SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
น.ส. พีรยาภรณ์ ไชยกูล ม.6/14 เลขที่ 25
น.ส. ศศธร เทวาพิทักษ์ ม.6/14 เลขที่ 34
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Herbal Conditioner Spray
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พีรยาภรณ์ ไชยกูล
นางสาว ศศธร เทวาพิทักษ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
“เศรษฐกิจพอเพียง”เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีเพื่อชี้แนะแนวทาง
ดาเนินชีวิตแก่ พสกนิกรชาวไทย ทรงเน้นย้าแนวทางการพัฒนาที่อยู่บนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง
ความพอมี พอใช้ การรู้จัก พอประมาณการคานึงถึงความมีเหตุผล ส่งเสริมความประหยัดใน
ครัวเรือนจากแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว การซื้อน้ายาดับกลิ่นห้องน้าตาม
ท้องตลาดมาใช้นั้นจะมีราคาแพงซึ่งส่วนใหญ่จะผลิตจากสารเคมีทาให้ เกิดอันตรายต่อ
สภาพแวดล้อม คณะผู้จัดทาจึงศึกษาสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมเช่น
ใบเตย ผิวมะกูด ใบตะไคร้ มาทดลองสกัดคลอโรฟิลล์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณที่เหมาะสมและชนิด
ของสมุนไพรที่ สามารถกาจัดกลิ่นในสถานที่ต่าง ๆเช่น ห้องน้า สถานที่ ที่มีกลิ่นอับ จากการศึกษา
พบว่าสารสกัดจากสมุนไพรในปริมาณที่เหมาะสมสามารถกาจัดกลิ่นได้ดีคือ อัตราส่วน ระหว่าง
สมุนไพร 20 กรัม ต่อ แอลกอฮอล์ 200 มิลลิลิตร และสมุนไพรที่กาจัดกลิ่นได้ดีที่สุดคือสารสกัด
จากผิวมะ กูด
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัด ใบเตย ผิวมะกูด และใบตะไคร้
หอม ในอัตราส่วนที่ แตกต่าง
2. เพื่อสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัดจากใบเตย ผิวมะ
กูดและใบตะไคร้
3. เพื่อเพิ่มคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่น
ขอบเขตโครงงาน
1. เพื่อศึกษาการทาสเปรย์ปรับอากาศสมุนไพร
2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรในการดับกลิ่นอับ
ทฤษฎี สมุนไพรปรับอากาศ
พืชสมุนไพร สมุนไพร (Medicinal Plant หรือ Herb) กาเนิดจากธรรมชาติและมี
ความหมายต่อชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะในมิติทางสุขภาพ
ข้อมูลพืชสมุนไพรที่นามาใช้ในการทดลอง ในการหาวิธีการในการทาสเปรย์กาจัด
กลิ่น ที่ไม่พึงประสงค์ในห้องต่างๆ ผู้ที่สนใจในด้านสุขภาพ ได้หันมาใช้พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่มีอยู่
ทั่วไปในครัวเรือนแทนการใช้สารเคมีที่มีราคาสูง เพราะสมุนไพรสามารถหาได้ง่ายและสามารถ
ปลูกเองได้ และเป็นการช่วยลดต้นทุนในการผลิตและการเพาะปลูกได้อีก ทั้งยังส่งผลด้านสุขภาพ
และความปลอดภัยของผู้บริโภค สมุนไพรที่สามารถนามาใช้ในการทาสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
ตะไคร้
ตะไคร้ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cymbopogon citratus); ชื่อท้องถิ่น: จะไคร (ภาคเหนือ),
ไคร (ภาคใต้), คาหอม (แม่ฮ่องสอน), เชิดเกรย, เหลอะเกรย (เขมร-สุรินทร์), ห่อวอตะโป่
(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ) เป็นพืชล้มลุก ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต ใบยาวเรียว ปลายใบมีขน
