ผู้ตรวจการ ใน ร.ศ. 114 (พ.ศ. 2483) ได้มีการเปลี่ยนแปลงบางตาแหน่ง คือ ตาแหน่ง
 ข้าหลวงยุติธรรม ได้เปลี่ยนเป็น ยกกระบัตรมณฑล มีอานาจหน้าที่เป็นหน่วยงาน
 ประจาท้องที่ ของกรมมหาดไทยฝ่ายเหนือประจามณฑล ส่วนงานด้านการคลังได้
 จัดตั้งมณฑล เป็นสาขาของกระทรวงพระคลังมหาสมบัติโดยตรง รวมทั้งได้แต่งตั้ง
 ผู้ช่วยสรรพากรมณฑล อีก 1 ตาแหน่ง เพื่อช่วยงานมรรพากรมณฑล
2) การจัดระเบียบบริหารการปกครองของเมือง
          หลักการและแนวความคิด สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพได้รับมอบหมายให้ปรับปรุงการ
บริ หารราชการส่วนภูมิ ภ าค จึง ทรงปรับ ปรุง เมืองให้ เ ป็นจั กรกลส าคัญขิงการบริ หารราชการส่ว นนี้
          การปรับปรุงการบริหารงานบุคคล ราชการส่วนกลางเป็นผู้พิจารณาเรื่องการ แต่งตั้ง โยกย้าย
เลื่อนชั้น ถอดถอน พิจารณาความดีความชอบ
          การจัดส่วนองค์กรและข้าราชการหัวเมือง มี 3 แผนก ได้แก่ แผนกมหาดไทย แผนกสรรพากร
แผนกอัยการ
          ผู้ว่าราชการเมือง เป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารราชการทุกอย่างในเมือง ยกเว้นการ
พิพากษาคดีทางศาล
          กรมการเมืองในทาเนียบ ได้แก่ ข้าราชการประจา มี 3คน คือ ปลัดเมือง ยกกระบัตร และผู้ช่วย
ราชการประกอบด้วยผู้ว่าราชการเมือง และกรมการเมืองอีก 2คณะ ได้แก่ กรมการในทาเนียบ และกรสกา
รนอกทาเนียบ
          กรมการเมืองนอกทาเนียบ มีบทบาทในการให้คาปรึกษาหารือแก่ผู้ว่าราชการเมืองและกรมการ
เมืองในทาเนียบ
          กล่าวโดยสรุป หน่วยบริหารราชการชั้นเมืองเป็นหน่วยงานชั้นรองอยู่ใต้การบังคับบัญชาของ
มณฑลเทศาภิบาล
3) การจัดระเบียบบริหารการปกครองของอาเภอ
       หลักการบริหารการปกครองของอาเภอ คือ เป็นหน่วยบริหารราชการส่วนภูมิภาคขึ้นตรง
ต่อกระทรวงมหาดไทย มีฐานะเป็นหน่วยปฏิบัติการที่เป็นสาขาหรือตัวแทนของรัฐที่ใกล้ชิดกับ
ประชาชนมากที่สุด
       การจัดหน่วยบริหารราชการของอาเภอ ตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ ร.
ศ. 116 (พ.ศ. 2440) ได้กาหนดหลักเกณฑ์การจัดตั้งอาเภอ โดยพิจารณาตามจานวนพลเมืองที่
อาศัยในพื้นที่หรือความกว้างของพื้นที่ ต่อมา พ. ส. 2475 ได้กาหนดให้การจัดตั้งอาเภอใหม่เป็น
ดุลยพินิจของข้าหลวงเทศาภิบาลหรือสมุหเทศาภิบาล และสามารถจัดตั้ง “กิ่งอาเภอ” ได้
       ข้า ราชการประจ าอ าเภอจะประกอบด้ วยข้ าราชการ 2ประเภท คื อ ข้ า ราชการที่เ ป็ น
กรมการอ าเภอ และที่ ไม่ ไ ด้เ ป็ นกรมการอ าเภอ ประเภทแรก ได้แ ก่ นายอ าเภอ ปลัด อ าเภอ
สมุห์บัญชีอาเภอ ประเภทที่ 2 ได้แก่ เสมียนพนักงาน สาหรับกิ่งอาเภอให้มีกรมการอาเภอ รอง
จากนายอาเภอ และเสมียนพนักงานประจาการ การจัดหน้าที่ระยะแรกแบ่งเป็น ปลัดอัยการ และ
ปลัดธุรการ การแบ่งงานนี้เป็นอุปสรรคต่อการตรวจท้องที่ จึงได้แบ่งออกเป็นปลัดขวาและซ้าย
