SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
“ เซต ” ( Sets )
สรุป กลุ่มของสิ งต่างๆ ในทางคณิ ตศาสตร์ เรี ยกว่า “ เซต ” ( Sets ) และเรี ยกสิ งต่างๆ ทีอยูในเซตว่า
                                                                                           ่
“ สมาชิก ” ( elements หรื อ members ) ของเซตใช้สัญลักษณ์ คือ ∈ และใช้สัญลักษณ์ ∉ แทนคํา
ว่า “ ไม่เป็ นสมาชิก ” และจํานวนสมาชิกของเซต เขียนแทนด้วย n( A )
การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
                 1) สมาชิกทุกตัวของเซตเขียนลงในเครื องหมายวงเล็บปี กกา
                 2) ใช้เครื องหมาย “ , ” คันระหว่างสมาชิกแต่ละตัว
                 3) แทนชือเซตด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่              และแทนสมาชิกของเซตด้วย
                     ตัวพิมพ์เล็ก
สัญลักษณ์แทนเซตของจํานวนต่างๆ
                 I+ แทนเซตของจํานวนเต็มบวก = { 1, 2, 3, … }
                 I- แทนเซตของจํานวนเต็มลบ = { -1, -2, -3, … }
                 I แทนเซตของจํานวนเต็ม         = { …, -2, -1, 0, 1, 2, … }
                 N แทนเซตของจํานวนนับ          = { 1, 2, 3, … }
                 R แทนเซตของจํานวนจริ ง
ตัวอย่าง         A = เซตของจํานวนเต็มทีสอดคล้องกับสมการ x2 + 2x – 15 = 0
                 A = { -5, 3 }
                 B = เซตของจํานวนนับทีสอดคล้องกับสมการ x2 + 2x – 15 = 0
                 B = {3}
นิยาม เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตทีกําหนดขึน โดยมีขอตกลงว่าจะไม่กล่าวถึงสิ งใดนอกเหนือจากสมาชิก
                                                    ้
ของเซตทีกําหนดขึนนี ใช้สัญลักษณ์ U แทน เอกภพสัมพัทธ์
การเท่ ากันของเซต
                                             ่
บทนิยาม เซต A และเซต B เป็ นเซตทีเท่ากันก็ตอเมือเซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกัน
กล่าวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็ นสมาชิกทุกตัวของเซต B และสมาชิกทุกตัวของเซต B เป็ น
สมาชิกทุกตัวของเซต A เขียนแทน เซต A เท่ากับเซต B ด้วย A = B

ตัวอย่าง E = { x x2 – 6x + 8 = 0 } , F = { -4, -2 } จงพิจารณาว่าเซตสองเซตนีเท่ากันหรื อไม่
        วิธีทา จากเซต E จะได้ ( x – 4 )( x – 2 ) = 0
             ํ
               x = 4 หรื อ x = 2
               ดังนัน E = { 4, 2 } นันคือ E ≠ F
ใบความรู้ ที 1
                                 เรือง เซตจํากัดและเซตอนันต์



                                               เราสามารถบอกจํานวนสมาชิ กได้ แน่ นอน

       ในกรงมีนกอยู่ 3 ตัว เราจะนับได้เลยว่าในกรงมีนกอยู่ 3 ตัวจริ ง
       ในทะเลมีปลาเยอะแยะเลย เราก็จะบอกไม่ได้วาในทะเลมีปลาอยูกีตัว
                                                 ่                 ่

                                               เราไม่ สามารถบอกจํานวนสมาชิกทีแน่ นอนได้

             ํ
        ครู กาหนด A = { 1, 3, 5, 7, 9, …, 21 } เซต A มีสมาชิกทีแตกต่างกัน 11 ตัว หรื อ
n( A ) = 11
                                 ่                                       ่
        เพราะฉะนัน จะเห็นได้วาเราสามารถบอกจํานวนสมาชิกของเซต A ได้วามี 11 จํานวน เซต
ลักษณะนีเราเรี ยนว่า “ เซตจํากัด ”

               เซตจํากัด คือ เซตทีมีจานวนสมาชกเป็ นจํานวนเต็มบวกหรื อศูนย์
                                     ํ

             ํ
        ครู กาหนด B = { 2, 4, 6, 8, … } เซตนีไม่ใช่เซตจํากัด เพราะไม่สามารถบอกจํานวนสมาชิก
ได้แน่นอน เซตลักษณะนีเราเรี ยกว่า “ เซตอนันต์ ”