หนาม ลาต้นรวมกันเป็นกอ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อยาวมีดอกเล็กฝอยเป็นจานวนมาก ตะไคร้
เป็นพืชที่สามารถนาส่วนต้นหัวไปประกอบอาหาร และจัดเป็นพืชสมุนไพรด้วย
สรรพคุณ
ใช้ส่วนของเหง้าและลาต้นแก่ ใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารที่สาคัญหลายชนิดเช่น ต้ม
ยา และอาหารไทยหลายชนิด ให้กลิ่นหอม มีสรรพคุณทางยาเช่น บารุงธาตุ แก้โรคทางเดิน
ปัสสาวะ ขับลมในลาไส้ทาให้เจริญอาหาร แก้โรคหืด แก้อหิวาตกโรค บารุงสมอง ช่วยให้สมาธิดี
ต้มกับน้าใช้ดื่มแก้อาเจียน ใช้ต้นสดโขลกคั้นเอาน้าดื่มแก้อาการเมาในกรณีผู้ที่เมามาก ๆ ช่วยให้
สร่างเร็ว ส่วนหัวสามารถใช้แก้โรคเกลื้อน ท้องอืดท้องเฟ้อ โรคนิ่ว มากไปกว่านั้นยังสามารถทา
เป็นยาช่วยนอนหลับ ช่วยลดความดันสูง น้ามันตะไคร้หอมใช้ทากันยุงได้ ถ้าปลูกใกล้ผักอื่น ๆ จะ
ช่วยกันแมลงได้และยังให้กลิ่นหอม ที่ดับกลิ่นบางชนิดใช้ตะไคร้เป็นส่วนผสมเพราะมีกลิ่นที่หอม
และที่กาจัดยุงบางชนิดก็ใช้ตะไคร้เป็นส่วนผสมด้วยเนื่องจากมีกลิ่นที่แรงจึงช่วยทาให้ไล่ยุงได้
นอกจากนี้ตะไคร้ยังแก้กลิ่นคาวหรือดับกลิ่นคาวของปลา และเนื้อสัตว์ได้ดีมาก ๆ
สรรพคุณ : ทั้งต้น ใช้เป็นยารักษาโรคหืด แก้ปวดท้อง ขับปัสสาวะและแก้อหิวาตกโรค หรือทาเป็น
ยาทานวดก็ได้ และยังใช้รวมกับสมุนไพรชนิดอื่นรักษาโรคได้ เช่น บารุงธาตุ เจริญอาหาร และขับ
เหงื่อ
หัว เป็นยารักษาเกลื้อน แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้ปัสสาวะพิการ แก้นิ่ว บารุงไฟธาตุ แก้อาการขัด
เบา ถ้าใช้รวมกับสมุนไพรชนิดอื่น จะเป็นยาแก้อาเจียน แก้ทราง ยานอนหลับลดความดันสูง แก้
ลมอัมพาต แก้กษัยเส้น และแก้ลมใบ ใบสด ๆ จะช่วยลดความดันโลหิตสูง แก้ไข้
ราก ใช้เป็นยาแก้ไข้เหนือ ปวดท้องและท้องเสีย
ต้น ใช้เป็นยาแก้ขับลม แก้เบื่ออาหาร แก้ผมแตก แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่ว เป็นยาบารุงไฟธาตุ
ให้เจริญ แต่ถ้าเอาผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น จะแก้โรคหนองใน และนอกจากนี้ยังใช้ดับกลิ่นคาว
ด้วย
มะกรูด
มะกรูดเป็นพืชในสกุลส้ม (Citrus) มีถิ่นกาเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ
ไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหาร
หลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้ว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย
และอินโดนีเซีย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เป็นไม้เนื้อแข็ง ลาต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อย ใบเป็นใบ
ประกอบชนิดลดรูป มีใบย่อย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข่ คือมีลักษณะคล้ายกับใบไม้ 2 ใบ ต่อกันอยู่
คอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอน ๆ มีก้านแผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ ทาให้เห็นใบเป็น 2 ตอน กว้าง 2.5-
4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร ใบสีเขียวแก่พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ค่อนข้างหนา มีกลิ่น
หอมมากเพราะมีต่อมน้ามันอยู่ ซึ่งผลแบบนี้เรียกว่า hesperidium (ผลแบบส้ม) ใบด้านบนสีเข้ม