ปลัดขวาซึ่งอาวุโสกว่าเป็นผู้ช่วยและผู้แ ทนนายอาเภอทุกกิจการ ปลัดซ้ายอยู่ประจาที่ว่าการ
รับผิดชอบระเบียบการทุกอย่าง กรมการอาเภอมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยในท้องที่
4) การจัดระเบียบบริหารการปกครองของตาบลและหมู่บ้าน
        หลั ก การปกครองของต าบลและหมู่ บ้ า น ให้ ก านั น ผู้ ใ หญ่ บ้ า นเป็ น
 หัวหน้าการปกครองชั้นตาบลและหมู่บ้าน มีฐานะเป็นตัวแทนของประชาชน
 ในท้ อ งที่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น ตั ว เชื่ อ มระหว่ า งรั ฐ บาลและประชาชน โดย
 ประชาชนเลือกผู้ใหญ่บ้าน จากนั้นผู้ใหญ่บ้านเลือกกานัน
        จากการจัดรูปมณฑลอย่างต่อเนื่องตลอดรัชสมัยของรัชกาลที่ 5 แสดง
 ถึงบทบาทอันสาคัญยิ่งของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นบทบาทการสร้างรัฐ
 เดี่ยว กล่าวคือ มิติการจัดกระทรวงในฐานะที่เป็นกรอบใหญ่ของการบริหาร
 ราชการแผ่นดินและมิติที่สองเป็นการอาศัยกรอบดังกล่าวผนึกกาลังอานาจ
 ของเมืองหลวง และปรับปรุงเปลี่ยนแปลงส่วนภูมิภาคตามกระบานการสร้าง
 รัฐเดี่ยว
การปกครองท้องถิ่นภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
              (พ.ศ.2475-2535)
    ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีการปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารราชการอีกครั้งในช่วงปลายปี พ.ศ. 2476 รัฐบาลได้ปรับปรุง
โครงสร้ า งการบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น อี ก ครั้ ง หนึ่ ง โดยตรา
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
พระราชบัญญัติ
1. พระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476
2. พระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476
3. พระราชบัญญัติสภาจังหวัด พ.ศ. 2481
4. พระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2495
5. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2495
6. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496
7. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498
8. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนตาบล พ.ศ. 2499
9. ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 326
10. ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 335
11. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518
12. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2521
13. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528
14. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
กล่าวโดยสรุป การริเริ่มจัดให้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตาม
กฎหมายฉบับต่ า ง ๆ นับ เป็นพื้ นฐานของจุด กาเนิด การปกครองส่วน
ท้องถิ่นไทยในเวลาต่อมาหลาย ๆ รูปแบบ
พรพิมล