                               เซตอนันต์ คือ เซตทีไม่ใช่เซตจํากัด

ตัวอย่าง นักเรี ยนลองพิจารณานะค่ะ เซตเหล่านีจะเป็ นเซตจํากัดหรื อเซตอนันต์
                 1. A = { 2, 4, 6, …, 100 }           เป็ นเซตจํากัด
                 2. B = { 1, 2, 3, …, 10 }            เป็ นเซตจํากัด
                 3. C = { 1, 3, 5, 7, … }             เป็ นเซตจํากัด
                 4. D = { x x ∈R และ 0 < x < 1 } เป็ นเซตอนันต์
ใบความรู้ ที 2
                                 เรือง เซตว่ าง




        ในนีไม่ เห็นมีอะไรเลย

• นักเรี ยนหาดูซิคะว่า “ เซตของเดือนทีมี 35 วัน ” คือเดือนอะไรบ้าง
                    ่
• เราจะตอบได้ทนทีเลยว่า “ เซตของเดือนทีมี 35 วัน ” นัน ไม่ มี
                  ั

                                 เซตว่าง คือ เซตทีไม่มีสมาชิก

• สัญลักษณ์ทีใช้แทนเซตว่าง คือ {} หรื อ ∅

ตัวอย่าง เซตทีกําหนดให้ต่อไปนีเป็ นเซตว่าง
        1. { x x เป็ นจํานวนเต็ม ซึง x2 = -1 }
        2. { x x เป็ นจํานวนจริ ง ซึง x < x }
        3. { x ∈I0 < x < 1 }
1
 1
1
1
สั บเซต
                                              ่
บทนิยาม เซต A เป็ นเซตย่อยของเซต B ก็ตอเมือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็ นสมาชิกของเซต B
ใช้สัญลักษณ์ A ⊆ B แทนเซต A เป็ นเซตย่อยของเซต B
        ในกรณี ทีเซต A ไม่เป็ นเซตย่อยของเซต B จะใช้สัญลักษณ์ A ⊆ B อ่านว่า เซต A ไม่เป็ น
เซตย่อยของเซต B
ตัวอย่าง จงหาเซตย่อยของเซตทีกําหนดให้
                          1. A = { 1 }
                   วิธีทา เซตย่อยของเซต A ทีไม่มีสมาชิกเลย ได้แก่ ∅
                        ํ
                            เซตย่อยของเซต A ทีมีสมาชิก 1 ตัว ได้แก่ { 1 }
                            ดังนัน A มีเซตย่อยทังหมด คือ ∅, { 1 }

                          2. B = { 1, 2 }
                   วิธีทา เซตย่อยของเซต B ทีไม่มีสมาชิกเลย ได้แก่ ∅
                        ํ
                            เซตย่อยของเซต B ทีมีสมาชิก 1 ตัว ได้แก่ { 1 }, { 2 }
                            เซตย่อยของเซต B ทีมีสมาชิก 2 ตัว ได้แก่ { 1, 2 }
                            ดังนัน B มีเซตย่อยทังหมด คือ ∅, { 1 }, { 2 }, { 1, 2 }

                       3. C = { 1, 2, 3 }
                วิธีทา เซตย่อยของเซต C ทีไม่มีสมาชิกเลย ได้แก่ ∅
                     ํ
                         เซตย่อยของเซต C ทีมีสมาชิก 1 ตัว ได้แก่ { 1 }, { 2 }, { 3 }
                         เซตย่อยของเซต B ทีมีสมาชิก 2 ตัว ได้แก่ { 1, 2 }, { 1, 3 },
                         {2, 3 }
                          เซตย่อยของเซต B ทีมีสมาชิก 3 ตัว ได้แก่ { 1, 2, 3 }
                          ดังนัน B มีเซตย่อยทังหมด คือ ∅, { 1 }, { 2 }, { 3}, { 1, 2 },
                         { 1, 3 }, { 2, 3 }, {1, 2, 3 }
การหาเซตย่อยและเซตย่อยแท้

       ข้ อสั งเกต ถ้าเซต A เป็ นเซตจํากัด และมีสมาชิก n ตัว แล้วเซต A มีเซตย่อย ทังหมด
2n เซตย่อย และเซต A จะมีเซตย่อยแท้ทงหมด 2n – 1 เซตย่อย
                                          ั
่
     บทนิยาม เซต A เป็ นเซตย่อยแท้ของเซต B ก็ตอเมือ เซต A เป็ นเซตย่อยของเซต B และ
A ≠ B ใช้สัญลักษณ์ A ⊂ B แทนเซต A เป็ นเซตย่อยแท้ของเซต B

       ตัวอย่าง A = { x ∈R 10 < x < 15 }
                B = { x ∈R 10 ≤ x < 15 }
                                ่       ่
               จากเซต A จะได้วา x มีคามากกว่า 10 แต่นอยกว่า 15
                                                         ้
                                  ่       ่
               และเซต B จะได้วา x มีคามากกว่าหรื อเท่ากับ 10 แต่นอยกว่า 15
                                                                 ้
               นันคือ เซต A เป็ นเซตย่อยของเซต B และ A ≠ B
               ดังนัน เซต A เป็ นเซตย่อยแท้ของเซต B หรื อ A ⊂ B