ใต้ใบสีอ่อน ดอกออกเป็นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง ร่วงง่าย มีกลิ่นหอม มี
ผลสีเขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็นสีเขียวแก่
เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระน้อยกว่าและไม่มีจุกที่ขั้ว ภายในมี
เมล็ดจานวนมาก ๆ มีผิวขรุขระ
การใช้ประโยชน์
ใบมะกรูดที่ใช้ปรุงอาหารในอินโดนีเซีย ลาว กัมพูชาและไทย การใช้มะกรูดสระผม
น่าจะรู้จักกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ วิธีการสระ บ้างก็ใช้ผลดิบผ่าแล้วบีบน้าสระโดยตรง บ้างก็นาไป
เผา หรือต้มก่อนสระ มะกรูดยังมีใช้ในพระราชพิธีสาคัญ เช่น พระราชพิธีโสกันต์ ซึ่งระบุไว้ในพระ
ราชพิธีสิบสองเดือนไว้ ว่าจะต้องมีผลมะกรูดและใบส้มป่อยประกอบในพิธีด้วย เข้าใจว่าน่าจะใช้
เพื่อการสระผมนั่นเอง และก็สามารถนาไปล้างพื้นได้ด้วย ซึ่งเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่งเช่นกัน
น้ามะกรูดมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุนคล้ายใบ แต่ใช้น้อยกว่าน้ามะนาว ใช้ปรุงรสเปรี้ยวแทน
มะนาวได้ เช่นในปลาร้าหลน น้าพริกปลาร้า น้าพริกมะกรูด มะกรูดมีส่วนเปลือกที่หนา ส่วน
เปลือกนิยมนาผิวมาประกอบอาหารบางชนิดด้วย ในมะกรูดมีน้ามันหอมระเหยอยู่มาก ใบมะกรูด
นั้นใส่ในต้มยาทุกชนิด น้ายาขนมจีน ยาหอย ใส่ในแกงเช่น แกงเผ็ด แกงเทโพ แต่ถ้าใส่มากเกินไป
จะมีรสขมมีกลิ่นฉุน ทั้งในใบ และผล บางครั้งสามารถนาไปใช้ไล่แมลงบางชนิดได้ผลมะกรูดผ่าซีก
ที่บีบน้าออกแล้ว ใช้เป็นยาดับกลิ่นในห้องสุขาได้
ใบเตย
ใบเตย หรือจะเรียกว่าเป็นอีกหนึ่ง เตยหอม หรือ ใบเตยหอม ภาษาอังกฤษ Pandan
Leaves, Fragrant Pandan, Pandom wangi มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pandanus amaryllifolius
Roxb. และยังมีชื่อท้องถิ่นอื่นๆอีกเช่น ใบส้มม่า (ระนอง), ส้มตะเลงเครง (ตาก), ส้มปู
(แม่ฮ่องสอน), ส้มพอดี ผักเก็งเค็ง (ภาคเหนือ) เป็นต้นBใบเตย จัดเป็นไม้ยืนต้นพุ่มเล็ก ขึ้นเป็นกอ
มีใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับเวียนเป็นเกลียวจนถึงยอดใบ ลักษณะของเป็นทางยาว สีเขียวเป็นมัน ใบ
ค่อนข้างแข็งมีขอบใบเรียบ ซึ่งเราสามารถนาใบเตยมาใช้ได้ทั้งใบสดและใบแห้ง ในใบเตยจะมีกลิ่น
หอมของน้ามันหอมระเหย (Fragrant Screw Pine) โดยกลิ่นหอมของใบเตยนั้นมากจากสารเคมีที่
ชื่อว่า 2-acetyl-1-pyrroline ซึ่งเป็นกลิ่นเดียวกันกับที่ได้ใน ข้าวหอมมะลิ ขนมปังขาว และดอก
ชมนาด
นอกจากนี้ใบเตยยังประกอบด้วยวิตามินและแร่ธาตุสาคัญอีกหลายชนิด โดยใบเตย
หอม 100 กรัมนั้นจะมีเบต้าแคโรทีน 3 ไมโครกรัม, วิตามินซี 8 มิลลิกรัม, วิตามินบี2 0.2
มิลลิกรัม, วิตามินบี3 1.2 มิลลิกรัม, ธาตุแคลเซียม 124 มิลลิกรัม, ธาตุเหล็ก 0.1 มิลลิกรัม, ธาตุ
ฟอสฟอรัส 27 มิลลิกรัม นอกจากนี้ยังมีคาร์โบไฮเดรต 4.6 กรัม, โปรตีน 1.9 กรัม และให้พลังงาน
ถึง 35 กิโลแคลอรี ใบเตยเป็นพืชที่คนไทยทุกคนต่างก็รู้จักกันดี เนื่องจากมีการนามาใช้กันอย่าง
หลากหลายตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนามาปรุงแต่งอาหารอย่างขนมไทยให้มี
กลิ่นหอม อร่อย และยังให้สีสันน่ารับประทานอีกด้วย