More Related Content

What's hot

ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเกวลิน แก้ววิจิตร
 
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจเศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจimmsswm
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์russana
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีปรียา พรมเสน
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์I'Lay Saruta
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์Kittayaporn Changpan
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
6. ใบความรู้
6. ใบความรู้6. ใบความรู้
6. ใบความรู้kopkaewkoki2014
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.Aphon Pleonphana
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 

What's hot (20)

ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจเศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
02 ma
02 ma02 ma
02 ma
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
6. ใบความรู้
6. ใบความรู้6. ใบความรู้
6. ใบความรู้
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 

Similar to พรพิมล

บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2Saiiew
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์krunrita
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar to พรพิมล (14)

พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมล
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
สมุทรสงคราม
สมุทรสงครามสมุทรสงคราม
สมุทรสงคราม
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 

พรพิมล

  • 1. วิวัฒนาการการปกครองท้องถิ่นไทย จัดทาโดย นางสาว พรพิมล อนุศาสน์โกศล รหัสนิสิต 53010118001 สาขาวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นปี 2 วิชา คอมพิวเตอร์กับการนาเสนองาน กลุ่มเรียนที่6
  • 2. วิวัฒนาการการปกครองท้องถิ่นไทย การปกครองท้องถิ่นก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ 1.สมัยสุโขทัย (พ.ศ.1718-1893) สมัยสุโขทัยการจัดการปกครองจะเป็นแบบพ่อปกครองลูก โดยมีศูนย์กลางที่เมืองหลวง มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข รายรอบเมืองหลวงประกอบด้วย หัวเมืองต่า ง ๆ 3 ชั้น ได้แก่ หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก และหัวเมืองประเทศราชซึ่ ง พลเมืองเป็นต่างชาติ ต่อมาสมัยกรุงศรีอยุธยาระยะแรกการปกครองได้เปลี่ยนแปลงไปบ้างจากสมัยสุโขทัย ในสมั ย อยุ ธ ยาพระมหากษั ต ริ ย์ ท รงมี ฐ านะเสมื อ นเทพและการปกครองในระบอบสม บูรณาญาสิทธิราช ทั้งนี้ เป็นผลจากอิทธิพลของลัทธิ เทวสิทธิ์ของขอมและอินเดีย แนวการ ปกครองแบบนี้เรียกว่า การปกครองแบบนายปกครองบ่าว กล่าวได้ว่า สมัยสุโขทัยจนถึงอยุธยาก่อนการปฏิรูปของสมเด็จพรบรมไตรโลกนาถ ประเทศไทยไม่มีการแบ่งการปกครองออกเป็น ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นอย่าง ชัดเจน