การหาเซตกําลัง
       บทนิยาม เมือ A เป็ นเซตจํากัด เรี ยกเซตของเซตย่อยทังหมดของเซต A ว่า เซตกําลังของ
A หรื อเพาเวอร์เซต A เขียนแทนด้วยเซตกําลังของ A ด้วย P( A )
       ตัวอย่าง กําหนด A = { 1, 3, 5 }
        เซตย่อยทังหมดของ A ได้แก่
                            { ∅, { 1 }, { 3 }, { 5 }, { 1, 3 }, { 1, 5 },{ 3, 5 }, {1, 3, 5 }}
       เซตของเซตย่อยทังหมดของหรื อเซตกําลังของ A ได้แก่
                             { ∅, { 1 }, { 3 }, { 5 }, { 1, 3 }, { 1, 5 }, { 3, 5 }, {1, 3, 5 }}
ลักษณะของเอกภพสั มพัทธ์
                                                                                 ่
บทนิยาม เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตทีกําหนดโดยมีขอตกลงว่าจะกล่าวถึงเซตใดๆ ทีมีสมาชิกอยูในเซตที
                                               ้
กําหนดเท่านัน ปกติมกใช้ U แทนเอกภพสัมพัทธ์ โดยทัวไปมักเขียนในลักษณะของเซตทีเขียนแบบ
                     ั
บอกเงือนไขของสมาชิกในเซต
ตัวอย่าง กําหนด C = { x∈Rx2 = 11 }
                จงหาว่าสมาชิกของเซต C คือจํานวนใด
        วิธีทา เนืองจากสมาชิกของเซต C คือจํานวนจริ ง x ที x2 = 11
             ํ
                 ดังนันจะได้          x2 - 11 = 0
                                x2 - ( 11 )2 = 0
                       ( x + 11 )( x – 11 ) = 0
                       x = - 11 หรื อ x = 11
               นันคือ สมาชิกของเซต C คือ - 11 และ 11
        ตอบ C = { - 11 , 11 }
เฉลยแบบตรวจสอบความก้าวหน้ า 5

1. กําหนด A = { x∈I+ x2 + 5x – 24 = 0 }
   จงเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
        เนืองจาก x2 + 5x – 24 = 0
                     ( x + 8 )( x – 3 ) = 0
                     x = -8 หรื อ x = 3
        แต่          x∈I+ ดังนัน x = 3
              ่
        จะได้วา A = { 3 }
2. กําหนด A = { x∈I x2 + 5x – 24 = 0 }
   จงเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
        เนืองจาก x2 + 5x – 24 = 0
                     ( x + 8 )( x – 3 ) = 0
                     x = -8 หรื อ x = 3
        แต่          x∈I เซตคําตอบ คือ { -8, 3 }
                ่
        จะได้วา A = { -8, 3 }
3. กําหนด B = { x∈Ix2 – 7 = 0 }
            จงเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
                  x2 – 7 = 0
        เนืองจากไม่มีจานวนเต็มใดทีแทน x แล้วทําให้ประโยคเป็ นจริ ง
                         ํ
        ดังนัน B = ∅
4. กําหนด B = { x∈Rx2 – 7 = 0 }
   จงเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
        เนืองจาก                     x2 – 7 = 0
                            ( x + 7 )( x – 7 ) = 0
                            x = - 7 หรื อ x = 7
        และ x∈R เซตคําตอบ คือ { - 7 , 7 }
        นันคือ B = { - 7 , 7 }
แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์

        สรุป แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ เป็ นแผนภาพทีใช้แสดงความเกียวข้องของเซตต่างๆ การ
เขียนแผนภาพแทนเซตจะใช้รูปปิ ด เช่น วงกลม วงรี สี เหลียม เป็ นต้น มักแทนด้วยรู ปสี เหลียมผืนผ้า
ส่ วนเซตต่างๆ ทีเป็ นเซตย่อยของเอกภพสัมพัทธ์แทนด้วยวงกลมหรื อวงรี

       ตัวอย่าง 1. สมาชิกของเซต A เป็ นสมาชิกของเซต B แต่มีสมาชิกบางตัวของเซต
                           ่
                   B ไม่อยูในเซต A

                                                             U

                                     A        B



               2. A⊆B และ B⊆C




                                         A        B      C



       4. จงเขียนแผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ จากเซตทีกําหนดให้ดงนี
                                                           ั
               1. กําหนด U = { 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 }
                         A = { 4, 5, 6 }
                         B = { 2, 3, 4, 7 }
               2. จากแผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ จงเขียน U, A, B