สรรพคุณของใบเตย
ต้นและราก
- ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ แก้กระษัย
ใบสด
- ตาพอกโรคผิวหนัง
- รักษาโรคหืด
- น้าใบเตย ใช้เป็นยาบารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น
- ใช้ผสมอาหาร แต่งกลิ่น ให้สีเขียวแต่งสีขนม
วิธีและปริมาณที่ใช้
ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ
ใช้ต้น 1 ต้น หรือราก ครึ่งกามือ ต้มกับน้าดื่ม
ใช้เป็นยาบารุงหัวใจ
ใช้ใบสดไม่จากัดผสมในอาหาร ทาให้อาหารมีรสเย็นหอม รับประทานแล้วทาให้หัวใจ
ชุ่มชื่น หรือเอาใบสดมาคั้นน้ารับประทาน ครั้งละ 2-4 ช้อนแกง
ใช้เป็นยาแก้เบาหวาน
ใช้ราก 1 กามือ ต้มน้าดื่ม เข้าเย็น
วิธีการปลูกเตย
การปลูกเตยหอมนั้นเราจะต้องมีพื้นที่จะเพาะปลูก ต้องใกล้น้าค่อนข้างแฉะ มีน้า
หมุนเวียนตลอดปี มีร่มเงาราไรให้ต้นเตยไม่โดนแสงแดดโดยตรง หรือตามร่องสวน ตามชายบ่อน้า
ส่วนการปลูกในพื้นนามีการเตรียมดินคล้ายกับการทานาแต่ทาเพียงครั้งเดียวก่อน ปลูกเพื่อให้
พื้นที่เรียบ ระบบน้าดูแลง่าย ส่วนทางเดินเข้าเก็บเกี่ยวเตยหอมขึ้นอยู่ตามความสะดวกสบายที่ผู้
ปลูกต้อง จัดการและวางแผนเองตามความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกและขนาดพื้นที่ ก่อนปลูกต้อง
เปิดน้าเข้าแปลงประมาณ 1 ฝ่ามือ หรือประมาณ 15 เซนติเมตร จากนั้นเตรียมต้นพันธุ์เตยหอมที่
แข็งแรงที่มีรากปักลงในแปลง โดยทาเหมือนการดานา จากนั้นดูแลระบบถ่ายเทน้าดูแลไม่ให้ต้นที่
ปักดาลอยขึ้นมา ทิ้งไว้ 3 เดือน จึงเพิ่มปริมาณน้าขึ้น หลังจากปลูก 6 เดือน สามารถเก็บเกี่ยวได้
การเก็บเกี่ยวใช้มีดตัดยอด อย่าเสียดายยอด การตัดยอด 1 ยอด ทาให้เกิดยอดใหม่มากมาย โดย
เฉลี่ยตัดไป 1 ยอด จะได้ยอดใหม่ 3-5 ยอด ทั้งนี้ การดูแลบารุงรักษาต้นเตยหอมนั้นก็ไม่ได้ยุ่งยาก
อะไรมาก เพียงแต่เกษตรกรจาเป็นต้องเอาใจใส่อย่างสม่าเสมอ มีการปรับพื้นที่ให้โล่ง ไม่มีวัชพืช
ขึ้นปกคลุมต้นเตยหอม เพราะจะทาให้ใบเตยหอม หรือต้นเจริญเติบโตช้า และใบไม่สวย ควรจะใส่
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก บารุงต้น และใบบ้าง เพื่อให้ต้นเตยหอม มีความอุดมสมบูรณ์สาหรับใบเตยหอม
ที่ส่งขายไปยังท้องตลาด ก็สามารถจะนาไปประกอบอาหารคาว หวาน ได้ตามความต้องการ
นอกจากนี้ก็ยังไปประกอบร่วมกับดอกไม้ในการไหว้พระ ซึ่งในตลาดมีความต้องการใบเตยหอม
เป็นอย่างมาก
วัสดุอุปกรณ์,สารเคมีในการทดลองและวิธีการทดลอง
อุปกรณ์
1. หม้อ
2. กรวย
3. ขวดสเปรย์
4. ภาชนะตวง
วัสดุและสารเคมี
1. ตะไคร้ 1 ขีด
2. ใบมะกรูด 1 ขีด
3. ใบเตย 1 ขีด
4. แอลกอฮอร์ 200 มิลลิลิตร (เจือจาง 70%)
วิธีการทดลอง
1. นาใบเตย ตะไคร้หอม ใบมะกรูดมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ(เพื่อให้สมุนไพรสามารถออกกลิ่นได้เร็ว
กว่าการที่ต้มโดยไม่หั่น)
2.นาสมุนไพรทั้ง 3 ชนิดลงไปต้มชนิดละ 1 ขีด ต่อน้า 800 มิลลิลิตร และแอลกอฮอร์ 200
มิลลิลิตร
3. ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วกรองกากสมุนไพรออก
4.จะได้น้าสมุนไพรที่กรองแล้ว
5.นาน้าสมุนไพรทั้งสาม บรรจุใส่ขวดสเปรย์
อ้างอิงจาก
http://nattawut16101.blogspot.com/2014/10/blog-post_20.html
สมุนไพรปรับอากาศ https://jitsat35.wordpress.com/