  • 3. 2.สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (สมัยอยุธยา) ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) ทรงมีพระราชดาริที่จะรวม อานาจสู่ส่วนกลาง และได้ทรงนาระบบจตุสดมภ์มาใช้ในการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วน การจัดระเบียบการปกครองหัวเมือง ทรงได้แบ่งหัวเมืองเป็น 2 ชั้น ได้แก่ หัวเมืองชั้นใน และ หัวเมืองชั้นนอกแบ่งออกเป็นเมืองชั้นเอก โท และตรี ภายใต้หัวเมืองทั้งสองประเภท ได้แบ่ง เขตการปกครองออกเป็นส่วนย่อย ได้แก่ 1.เมือง (จังหวัดในปัจจุบัน) มีผู้รั้ง หรือเจ้าเมืองเป็นผู้ปกครอง 2.แขวง (อาเภอในปัจจุบัน) มีผู้ปกครองแขวงเรียกว่า หมื่นแขวง 3.ตาบล มีพนักงานปกครองตาบล ซึ่งมักมีบรรดาศักดิ์เป็น พัน เป็นผู้ดูแล 4.บ้าน หรือหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งผู้ปกครองเมืองแต่งตั้ง แนวคิดในการจัดการปกครองสมัยนี้คงให้ความสาคัญต่อการรวมอานาจที่ส่วนกลางหรือราช ธานี ซึ่งจะมีบทบาทในการควบคุมหัวเมืองอย่า งใกล้ชิด เว้นแต่เมืองประเทศราชที่ให้คน พื้นเมืองปกครองกันเอง สาหรับการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามแนวคิดในปัจจุบันยังไม่ ปรากฏชัดในระยะนี้
  • 4. 3.สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (สมัยรัตนโกสินทร์) กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ราชอาณาจักรสยามถูกการคุกคามจาก ลัทธิจักรวรรดินิยมของประเทศอังกฤษ และฝรั่งเศส การขาดเอกภาพและความ มั่นคง ราชอาณาจักรสยามจึงต้องมีการปรับตัวขนานใหญ่ เพื่อปฏิรูปประเทศให้ ทันสมัยและสามารถเผชิญหน้ากับชาติตะวันตกที่ออกล่าอาณานิคม นับ ตั้ ง แต่ รั ช สมัย พระบาทสมเด็ จพระจอมเกล้ า เจ้ าอยู่ หั ว สื บ เนื่ องมาถึ ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการยกเลิกและปรับปรุงวัฒนธรรม ประเพณีเดิม ตลอดจนมีการส่งนักเรียนไปศึกษาต่อในยุโรปและสหรัฐอเมริกา รัชกาลที่ 5 ได้ทรงปฏิรูปการปกครองประเทศ จากลักษณะที่อานาจกระจายไปตาม หัวเมืองต่าง ๆ ในยุคสยามกรุงเก่า ให้เป็นการรวมศูนย์อานาจเข้าส่วนกลางด้วย เหตุผลเพื่อผนึกกาลังภายในประเทศต่อต้า นการรุกรานจากชาติม หาอานาจใน ขณะนั้ น เป็ น ส าคั ญ การ ปกครองในสมั ย ร.5 แบ่ ง ออกเป็ น 3 ด้ า น ได้ แ ก่ การ ปกครองส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
  • 5. 1) การจัดการปกครองส่วนกลาง ในการจัดระเบียบการปกครองส่วนกลาง รัชกาลที่ 5 ทรงศึกษาแบบแผนจาก ชาติยุโรป โดยทรงยกเลิกระบบจตุสดมภ์ และประกาศใช้พ ระบรมราชโองการ ปรับปรุงการบริหารส่วนกลาง โดยจัดตั้งกรม 12 กรม คือ กรมมหาดไทย กรมพระ กลาโหม กรมการต่างประเทศ กรมวัง กรมเมืองหรือนครบาล กรมนาหรือเกษตราธิ การ กรมพระคลังมหสมบัติ กรมยุติธรรม กรมยุทธนาธิการ กรมธรรมการ กรม โยธาธิการ และกรมมุรธาธิการ ซึ่งแต่ละหน่วยต่างมีอานาจหน้าที่ที่กาหนดไว้อย่าง ชัดเจน เพื่อป้องกันความยุ่งยากสับสนในการทางาน การจัดรูปบริหารส่วนกลาง ใหม่นี้ เป็นการจัดกรอบโครงสร้างกลไกของรัฐให้เป็นเครื่องมือรับใช้เป้หมาย คือ การสร้างรัฐ ซึ่งมีหน่วยงานดังกล่าวเป็นกลไกหลัก โดยมีหน้าที่ในการสร้างบูรณา การแก่รัฐด้วยการเข้าไปควบคุมจัดการปกครองและเก็บภาษีในหัวเมืองต่าง ๆ ทั้งนี้ ภารกิจหลักของรัฐ มี 3 ด้าน คือ การรักษาพระราชอาณาเขต การจัดเก็บรายได้และ การปกครอง ซึ่งประการสุดท้ายนี้หมายถึง การรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน การชาระความขัดแย้งราษฎร