                                                             U
                              สบู่           ยาสี ฟัน
                                     แชมพู
                            นําหอม             แป้ ง
                                                       ผงซักฟอก
1. แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์จงดูส่วนทีแรงเงาในกรณี ตางๆ ดังนี
                                                        ่




ส่ วนทีแรงเงาคือ A ยูเนียน B ซึงเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A∪B




พืนทีส่ วนทีแรงเงาคือ A อินเตอร์ เซกชัน B ซึงเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A∩B

       บทนิยาม ยูเนียนของเซต A และเซต B คือเซตทีประกอบด้วยสมาชิกซึงเป็ นสมาชิกของเซต
A หรื อของเซต B หรื อของทังสองเซต ยูเนียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
A∪B

      บทนิยาม อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือเซตทีประกอบด้วยสมาชิกของทังเซต A
และเซต B อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A∩B

ตัวอย่าง กําหนด U = { 5, 6, 7, 8, 9, 10 }
                 A = { 7, 8, 10 }
                   B = { 5, 6, 7, 8, 10 }
        จงเขียนเซตของ
                1.     A∪B
                       จาก A = { 7, 8, 10 }
                             B = { 5, 6, 7, 8, 10 }
                           ดังนัน A∪B = { 5, 6, 7, 8, 10 }
2. A∩B
                 จาก A = { 7, 8, 10 }
                       B = { 5, 6, 7, 8, 10 }
                 ดังนัน A∩B = { 7, 8, 10 }
4.
     กําหนด U =      { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 }
            A =      { 0, 1, 2, 3, 4, 5 }
            B =      { 2, 4, 6, 8 }
            C =      { 6, 7, 8, 9 }
     จงหาเซตของ
     1. A∪B                    2. A∩B                   3. ( A∪B ) ∩C
     4. A∪C                    5. A∩C                   6. ( A∩C ) ∩A

     วิธีทา
          ํ
     1. เนืองจาก A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 }
                    B = { 2, 4, 6, 8 }
            ดังนัน A∪B = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8 }

     2. เนืองจาก A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 }
                  B = { 2, 4, 6, 8 }
         ดังนัน A∩B = { 2, 4 }

     3. เนืองจาก A∪B = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8 }
                     C = { 6, 7, 8, 9 }
         ดังนัน ( A∪B ) ∩C = { 6, 8 }

     4. เนืองจาก A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 }
                  C = { 6, 7, 8, 9 }
         ดังนัน A∪C = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 }

     5. เนืองจาก A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 }
C = { 6, 7, 8, 9 }
                    ดังนัน A∩C = { }



                6. เนืองจาก A∩C = { }
                                 A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 }
                    ดังนัน ( A∩C ) ∩A = { }
สมบัติต่างๆ เกียวกับยูเนียน
                1. A∪A = A
                2. A∪∅ = A
                3. A∪U = U
                4. A∪B = B∪A
                5. A∪( A∪C ) = ( A∪B ) ∪C
                              ่
                6. A⊆B ก็ตอเมือ A∪B = A
                7. A⊆( A∪B ) และ B⊆( A∪B )

สมบัติต่างๆ เกียวกับอินเตอร์ เซกชัน
                1. A∩A = A
                2. A∩∅ = ∅
                3. A∩U = A
                4. A∩B = B∩A
                5. A∩( B∩C ) = ( A∩B ) ∩C
                               ่
                6. A⊆B ก็ตอเมือ A∩B = A
                7. ( A∩B ) ⊆A และ ( A∩B ) ⊆B

                                                            U

                                       A
่
       จากแผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ครู และนักเรี ยนสรุ ปได้วา พืนทีแรงเงา คือ U – A สามารถเขียน
                                          ่
ด้วยสัญลักษณ์ U ′ และสรุ ปเป็ นบทนิยามได้วา



        บทนิยาม ผลต่างระหว่างเซต A และเซต B คือเซตทีประกอบด้วย สมาชิกของเซต A ทีไม่
เป็ นสมาชิกของเซต B ผลต่างระหว่างเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A – B

ตัวอย่าง จากแผนภาพจงหาเซต A – B, B – A,       A′   ,   B′


                                                                    U
                            A       0     1 2               B
                                5       3 47 6                  8
                                                            9

              วิธีทา จากแผนภาพจะได้
                   ํ
                      U = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 }
                      A = { 0, 1, 3, 4, 5, 7 }
                      B = { 1, 2, 4, 6, 7 }
                      ดังนัน A – B = { 0, 3, 5 }
                             B – A = { 2, 6 }
                             A′      = { 2, 6, 8, 9 }
                             B′      = { 0, 3, 5, 8, 9 }
ตัวอย่าง
              กําหนด U = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 }
                      A = { 0, 2, 4, 6, 8 }
                      B = { 1, 3, 5, 7, 9 }
              จงหา A – B, B – A, A′ , B ′
              วิธีทา A – B = { 0, 2, 4, 6, 8 }
                   ํ
                     B – A = { 1, 3, 5, 7, 9 }
                     A′ = { 1, 3, 5, 7, 9 }
                     B ′ = { 0, 2, 4, 6, 8 }