More Related Content

What's hot

ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานPopeye Kotchakorn
 
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_มJaturaphun
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)Sarocha Somboon
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)Sarocha Somboon
 
โครงงาน607
โครงงาน607โครงงาน607
โครงงาน607adthakron09
 
งานคอมสาว
งานคอมสาวงานคอมสาว
งานคอมสาวChatika Ruankaew
 
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)adthakron09
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Assa Bouquet
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candlePandora Fern
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอมJaturaphun
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 

What's hot (20)

ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
 
5 finalprojectcom
5 finalprojectcom5 finalprojectcom
5 finalprojectcom
 
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
เกม
เกมเกม
เกม
 
โครงงาน607
โครงงาน607โครงงาน607
โครงงาน607
 
งานคอมสาว
งานคอมสาวงานคอมสาว
งานคอมสาว
 
งานคอมพ
งานคอมพ งานคอมพ
งานคอมพ
 
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
Work 1 kopthuay
Work 1 kopthuayWork 1 kopthuay
Work 1 kopthuay
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 

Similar to คอม1

กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5qnlivyatan
 
งานโก๋แก้
งานโก๋แก้งานโก๋แก้
งานโก๋แก้Pornthip Nabnain
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Permtrakul Khammoon
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
2562 final-project 37
2562 final-project 372562 final-project 37
2562 final-project 37Cartoon99
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้Thanyalak Chanmai
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์tangkwakamonwan
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15KUMBELL
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
2562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-332562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-33th3_ze3d_g
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้นKanokwan Rapol
 

Similar to คอม1 (20)

กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
งานโก๋แก้
งานโก๋แก้งานโก๋แก้
งานโก๋แก้
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
2562 final-project 37
2562 final-project 372562 final-project 37
2562 final-project 37
 
Project thitinan
 Project thitinan Project thitinan
Project thitinan
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
2562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-332562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-33
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 