  • 6. 2) การจัดการปกครองส่วนภูมิภาค ในการจั ด การปกครองส่ว นภู มิ ภ าคหรื อ เรี ย กอี กอย่ า งหนึ่ ง ว่ า เป็ น ระบบ มณฑลเทศาภิบาล ทรงมีพระราชดาริให้เป็นการเสริมความเป็นปึกแผ่น และเป็น อันหนึ่งอันเดียวกันของราชอาณาจักร โดยอนุโลมตามแบบแผนการปกครองเดิมให้ มากที่สุด และทรงจัดให้มีหน่วยราชการเพิ่มเติม คือ “มณฑลเทศาภิบาล” เพื่อเป็น ตัวแทนของรัฐบาลกลาง ทาหน้าที่ประสานงานระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และอุดช่องโหว่ของระบบการควบคุมแต่เดิม หน่วยงานส่วนกลางที่รับผิดชอบดูแล การจั ด การปกครองส่ ว นภู มิ ภ าค คื อ กระทรวงมหาดไทย การปกครองระบบ มณฑลเทศาภิบาลเป็นระบบการปกครองที่สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพองค์ ปฐมเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ทรงปรับปรุงขึ้น ในสมัยนี้ได้แบ่งการปกครอง ส่วนภูมิภาคออกเป็นระดับต่าง ๆ ดังนี้ (1) มณฑลเทศาภิบาล (2) เมืองหัวเมือง (3) อาเภอ (และเมืองขึ้น) (4) ตาบล (5) หมู่บ้าน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
  • 7. 1) การจัดระเบียบบริหารการปกครองของมณฑลเทศาภิบาล ลักษณะของมณฑลเทศาภิบาล มณฑลเทศาภิบาลเป็นหน่วยการปกครองส่วน ภูมิภาคที่ใหญ่ที่สุดประกอบด้วยหน่วยการปกครองชั้นรองลงไป ได้แก่ เมือง อาเภอ ตาบล และหมู่บ้าน การจั ด ส่ ว นราชการในมณฑลเทศาภิ บ าล การจั ด ส่ ว นราชการในมณฑล เทศาภิ บ าลแบ่ ง ออกเป็ น 3 แผนก ได้ แ ก่ แผนกมหาดไทย แผนกอั ย การ แผนก สรรพากร ข้าราชการประจามณฑลเทศาภิบาล มีชื่อเรียกตามตาแหน่งต่าง ๆ ดังนี้ข้าหลวง เทศาภิ บ าล ข้ า หลวงมหาดไทย ข้ า หลวงยุ ติ ธ รรม ข้ า หลวงคลั ง ปลั ด มณฑล ผู้ตรวจการ ใน ร.ศ. 114 (พ.ศ. 2483) ได้มีการเปลี่ยนแปลงบางตาแหน่ง คือ ตาแหน่ง ข้าหลวงยุติธรรม ได้เปลี่ยนเป็น ยกกระบัตรมณฑล มีอานาจหน้าที่เป็นหน่วยงาน ประจาท้องที่ ของกรมมหาดไทยฝ่ายเหนือประจามณฑล ส่วนงานด้านการคลังได้ จัดตั้งมณฑล เป็นสาขาของกระทรวงพระคลังมหาสมบัติโดยตรง รวมทั้งได้แต่งตั้ง ผู้ช่วยสรรพากรมณฑล อีก 1 ตาแหน่ง เพื่อช่วยงานมรรพากรมณฑล
  • 8. 2) การจัดระเบียบบริหารการปกครองของเมือง หลักการและแนวความคิด สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพได้รับมอบหมายให้ปรับปรุงการ บริ หารราชการส่วนภูมิ ภ าค จึง ทรงปรับ ปรุง เมืองให้ เ ป็นจั กรกลส าคัญขิงการบริ หารราชการส่ว นนี้ การปรับปรุงการบริหารงานบุคคล ราชการส่วนกลางเป็นผู้พิจารณาเรื่องการ แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนชั้น ถอดถอน พิจารณาความดีความชอบ การจัดส่วนองค์กรและข้าราชการหัวเมือง มี 3 แผนก ได้แก่ แผนกมหาดไทย แผนกสรรพากร แผนกอัยการ ผู้ว่าราชการเมือง เป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารราชการทุกอย่างในเมือง ยกเว้นการ พิพากษาคดีทางศาล กรมการเมืองในทาเนียบ ได้แก่ ข้าราชการประจา มี 3คน คือ ปลัดเมือง ยกกระบัตร และผู้ช่วย ราชการประกอบด้วยผู้ว่าราชการเมือง และกรมการเมืองอีก 2คณะ ได้แก่ กรมการในทาเนียบ และกรสกา รนอกทาเนียบ กรมการเมืองนอกทาเนียบ มีบทบาทในการให้คาปรึกษาหารือแก่ผู้ว่าราชการเมืองและกรมการ เมืองในทาเนียบ กล่าวโดยสรุป หน่วยบริหารราชการชั้นเมืองเป็นหน่วยงานชั้นรองอยู่ใต้การบังคับบัญชาของ มณฑลเทศาภิบาล