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์kruthanapornkodnara
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมPumPui Oranuch
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Thanuphong Ngoapm
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนายเค ครูกาย
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์Toongneung SP
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์
 
P2a
P2aP2a
P2a
 
Logic problem p
Logic problem pLogic problem p
Logic problem p
 
Square Root
Square RootSquare Root
Square Root
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 

Similar to Set krupom

คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4jirat thipprasert
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)Tum Anucha
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตNuchita Kromkhan
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตNuchita Kromkhan
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 

Similar to Set krupom (20)

คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
Set
SetSet
Set
 
Set
SetSet
Set
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 

Set krupom

  • 1. “ เซต ” ( Sets ) สรุป กลุ่มของสิ งต่างๆ ในทางคณิ ตศาสตร์ เรี ยกว่า “ เซต ” ( Sets ) และเรี ยกสิ งต่างๆ ทีอยูในเซตว่า ่ “ สมาชิก ” ( elements หรื อ members ) ของเซตใช้สัญลักษณ์ คือ ∈ และใช้สัญลักษณ์ ∉ แทนคํา ว่า “ ไม่เป็ นสมาชิก ” และจํานวนสมาชิกของเซต เขียนแทนด้วย n( A ) การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก 1) สมาชิกทุกตัวของเซตเขียนลงในเครื องหมายวงเล็บปี กกา 2) ใช้เครื องหมาย “ , ” คันระหว่างสมาชิกแต่ละตัว 3) แทนชือเซตด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ และแทนสมาชิกของเซตด้วย ตัวพิมพ์เล็ก สัญลักษณ์แทนเซตของจํานวนต่างๆ I+ แทนเซตของจํานวนเต็มบวก = { 1, 2, 3, … } I- แทนเซตของจํานวนเต็มลบ = { -1, -2, -3, … } I แทนเซตของจํานวนเต็ม = { …, -2, -1, 0, 1, 2, … } N แทนเซตของจํานวนนับ = { 1, 2, 3, … } R แทนเซตของจํานวนจริ ง ตัวอย่าง A = เซตของจํานวนเต็มทีสอดคล้องกับสมการ x2 + 2x – 15 = 0 A = { -5, 3 } B = เซตของจํานวนนับทีสอดคล้องกับสมการ x2 + 2x – 15 = 0 B = {3} นิยาม เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตทีกําหนดขึน โดยมีขอตกลงว่าจะไม่กล่าวถึงสิ งใดนอกเหนือจากสมาชิก ้ ของเซตทีกําหนดขึนนี ใช้สัญลักษณ์ U แทน เอกภพสัมพัทธ์
  • 2. การเท่ ากันของเซต ่ บทนิยาม เซต A และเซต B เป็ นเซตทีเท่ากันก็ตอเมือเซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกัน กล่าวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็ นสมาชิกทุกตัวของเซต B และสมาชิกทุกตัวของเซต B เป็ น สมาชิกทุกตัวของเซต A เขียนแทน เซต A เท่ากับเซต B ด้วย A = B ตัวอย่าง E = { x x2 – 6x + 8 = 0 } , F = { -4, -2 } จงพิจารณาว่าเซตสองเซตนีเท่ากันหรื อไม่ วิธีทา จากเซต E จะได้ ( x – 4 )( x – 2 ) = 0 ํ x = 4 หรื อ x = 2 ดังนัน E = { 4, 2 } นันคือ E ≠ F