คอม1

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. พีรยาภรณ์ ไชยกูล ม.6/14 เลขที่ 25 น.ส. ศศธร เทวาพิทักษ์ ม.6/14 เลขที่ 34 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Herbal Conditioner Spray ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พีรยาภรณ์ ไชยกูล นางสาว ศศธร เทวาพิทักษ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน “เศรษฐกิจพอเพียง”เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีเพื่อชี้แนะแนวทาง ดาเนินชีวิตแก่ พสกนิกรชาวไทย ทรงเน้นย้าแนวทางการพัฒนาที่อยู่บนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง ความพอมี พอใช้ การรู้จัก พอประมาณการคานึงถึงความมีเหตุผล ส่งเสริมความประหยัดใน ครัวเรือนจากแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว การซื้อน้ายาดับกลิ่นห้องน้าตาม ท้องตลาดมาใช้นั้นจะมีราคาแพงซึ่งส่วนใหญ่จะผลิตจากสารเคมีทาให้ เกิดอันตรายต่อ สภาพแวดล้อม คณะผู้จัดทาจึงศึกษาสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมเช่น ใบเตย ผิวมะกูด ใบตะไคร้ มาทดลองสกัดคลอโรฟิลล์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณที่เหมาะสมและชนิด ของสมุนไพรที่ สามารถกาจัดกลิ่นในสถานที่ต่าง ๆเช่น ห้องน้า สถานที่ ที่มีกลิ่นอับ จากการศึกษา พบว่าสารสกัดจากสมุนไพรในปริมาณที่เหมาะสมสามารถกาจัดกลิ่นได้ดีคือ อัตราส่วน ระหว่าง สมุนไพร 20 กรัม ต่อ แอลกอฮอล์ 200 มิลลิลิตร และสมุนไพรที่กาจัดกลิ่นได้ดีที่สุดคือสารสกัด จากผิวมะ กูด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัด ใบเตย ผิวมะกูด และใบตะไคร้ หอม ในอัตราส่วนที่ แตกต่าง 2. เพื่อสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัดจากใบเตย ผิวมะ กูดและใบตะไคร้
  • 4. ทฤษฎี สมุนไพรปรับอากาศ พืชสมุนไพร สมุนไพร (Medicinal Plant หรือ Herb) กาเนิดจากธรรมชาติและมี ความหมายต่อชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะในมิติทางสุขภาพ ข้อมูลพืชสมุนไพรที่นามาใช้ในการทดลอง ในการหาวิธีการในการทาสเปรย์กาจัด กลิ่น ที่ไม่พึงประสงค์ในห้องต่างๆ ผู้ที่สนใจในด้านสุขภาพ ได้หันมาใช้พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่มีอยู่ ทั่วไปในครัวเรือนแทนการใช้สารเคมีที่มีราคาสูง เพราะสมุนไพรสามารถหาได้ง่ายและสามารถ ปลูกเองได้ และเป็นการช่วยลดต้นทุนในการผลิตและการเพาะปลูกได้อีก ทั้งยังส่งผลด้านสุขภาพ และความปลอดภัยของผู้บริโภค สมุนไพรที่สามารถนามาใช้ในการทาสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ ตะไคร้ ตะไคร้ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cymbopogon citratus); ชื่อท้องถิ่น: จะไคร (ภาคเหนือ), ไคร (ภาคใต้), คาหอม (แม่ฮ่องสอน), เชิดเกรย, เหลอะเกรย (เขมร-สุรินทร์), ห่อวอตะโป่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ) เป็นพืชล้มลุก ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต ใบยาวเรียว ปลายใบมีขน หนาม ลาต้นรวมกันเป็นกอ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อยาวมีดอกเล็กฝอยเป็นจานวนมาก ตะไคร้ เป็นพืชที่สามารถนาส่วนต้นหัวไปประกอบอาหาร และจัดเป็นพืชสมุนไพรด้วย สรรพคุณ ใช้ส่วนของเหง้าและลาต้นแก่ ใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารที่สาคัญหลายชนิดเช่น ต้ม ยา และอาหารไทยหลายชนิด ให้กลิ่นหอม มีสรรพคุณทางยาเช่น บารุงธาตุ แก้โรคทางเดิน ปัสสาวะ ขับลมในลาไส้ทาให้เจริญอาหาร แก้โรคหืด แก้อหิวาตกโรค บารุงสมอง ช่วยให้สมาธิดี