  • 9. 3) การจัดระเบียบบริหารการปกครองของอาเภอ หลักการบริหารการปกครองของอาเภอ คือ เป็นหน่วยบริหารราชการส่วนภูมิภาคขึ้นตรง ต่อกระทรวงมหาดไทย มีฐานะเป็นหน่วยปฏิบัติการที่เป็นสาขาหรือตัวแทนของรัฐที่ใกล้ชิดกับ ประชาชนมากที่สุด การจัดหน่วยบริหารราชการของอาเภอ ตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ ร. ศ. 116 (พ.ศ. 2440) ได้กาหนดหลักเกณฑ์การจัดตั้งอาเภอ โดยพิจารณาตามจานวนพลเมืองที่ อาศัยในพื้นที่หรือความกว้างของพื้นที่ ต่อมา พ. ส. 2475 ได้กาหนดให้การจัดตั้งอาเภอใหม่เป็น ดุลยพินิจของข้าหลวงเทศาภิบาลหรือสมุหเทศาภิบาล และสามารถจัดตั้ง “กิ่งอาเภอ” ได้ ข้า ราชการประจ าอ าเภอจะประกอบด้ วยข้ าราชการ 2ประเภท คื อ ข้ า ราชการที่เ ป็ น กรมการอ าเภอ และที่ ไม่ ไ ด้เ ป็ นกรมการอ าเภอ ประเภทแรก ได้แ ก่ นายอ าเภอ ปลัด อ าเภอ สมุห์บัญชีอาเภอ ประเภทที่ 2 ได้แก่ เสมียนพนักงาน สาหรับกิ่งอาเภอให้มีกรมการอาเภอ รอง จากนายอาเภอ และเสมียนพนักงานประจาการ การจัดหน้าที่ระยะแรกแบ่งเป็น ปลัดอัยการ และ ปลัดธุรการ การแบ่งงานนี้เป็นอุปสรรคต่อการตรวจท้องที่ จึงได้แบ่งออกเป็นปลัดขวาและซ้าย ปลัดขวาซึ่งอาวุโสกว่าเป็นผู้ช่วยและผู้แ ทนนายอาเภอทุกกิจการ ปลัดซ้ายอยู่ประจาที่ว่าการ รับผิดชอบระเบียบการทุกอย่าง กรมการอาเภอมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยในท้องที่
  • 10. 4) การจัดระเบียบบริหารการปกครองของตาบลและหมู่บ้าน หลั ก การปกครองของต าบลและหมู่ บ้ า น ให้ ก านั น ผู้ ใ หญ่ บ้ า นเป็ น หัวหน้าการปกครองชั้นตาบลและหมู่บ้าน มีฐานะเป็นตัวแทนของประชาชน ในท้ อ งที่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น ตั ว เชื่ อ มระหว่ า งรั ฐ บาลและประชาชน โดย ประชาชนเลือกผู้ใหญ่บ้าน จากนั้นผู้ใหญ่บ้านเลือกกานัน จากการจัดรูปมณฑลอย่างต่อเนื่องตลอดรัชสมัยของรัชกาลที่ 5 แสดง ถึงบทบาทอันสาคัญยิ่งของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นบทบาทการสร้างรัฐ เดี่ยว กล่าวคือ มิติการจัดกระทรวงในฐานะที่เป็นกรอบใหญ่ของการบริหาร ราชการแผ่นดินและมิติที่สองเป็นการอาศัยกรอบดังกล่าวผนึกกาลังอานาจ ของเมืองหลวง และปรับปรุงเปลี่ยนแปลงส่วนภูมิภาคตามกระบานการสร้าง รัฐเดี่ยว
  • 11. การปกครองท้องถิ่นภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ.2475-2535) ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีการปรับปรุงโครงสร้าง การบริหารราชการอีกครั้งในช่วงปลายปี พ.ศ. 2476 รัฐบาลได้ปรับปรุง โครงสร้ า งการบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น อี ก ครั้ ง หนึ่ ง โดยตรา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
  • 12. พระราชบัญญัติ 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 2. พระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 3. พระราชบัญญัติสภาจังหวัด พ.ศ. 2481 4. พระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2495 5. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2495 6. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 7. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498 8. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนตาบล พ.ศ. 2499 9. ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 326 10. ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 335 11. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 12. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2521 13. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 14. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
  • 13. กล่าวโดยสรุป การริเริ่มจัดให้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตาม กฎหมายฉบับต่ า ง ๆ นับ เป็นพื้ นฐานของจุด กาเนิด การปกครองส่วน ท้องถิ่นไทยในเวลาต่อมาหลาย ๆ รูปแบบ