  • 3. ใบความรู้ ที 1 เรือง เซตจํากัดและเซตอนันต์ เราสามารถบอกจํานวนสมาชิ กได้ แน่ นอน ในกรงมีนกอยู่ 3 ตัว เราจะนับได้เลยว่าในกรงมีนกอยู่ 3 ตัวจริ ง ในทะเลมีปลาเยอะแยะเลย เราก็จะบอกไม่ได้วาในทะเลมีปลาอยูกีตัว ่ ่ เราไม่ สามารถบอกจํานวนสมาชิกทีแน่ นอนได้ ํ ครู กาหนด A = { 1, 3, 5, 7, 9, …, 21 } เซต A มีสมาชิกทีแตกต่างกัน 11 ตัว หรื อ n( A ) = 11 ่ ่ เพราะฉะนัน จะเห็นได้วาเราสามารถบอกจํานวนสมาชิกของเซต A ได้วามี 11 จํานวน เซต ลักษณะนีเราเรี ยนว่า “ เซตจํากัด ” เซตจํากัด คือ เซตทีมีจานวนสมาชกเป็ นจํานวนเต็มบวกหรื อศูนย์ ํ ํ ครู กาหนด B = { 2, 4, 6, 8, … } เซตนีไม่ใช่เซตจํากัด เพราะไม่สามารถบอกจํานวนสมาชิก ได้แน่นอน เซตลักษณะนีเราเรี ยกว่า “ เซตอนันต์ ” เซตอนันต์ คือ เซตทีไม่ใช่เซตจํากัด ตัวอย่าง นักเรี ยนลองพิจารณานะค่ะ เซตเหล่านีจะเป็ นเซตจํากัดหรื อเซตอนันต์ 1. A = { 2, 4, 6, …, 100 } เป็ นเซตจํากัด 2. B = { 1, 2, 3, …, 10 } เป็ นเซตจํากัด 3. C = { 1, 3, 5, 7, … } เป็ นเซตจํากัด 4. D = { x x ∈R และ 0 < x < 1 } เป็ นเซตอนันต์
  • 4. ใบความรู้ ที 2 เรือง เซตว่ าง ในนีไม่ เห็นมีอะไรเลย • นักเรี ยนหาดูซิคะว่า “ เซตของเดือนทีมี 35 วัน ” คือเดือนอะไรบ้าง ่ • เราจะตอบได้ทนทีเลยว่า “ เซตของเดือนทีมี 35 วัน ” นัน ไม่ มี ั เซตว่าง คือ เซตทีไม่มีสมาชิก • สัญลักษณ์ทีใช้แทนเซตว่าง คือ {} หรื อ ∅ ตัวอย่าง เซตทีกําหนดให้ต่อไปนีเป็ นเซตว่าง 1. { x x เป็ นจํานวนเต็ม ซึง x2 = -1 } 2. { x x เป็ นจํานวนจริ ง ซึง x < x } 3. { x ∈I0 < x < 1 } 1 1 1 1
  • 5. สั บเซต ่ บทนิยาม เซต A เป็ นเซตย่อยของเซต B ก็ตอเมือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็ นสมาชิกของเซต B ใช้สัญลักษณ์ A ⊆ B แทนเซต A เป็ นเซตย่อยของเซต B ในกรณี ทีเซต A ไม่เป็ นเซตย่อยของเซต B จะใช้สัญลักษณ์ A ⊆ B อ่านว่า เซต A ไม่เป็ น เซตย่อยของเซต B ตัวอย่าง จงหาเซตย่อยของเซตทีกําหนดให้ 1. A = { 1 } วิธีทา เซตย่อยของเซต A ทีไม่มีสมาชิกเลย ได้แก่ ∅ ํ เซตย่อยของเซต A ทีมีสมาชิก 1 ตัว ได้แก่ { 1 } ดังนัน A มีเซตย่อยทังหมด คือ ∅, { 1 } 2. B = { 1, 2 } วิธีทา เซตย่อยของเซต B ทีไม่มีสมาชิกเลย ได้แก่ ∅ ํ เซตย่อยของเซต B ทีมีสมาชิก 1 ตัว ได้แก่ { 1 }, { 2 } เซตย่อยของเซต B ทีมีสมาชิก 2 ตัว ได้แก่ { 1, 2 } ดังนัน B มีเซตย่อยทังหมด คือ ∅, { 1 }, { 2 }, { 1, 2 } 3. C = { 1, 2, 3 } วิธีทา เซตย่อยของเซต C ทีไม่มีสมาชิกเลย ได้แก่ ∅ ํ เซตย่อยของเซต C ทีมีสมาชิก 1 ตัว ได้แก่ { 1 }, { 2 }, { 3 } เซตย่อยของเซต B ทีมีสมาชิก 2 ตัว ได้แก่ { 1, 2 }, { 1, 3 }, {2, 3 } เซตย่อยของเซต B ทีมีสมาชิก 3 ตัว ได้แก่ { 1, 2, 3 } ดังนัน B มีเซตย่อยทังหมด คือ ∅, { 1 }, { 2 }, { 3}, { 1, 2 }, { 1, 3 }, { 2, 3 }, {1, 2, 3 } การหาเซตย่อยและเซตย่อยแท้ ข้ อสั งเกต ถ้าเซต A เป็ นเซตจํากัด และมีสมาชิก n ตัว แล้วเซต A มีเซตย่อย ทังหมด 2n เซตย่อย และเซต A จะมีเซตย่อยแท้ทงหมด 2n – 1 เซตย่อย ั
  • 6. บทนิยาม เซต A เป็ นเซตย่อยแท้ของเซต B ก็ตอเมือ เซต A เป็ นเซตย่อยของเซต B และ A ≠ B ใช้สัญลักษณ์ A ⊂ B แทนเซต A เป็ นเซตย่อยแท้ของเซต B ตัวอย่าง A = { x ∈R 10 < x < 15 } B = { x ∈R 10 ≤ x < 15 } ่ ่ จากเซต A จะได้วา x มีคามากกว่า 10 แต่นอยกว่า 15 ้ ่ ่ และเซต B จะได้วา x มีคามากกว่าหรื อเท่ากับ 10 แต่นอยกว่า 15 ้ นันคือ เซต A เป็ นเซตย่อยของเซต B และ A ≠ B ดังนัน เซต A เป็ นเซตย่อยแท้ของเซต B หรื อ A ⊂ B การหาเซตกําลัง บทนิยาม เมือ A เป็ นเซตจํากัด เรี ยกเซตของเซตย่อยทังหมดของเซต A ว่า เซตกําลังของ A หรื อเพาเวอร์เซต A เขียนแทนด้วยเซตกําลังของ A ด้วย P( A ) ตัวอย่าง กําหนด A = { 1, 3, 5 } เซตย่อยทังหมดของ A ได้แก่ { ∅, { 1 }, { 3 }, { 5 }, { 1, 3 }, { 1, 5 },{ 3, 5 }, {1, 3, 5 }} เซตของเซตย่อยทังหมดของหรื อเซตกําลังของ A ได้แก่ { ∅, { 1 }, { 3 }, { 5 }, { 1, 3 }, { 1, 5 }, { 3, 5 }, {1, 3, 5 }}
  • 7. ลักษณะของเอกภพสั มพัทธ์ ่ บทนิยาม เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตทีกําหนดโดยมีขอตกลงว่าจะกล่าวถึงเซตใดๆ ทีมีสมาชิกอยูในเซตที ้ กําหนดเท่านัน ปกติมกใช้ U แทนเอกภพสัมพัทธ์ โดยทัวไปมักเขียนในลักษณะของเซตทีเขียนแบบ ั บอกเงือนไขของสมาชิกในเซต ตัวอย่าง กําหนด C = { x∈Rx2 = 11 } จงหาว่าสมาชิกของเซต C คือจํานวนใด วิธีทา เนืองจากสมาชิกของเซต C คือจํานวนจริ ง x ที x2 = 11 ํ ดังนันจะได้ x2 - 11 = 0 x2 - ( 11 )2 = 0 ( x + 11 )( x – 11 ) = 0 x = - 11 หรื อ x = 11 นันคือ สมาชิกของเซต C คือ - 11 และ 11 ตอบ C = { - 11 , 11 }
  • 8. เฉลยแบบตรวจสอบความก้าวหน้ า 5 1. กําหนด A = { x∈I+ x2 + 5x – 24 = 0 } จงเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก เนืองจาก x2 + 5x – 24 = 0 ( x + 8 )( x – 3 ) = 0 x = -8 หรื อ x = 3 แต่ x∈I+ ดังนัน x = 3 ่ จะได้วา A = { 3 } 2. กําหนด A = { x∈I x2 + 5x – 24 = 0 } จงเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก เนืองจาก x2 + 5x – 24 = 0 ( x + 8 )( x – 3 ) = 0 x = -8 หรื อ x = 3 แต่ x∈I เซตคําตอบ คือ { -8, 3 } ่ จะได้วา A = { -8, 3 } 3. กําหนด B = { x∈Ix2 – 7 = 0 } จงเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก x2 – 7 = 0 เนืองจากไม่มีจานวนเต็มใดทีแทน x แล้วทําให้ประโยคเป็ นจริ ง ํ ดังนัน B = ∅ 4. กําหนด B = { x∈Rx2 – 7 = 0 } จงเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก เนืองจาก x2 – 7 = 0 ( x + 7 )( x – 7 ) = 0 x = - 7 หรื อ x = 7 และ x∈R เซตคําตอบ คือ { - 7 , 7 } นันคือ B = { - 7 , 7 }
  • 9. แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ สรุป แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ เป็ นแผนภาพทีใช้แสดงความเกียวข้องของเซตต่างๆ การ เขียนแผนภาพแทนเซตจะใช้รูปปิ ด เช่น วงกลม วงรี สี เหลียม เป็ นต้น มักแทนด้วยรู ปสี เหลียมผืนผ้า ส่ วนเซตต่างๆ ทีเป็ นเซตย่อยของเอกภพสัมพัทธ์แทนด้วยวงกลมหรื อวงรี ตัวอย่าง 1. สมาชิกของเซต A เป็ นสมาชิกของเซต B แต่มีสมาชิกบางตัวของเซต ่ B ไม่อยูในเซต A U A B 2. A⊆B และ B⊆C A B C 4. จงเขียนแผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ จากเซตทีกําหนดให้ดงนี ั 1. กําหนด U = { 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 } A = { 4, 5, 6 } B = { 2, 3, 4, 7 } 2. จากแผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ จงเขียน U, A, B U สบู่ ยาสี ฟัน แชมพู นําหอม แป้ ง ผงซักฟอก