  • 5. ต้มกับน้าใช้ดื่มแก้อาเจียน ใช้ต้นสดโขลกคั้นเอาน้าดื่มแก้อาการเมาในกรณีผู้ที่เมามาก ๆ ช่วยให้ สร่างเร็ว ส่วนหัวสามารถใช้แก้โรคเกลื้อน ท้องอืดท้องเฟ้อ โรคนิ่ว มากไปกว่านั้นยังสามารถทา เป็นยาช่วยนอนหลับ ช่วยลดความดันสูง น้ามันตะไคร้หอมใช้ทากันยุงได้ ถ้าปลูกใกล้ผักอื่น ๆ จะ ช่วยกันแมลงได้และยังให้กลิ่นหอม ที่ดับกลิ่นบางชนิดใช้ตะไคร้เป็นส่วนผสมเพราะมีกลิ่นที่หอม และที่กาจัดยุงบางชนิดก็ใช้ตะไคร้เป็นส่วนผสมด้วยเนื่องจากมีกลิ่นที่แรงจึงช่วยทาให้ไล่ยุงได้ นอกจากนี้ตะไคร้ยังแก้กลิ่นคาวหรือดับกลิ่นคาวของปลา และเนื้อสัตว์ได้ดีมาก ๆ สรรพคุณ : ทั้งต้น ใช้เป็นยารักษาโรคหืด แก้ปวดท้อง ขับปัสสาวะและแก้อหิวาตกโรค หรือทาเป็น ยาทานวดก็ได้ และยังใช้รวมกับสมุนไพรชนิดอื่นรักษาโรคได้ เช่น บารุงธาตุ เจริญอาหาร และขับ เหงื่อ หัว เป็นยารักษาเกลื้อน แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้ปัสสาวะพิการ แก้นิ่ว บารุงไฟธาตุ แก้อาการขัด เบา ถ้าใช้รวมกับสมุนไพรชนิดอื่น จะเป็นยาแก้อาเจียน แก้ทราง ยานอนหลับลดความดันสูง แก้ ลมอัมพาต แก้กษัยเส้น และแก้ลมใบ ใบสด ๆ จะช่วยลดความดันโลหิตสูง แก้ไข้ ราก ใช้เป็นยาแก้ไข้เหนือ ปวดท้องและท้องเสีย ต้น ใช้เป็นยาแก้ขับลม แก้เบื่ออาหาร แก้ผมแตก แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่ว เป็นยาบารุงไฟธาตุ ให้เจริญ แต่ถ้าเอาผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น จะแก้โรคหนองใน และนอกจากนี้ยังใช้ดับกลิ่นคาว ด้วย มะกรูด
  • 6. มะกรูดเป็นพืชในสกุลส้ม (Citrus) มีถิ่นกาเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ ไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหาร หลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้ว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เป็นไม้เนื้อแข็ง ลาต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อย ใบเป็นใบ ประกอบชนิดลดรูป มีใบย่อย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข่ คือมีลักษณะคล้ายกับใบไม้ 2 ใบ ต่อกันอยู่ คอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอน ๆ มีก้านแผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ ทาให้เห็นใบเป็น 2 ตอน กว้าง 2.5- 4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร ใบสีเขียวแก่พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ค่อนข้างหนา มีกลิ่น หอมมากเพราะมีต่อมน้ามันอยู่ ซึ่งผลแบบนี้เรียกว่า hesperidium (ผลแบบส้ม) ใบด้านบนสีเข้ม ใต้ใบสีอ่อน ดอกออกเป็นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง ร่วงง่าย มีกลิ่นหอม มี ผลสีเขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็นสีเขียวแก่ เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระน้อยกว่าและไม่มีจุกที่ขั้ว ภายในมี เมล็ดจานวนมาก ๆ มีผิวขรุขระ การใช้ประโยชน์ ใบมะกรูดที่ใช้ปรุงอาหารในอินโดนีเซีย ลาว กัมพูชาและไทย การใช้มะกรูดสระผม น่าจะรู้จักกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ วิธีการสระ บ้างก็ใช้ผลดิบผ่าแล้วบีบน้าสระโดยตรง บ้างก็นาไป เผา หรือต้มก่อนสระ มะกรูดยังมีใช้ในพระราชพิธีสาคัญ เช่น พระราชพิธีโสกันต์ ซึ่งระบุไว้ในพระ ราชพิธีสิบสองเดือนไว้ ว่าจะต้องมีผลมะกรูดและใบส้มป่อยประกอบในพิธีด้วย เข้าใจว่าน่าจะใช้ เพื่อการสระผมนั่นเอง และก็สามารถนาไปล้างพื้นได้ด้วย ซึ่งเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่งเช่นกัน น้ามะกรูดมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุนคล้ายใบ แต่ใช้น้อยกว่าน้ามะนาว ใช้ปรุงรสเปรี้ยวแทน มะนาวได้ เช่นในปลาร้าหลน น้าพริกปลาร้า น้าพริกมะกรูด มะกรูดมีส่วนเปลือกที่หนา ส่วน เปลือกนิยมนาผิวมาประกอบอาหารบางชนิดด้วย ในมะกรูดมีน้ามันหอมระเหยอยู่มาก ใบมะกรูด นั้นใส่ในต้มยาทุกชนิด น้ายาขนมจีน ยาหอย ใส่ในแกงเช่น แกงเผ็ด แกงเทโพ แต่ถ้าใส่มากเกินไป
  • 7. จะมีรสขมมีกลิ่นฉุน ทั้งในใบ และผล บางครั้งสามารถนาไปใช้ไล่แมลงบางชนิดได้ผลมะกรูดผ่าซีก ที่บีบน้าออกแล้ว ใช้เป็นยาดับกลิ่นในห้องสุขาได้ ใบเตย ใบเตย หรือจะเรียกว่าเป็นอีกหนึ่ง เตยหอม หรือ ใบเตยหอม ภาษาอังกฤษ Pandan Leaves, Fragrant Pandan, Pandom wangi มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pandanus amaryllifolius Roxb. และยังมีชื่อท้องถิ่นอื่นๆอีกเช่น ใบส้มม่า (ระนอง), ส้มตะเลงเครง (ตาก), ส้มปู (แม่ฮ่องสอน), ส้มพอดี ผักเก็งเค็ง (ภาคเหนือ) เป็นต้นBใบเตย จัดเป็นไม้ยืนต้นพุ่มเล็ก ขึ้นเป็นกอ มีใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับเวียนเป็นเกลียวจนถึงยอดใบ ลักษณะของเป็นทางยาว สีเขียวเป็นมัน ใบ ค่อนข้างแข็งมีขอบใบเรียบ ซึ่งเราสามารถนาใบเตยมาใช้ได้ทั้งใบสดและใบแห้ง ในใบเตยจะมีกลิ่น หอมของน้ามันหอมระเหย (Fragrant Screw Pine) โดยกลิ่นหอมของใบเตยนั้นมากจากสารเคมีที่ ชื่อว่า 2-acetyl-1-pyrroline ซึ่งเป็นกลิ่นเดียวกันกับที่ได้ใน ข้าวหอมมะลิ ขนมปังขาว และดอก ชมนาด นอกจากนี้ใบเตยยังประกอบด้วยวิตามินและแร่ธาตุสาคัญอีกหลายชนิด โดยใบเตย หอม 100 กรัมนั้นจะมีเบต้าแคโรทีน 3 ไมโครกรัม, วิตามินซี 8 มิลลิกรัม, วิตามินบี2 0.2 มิลลิกรัม, วิตามินบี3 1.2 มิลลิกรัม, ธาตุแคลเซียม 124 มิลลิกรัม, ธาตุเหล็ก 0.1 มิลลิกรัม, ธาตุ ฟอสฟอรัส 27 มิลลิกรัม นอกจากนี้ยังมีคาร์โบไฮเดรต 4.6 กรัม, โปรตีน 1.9 กรัม และให้พลังงาน ถึง 35 กิโลแคลอรี ใบเตยเป็นพืชที่คนไทยทุกคนต่างก็รู้จักกันดี เนื่องจากมีการนามาใช้กันอย่าง หลากหลายตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนามาปรุงแต่งอาหารอย่างขนมไทยให้มี กลิ่นหอม อร่อย และยังให้สีสันน่ารับประทานอีกด้วย
  • 8. สรรพคุณของใบเตย ต้นและราก - ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ แก้กระษัย ใบสด - ตาพอกโรคผิวหนัง - รักษาโรคหืด - น้าใบเตย ใช้เป็นยาบารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น - ใช้ผสมอาหาร แต่งกลิ่น ให้สีเขียวแต่งสีขนม วิธีและปริมาณที่ใช้ ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ใช้ต้น 1 ต้น หรือราก ครึ่งกามือ ต้มกับน้าดื่ม ใช้เป็นยาบารุงหัวใจ ใช้ใบสดไม่จากัดผสมในอาหาร ทาให้อาหารมีรสเย็นหอม รับประทานแล้วทาให้หัวใจ ชุ่มชื่น หรือเอาใบสดมาคั้นน้ารับประทาน ครั้งละ 2-4 ช้อนแกง ใช้เป็นยาแก้เบาหวาน ใช้ราก 1 กามือ ต้มน้าดื่ม เข้าเย็น วิธีการปลูกเตย การปลูกเตยหอมนั้นเราจะต้องมีพื้นที่จะเพาะปลูก ต้องใกล้น้าค่อนข้างแฉะ มีน้า หมุนเวียนตลอดปี มีร่มเงาราไรให้ต้นเตยไม่โดนแสงแดดโดยตรง หรือตามร่องสวน ตามชายบ่อน้า ส่วนการปลูกในพื้นนามีการเตรียมดินคล้ายกับการทานาแต่ทาเพียงครั้งเดียวก่อน ปลูกเพื่อให้ พื้นที่เรียบ ระบบน้าดูแลง่าย ส่วนทางเดินเข้าเก็บเกี่ยวเตยหอมขึ้นอยู่ตามความสะดวกสบายที่ผู้ ปลูกต้อง จัดการและวางแผนเองตามความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกและขนาดพื้นที่ ก่อนปลูกต้อง
  • 9. เปิดน้าเข้าแปลงประมาณ 1 ฝ่ามือ หรือประมาณ 15 เซนติเมตร จากนั้นเตรียมต้นพันธุ์เตยหอมที่ แข็งแรงที่มีรากปักลงในแปลง โดยทาเหมือนการดานา จากนั้นดูแลระบบถ่ายเทน้าดูแลไม่ให้ต้นที่ ปักดาลอยขึ้นมา ทิ้งไว้ 3 เดือน จึงเพิ่มปริมาณน้าขึ้น หลังจากปลูก 6 เดือน สามารถเก็บเกี่ยวได้ การเก็บเกี่ยวใช้มีดตัดยอด อย่าเสียดายยอด การตัดยอด 1 ยอด ทาให้เกิดยอดใหม่มากมาย โดย เฉลี่ยตัดไป 1 ยอด จะได้ยอดใหม่ 3-5 ยอด ทั้งนี้ การดูแลบารุงรักษาต้นเตยหอมนั้นก็ไม่ได้ยุ่งยาก อะไรมาก เพียงแต่เกษตรกรจาเป็นต้องเอาใจใส่อย่างสม่าเสมอ มีการปรับพื้นที่ให้โล่ง ไม่มีวัชพืช ขึ้นปกคลุมต้นเตยหอม เพราะจะทาให้ใบเตยหอม หรือต้นเจริญเติบโตช้า และใบไม่สวย ควรจะใส่ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก บารุงต้น และใบบ้าง เพื่อให้ต้นเตยหอม มีความอุดมสมบูรณ์สาหรับใบเตยหอม ที่ส่งขายไปยังท้องตลาด ก็สามารถจะนาไปประกอบอาหารคาว หวาน ได้ตามความต้องการ นอกจากนี้ก็ยังไปประกอบร่วมกับดอกไม้ในการไหว้พระ ซึ่งในตลาดมีความต้องการใบเตยหอม เป็นอย่างมาก วัสดุอุปกรณ์,สารเคมีในการทดลองและวิธีการทดลอง อุปกรณ์ 1. หม้อ 2. กรวย 3. ขวดสเปรย์ 4. ภาชนะตวง วัสดุและสารเคมี 1. ตะไคร้ 1 ขีด 2. ใบมะกรูด 1 ขีด
  • 10. 3. ใบเตย 1 ขีด 4. แอลกอฮอร์ 200 มิลลิลิตร (เจือจาง 70%) วิธีการทดลอง 1. นาใบเตย ตะไคร้หอม ใบมะกรูดมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ(เพื่อให้สมุนไพรสามารถออกกลิ่นได้เร็ว กว่าการที่ต้มโดยไม่หั่น) 2.นาสมุนไพรทั้ง 3 ชนิดลงไปต้มชนิดละ 1 ขีด ต่อน้า 800 มิลลิลิตร และแอลกอฮอร์ 200 มิลลิลิตร 3. ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วกรองกากสมุนไพรออก 4.จะได้น้าสมุนไพรที่กรองแล้ว 5.นาน้าสมุนไพรทั้งสาม บรรจุใส่ขวดสเปรย์ อ้างอิงจาก http://nattawut16101.blogspot.com/2014/10/blog-post_20.html สมุนไพรปรับอากาศ https://jitsat35.wordpress.com/