  • 10. 1. แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์จงดูส่วนทีแรงเงาในกรณี ตางๆ ดังนี ่ ส่ วนทีแรงเงาคือ A ยูเนียน B ซึงเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A∪B พืนทีส่ วนทีแรงเงาคือ A อินเตอร์ เซกชัน B ซึงเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A∩B บทนิยาม ยูเนียนของเซต A และเซต B คือเซตทีประกอบด้วยสมาชิกซึงเป็ นสมาชิกของเซต A หรื อของเซต B หรื อของทังสองเซต ยูเนียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A∪B บทนิยาม อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือเซตทีประกอบด้วยสมาชิกของทังเซต A และเซต B อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A∩B ตัวอย่าง กําหนด U = { 5, 6, 7, 8, 9, 10 } A = { 7, 8, 10 } B = { 5, 6, 7, 8, 10 } จงเขียนเซตของ 1. A∪B จาก A = { 7, 8, 10 } B = { 5, 6, 7, 8, 10 } ดังนัน A∪B = { 5, 6, 7, 8, 10 }
  • 11. 2. A∩B จาก A = { 7, 8, 10 } B = { 5, 6, 7, 8, 10 } ดังนัน A∩B = { 7, 8, 10 } 4. กําหนด U = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 } A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 } B = { 2, 4, 6, 8 } C = { 6, 7, 8, 9 } จงหาเซตของ 1. A∪B 2. A∩B 3. ( A∪B ) ∩C 4. A∪C 5. A∩C 6. ( A∩C ) ∩A วิธีทา ํ 1. เนืองจาก A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 } B = { 2, 4, 6, 8 } ดังนัน A∪B = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8 } 2. เนืองจาก A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 } B = { 2, 4, 6, 8 } ดังนัน A∩B = { 2, 4 } 3. เนืองจาก A∪B = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8 } C = { 6, 7, 8, 9 } ดังนัน ( A∪B ) ∩C = { 6, 8 } 4. เนืองจาก A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 } C = { 6, 7, 8, 9 } ดังนัน A∪C = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 } 5. เนืองจาก A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 }
  • 12. C = { 6, 7, 8, 9 } ดังนัน A∩C = { } 6. เนืองจาก A∩C = { } A = { 0, 1, 2, 3, 4, 5 } ดังนัน ( A∩C ) ∩A = { } สมบัติต่างๆ เกียวกับยูเนียน 1. A∪A = A 2. A∪∅ = A 3. A∪U = U 4. A∪B = B∪A 5. A∪( A∪C ) = ( A∪B ) ∪C ่ 6. A⊆B ก็ตอเมือ A∪B = A 7. A⊆( A∪B ) และ B⊆( A∪B ) สมบัติต่างๆ เกียวกับอินเตอร์ เซกชัน 1. A∩A = A 2. A∩∅ = ∅ 3. A∩U = A 4. A∩B = B∩A 5. A∩( B∩C ) = ( A∩B ) ∩C ่ 6. A⊆B ก็ตอเมือ A∩B = A 7. ( A∩B ) ⊆A และ ( A∩B ) ⊆B U A
  • 13. จากแผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ครู และนักเรี ยนสรุ ปได้วา พืนทีแรงเงา คือ U – A สามารถเขียน ่ ด้วยสัญลักษณ์ U ′ และสรุ ปเป็ นบทนิยามได้วา บทนิยาม ผลต่างระหว่างเซต A และเซต B คือเซตทีประกอบด้วย สมาชิกของเซต A ทีไม่ เป็ นสมาชิกของเซต B ผลต่างระหว่างเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A – B ตัวอย่าง จากแผนภาพจงหาเซต A – B, B – A, A′ , B′ U A 0 1 2 B 5 3 47 6 8 9 วิธีทา จากแผนภาพจะได้ ํ U = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 } A = { 0, 1, 3, 4, 5, 7 } B = { 1, 2, 4, 6, 7 } ดังนัน A – B = { 0, 3, 5 } B – A = { 2, 6 } A′ = { 2, 6, 8, 9 } B′ = { 0, 3, 5, 8, 9 } ตัวอย่าง กําหนด U = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 } A = { 0, 2, 4, 6, 8 } B = { 1, 3, 5, 7, 9 } จงหา A – B, B – A, A′ , B ′ วิธีทา A – B = { 0, 2, 4, 6, 8 } ํ B – A = { 1, 3, 5, 7, 9 } A′ = { 1, 3, 5, 7, 9 } B ′ = { 0, 2, 4, 6, 8 }